วันพุธที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

love love EU

            สังคมของยุโรปเป็นสังคมที่มีความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาการต่างๆ มาก เป็นสังคมเมืองมากกว่าชนบท มีัลักษณะเป็นครอบครัวเดียว มีความผูกพันกับเครื่อญาติไม่มากนัก ไม่แน่แฟ้นเหมือนสังคมไทย มีระเบียบวินัยเคร่งครัด รักประชธิปไตย รักความเป็นอิสระ รักเสรีถาพ ขยันขันแข็.ในการทำงานเน้นการช่วยเหลือตนเองให้มากที่สุด มีความเป็นตัวของตัวเอง
           ในทางวัฒนธรรม เป็นวัฒนธรรมของขาวคริสต์ แบบประชาธิปไตย เพราะปรชากรส่วยนใหญ่ นับถือศาสนาคริสต์ รักเอระเสรี รัการปกครองระบอประชาธิปไตย...
            วันนักบุญวาเลนไทน์ หรือที่เรียกกันว่า วันวาเลนไทน์ ตรงกับวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ของทุกปี วันวาเลนไทน์มีการเฉลิมฉลองในหลายประเทศทั่วโลก ส่วนใหญ่เป็นประเทศทางตะวันตก แม้จะยังเป็นวันทำงานในทุกประทศเหล่านั้นก็ตาม
            "วันนักบุญวาเลนไทน์" แต่เดิมเป็นเพียงวันฉลบองนักบุญในศาสนาคริสต์ยุแรกที่ชื่อ วาเลนตินัส( แต่นักบุญชื่อนี้มีหลายองค์) ความหมายโรแมนติกโดยนัยสมัยใหม่นั้นกวีเพ่ิมเติมในอีกหลายศตวรรษต่อมาทั้งสิ้น วันวาเลินไทนถูกกำหนดขึ้นครั้งแรกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเหลาซิอุสที่ 1 ใน ค.ศ. 496 ก่อนจะถูกลบออกจาปฏิทินนักบุญทั่วไปของโรมัน ในปี ค.ศ. 1969 โดยสมเด็นพระสันตะปรปรปอลที 6
           
วันวาเลนไทน์มาข้องเกี่ยวข้องกับรักแบบโรแมนติกเป็นครั้งแรกในแวดวงสังคมอขงเจฟฟรีย์ ชอเซอร์ ช่วงกลางสมัยกลาง เมื่อประเพณีรักเทิดทุน เฟืองฟู (เจฟฟรีย์ ชอเซอร์ เป็นนัก กวี นักปรชญา ข้าราชการและนักการทูตชาวอังกฤษ ได้รับการยอย่อว่าเป็นบิดาแห่งกวีนิพนธ์อังกฤษ แม้เขาจะเขียนงานไว้มากมาย แต่งานเขียนที่เป็นที่รุ้จักมากที่สุดคืิองานเขียนที่ยังไม่เสร็จ เรื่อง "ตำนานแคนเดอร์บรี"..)
            ตำนานวันวาเลนไทน์..
            ในคริสต์สตวรรษที่ 5 หรือ 6 งานเขียนชื่อPassio Marii et Marthae ได้แต่งเรื่องราวการพลีชีพเพื่อศาสนาแก่นักบุญวาเลนไทน์แห่งโรม ซึ่งปรากฎว่าไม่ได้อยู่บนพื้นฐานข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ใดๆ เลย ผลงานนี้ อว้างว่า นักบุญวาเลนไทน์ถูกเบียดเบียนเพราะนับถือศาสนคริสต์ และถูกสอบลสวนใโดย จักรพรรดิคอลเดียส กอธิดัสเป็นการส่วนตัว วาเลนไทน์จักพรรคดคอลเดียสประทับใจและได้สนทนากับเขา โดยพยายามให้เขาเปลี่ยนไปนับถือลัทธิเพเกินโรมันเพื่อรักษาชีวิตของเขา วาเลนไทน์ ปฏิเสธและพยายาม โน้มน้าวให้จักรพรรคดิคลอเดียสหันมานับถอศาสนคริสต์แทน ด้วยเหตุนี้ เขาจึงถุกประการชีวิต ก่อนที่เขาจะถูกประการชีวตินั้นมีายงานว่าเขาได้แสดงปาฏิหารย์โดยรักษาบูกสาวตาบอดของผุ้คุมของเขา ...https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%99%E0%B9%8C

             หรืออีกตำนานหนึ่ง "วาเลนไทน์" มาจากชื่อของนักบุญ เซนต์ วาเลนไทน ในสมัยกษัตรยิ์คลอติอุสที่ 2 แห่งกรุงโรม เซนต์ วาเลนไทน เป็นบาทหลวง อยุ่ที่โบสถ์ใกล้ๆ กรุงโรม สมัยนั้นกาัตรยิืคลอติอุส ที่ 2 ออกกฎห้ามีการแต่างงาน ในเมืองของพระองค์เ พราะทรงต้องการให้ผุ้ชายทุกคน ไปเป็นทหาร เพื่อทำศึกสงครา สร้างกรุงโรมให้เป็นอาณาจักรที่รุ่งเรื่องหาผู้ชายที่มีครอบครัว ไปเป็นทหาร จะมีห่วง และมีอารมณือ่อ่นไหว เกินกว่าจะเป็นทหารที่ด ถ้ากากไม่มีการแต่างงานผุ้ชายจะสใจการรบอมากขึ้น
             บาทหลวงวาเลนไทน์ รู้สึกเห็นอกเห็นใจหนุ่มสาว ที่มีความรัก จึงแอบจัดพิธีแต่งงาน ให้หนุ่มสาวที่ต้องการแต่างงาน หลายคู่ อย่างลับๆ โดยภายในงาน จะมีเพียงเจ้าบ่าว เจ้าสาว และบาทหลวง พวกขาจะกระซิบคำสาบาน และคำอธิษฐานต่อกัน ขณะเดียวกัน ก็ต้องเวี่ยหูฟัง การเดินตรวจตราของเหล่าทหารด้วย
         
เรื่องรู้ถึงหูคอลติอุส ในที่สุดนักบุญวาเลนไทน์ ถูกจับเข้าคุก และุถูกทรมานอย่างสาหัส ระหว่างที่อยู่ในคุก มีคู่แต่งงาน ที่บาทหลวงวาเลนไน์ เคยทำพิธีให้หลายคู่ ลอบไปเยียมเยียน อย่างสม่ำเสมอ พวกเขาได้โดยดอกไม้ และกระดาษเขียนจ้องความต่างๆ เข้าไปทางขช่องหน้าต่างของคุก เพื่อให้นักบุญวาเลนไทน์รู้ว่า พวกเขามีความเชื่อ และศรัทธาใรความรักเช่นกัน
            ขณะที่ถูกขังอยุ่ในคุก รอการประหาร บาทหลวงวาเลนไทน์ ได้รู้จักับผุ้คุมชือแอสทีเรียส ซึ่งมีลูกสาวตาบอด และขอให้เขาช่วยรักาา เหมือนปาฎิหารย์ เธอสามารถมองเห็นได้อีก ลูกสาวของผุคุมจึบงมักมาเยี่ยมและให้กำลังใจบาทหลวงอยู่เสมอ กระทั่งก่อนเสียชีวิต เขาได้เขียนจดหมายถึงเธอ และลงท้ายว่า From your Valentine นักบุญวาเลนไทน์ เสียชีวิตในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ.270 ในคุกแห่งนั้นเอง..http://www.piwdee.net/sem7_1.htm

           ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์
           มรณะสักขีในศาสนาคริสต์ยุแรกหลายคนมีชื่อว่า วาเลนไทน์ ซึ่งสาเลนไทน์ที่มีการฉลองในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ คือ วาเลนไทน์แห่งโรม และ วาเลนไทน์แห่งเทอร์นี วาเลนไทน์แห่งโรมเป็นนักบวชในโรมผุ้พลีชีพเพื่อสาสนาราว ค.ศ. 269 และฝังที่เวียฟลามีเนีย กละโหลกที่สวมมาลัยดอกไม้ของนักบุญวาเลนไทน์จัดแสดงในมหาวิหารซานตามารเรียในคอสเมดิน โรม เรลิกอื่นพบได้ในมหาวิหาร ซานตาพราสเซเต ในโรมเช่นกัน เช่นเดียวกับที่โลสถ์คาร์เมไลท์ถนนไวท์ไฟร์อาร์ ในดับลิน ไอร์แลนด์
          วาเลนไทน์แห่งเทอร์นีกล่ายมาเป็นบิชอปแห่งอนตรัสมา ราว ค.ศ. 197 และกล่าวกันว่าเขาได้พลีชีพในช่วงการเบียดเบียนคริสศาสนิกชน ในรัชสมัยจักรพรรดิออเรเลียน ศพเขาฝังที่เวียฟลามีเดียเช่นกัน แต่คนละตำแหน่งกับที่ฝั่งวาเลนไทน์แห่งโรม เรลิกของเขาอยุ่ที่มหาวิหารนักบุญวาเลนไทน์แห่งเทอร์นี...https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%99%E0%B9%8C
            มุสลิมกับวาเลนไทน์
            เรื่องราวเกี่ยวกับวาเลนไทน์นั้น ก็เป็นเรื่องที่คลุมเครือ จะสืบหาประวัติอะไรที่แน่นอน ก็ไม่ได้ ได้แต่สันิษฐานกันไป ไม่มีต้นกำเนินของเรื่อง และความเป็นมา ที่ชัดเจน ซึ่งพอสรุปได้ว่า
           
- วันวาเลนไทน์ เดิมเป็นการฉลองความเจริญพันธุ์ของพวกโรมันโบราณ ซึ่งเป็นการระลึกถึงเทพเจ้าลูเปอร์คุศ (เทพแห่งการเจริญพันธ์) ต่อมาภายหลัง จึงได้รับเอาเข้าม เป็นของคริสต์ศาสนา โดยโยงเข้ากับเรื่องการพลีชีพ เพื่อศษสนาของนักบุญทที่ชื่อวาเลนไทน์ ซึ่งมีวันฉลองใกล้กัน(ของเดิม 15 กุมภาพันธ์ ส่วนของนักบุญวันที่ 14 กัมภาพันธ์)
           - ว่ากันว่า เซนต์วาเลนไทน์ เป็นผุ้พลีชีพ เพื่อศาสนาคริสต์ ซึ่งถูกประหารชีวิตในกรุงโรมเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ประมาณ ค.ศ. 269 หรือ 270 มี 2 ท่าน ชื่อซ้ำกัน แต่ประวัติของทั้งสองท่าน เป้นเรื่องเล่ากันมา แบบปรัมปรา ซึ่งแท้จริงแล้ว อาจเป็นเรื่องที่เล่าต่างกัน แต่ตัวบุคคลเป็นคนเดียวกัน
          - การฉลองวาเลนไทน์ เริ่มมีขึ้นในสมัยกลาของยุโรป แต่การที่ถือว่า เซนต์วาเลนไทน์ เป็นนักบุญผู้อุดหนุนคู่รัก เป็นเรื่องที่กลายมาในช่วงหลัง โดขถือว่ เป็นผุ้ช่วยเหลือคนที่มีความรัก ที่ตำอยุ่ในความททุกข์ ถูกข่มบังคับ
          - การที่วันที่ระลึกเซนต์วาเลนไทน์ กลายมาเป็นวัแห่งความรักนั้น เป็นเรื่องบังเอิญ ซึ่งที่จริงไม่มีอะไรเกี่ยวข้องกับเซนต์วาเลนไทนเลย แต่เรื่องมาโยงกัน และกลายไป คงจะเนื่องจากชาวยุโรป สมัยกลางมีความเชื่อว่า  นกเริ่มฤดุผสมพันธุ์ ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ การเขียนข้อความแสดงความรัก ส่งถึงกันในวันนี้ ก็ว่าเร่ิมมาแต่ปลายสมัยกลาง โดยถือว่า เป็นวันเริ่มฤดูผสมพันธุ์ องนกนั่นเอง ส่วนในสหรัฐอเมิรกา เริ่มเฉลิมฉลองด้วยการจัดทำการ์ดวาเลนไทน์ เป็นธุรกิจ ในช่วง ค.ศ. 1840-1849
         - วาเลนไทน์ คือวันที่ชาวคริสต์ ใช้เป็นสัญลักษณ์ แทรความระลึกถึง "เซนต์วาเลนไทน์" บุรุษผุ้มีความรัก ความปรารถนาดี ต่อเพื่อมนุษย์ จนทำให้เขาต้องจบชีวติตัวเอง และหนุ่มผุ้มีหัวใจที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความรักนี้ ถุกประหารชีวิต เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 270..ตามตำนานข้างต้น
         - วันวาเลนไทน์ หรือวันแห่งความรัก เร่ิมต้นขึ้นมาจากวันฉลอง เพื่อระลึกถึงคริสเตียน 2 คน ที่เสียสละเพื่อมนุษย์ ชือ วาเลนไทน์ แต่ประเพณีที่เกี่ยวข้องกับวันนี ก้ไม่มีส่ิงไหน ที่เีก่ยวพันถึงชีวิต ของนักบุญเหล่านี้ ประเพณีนี้ บางทีจะมาจากประเพณีโรมันโบราณ ที่เรียกว่า ลูเปอร์คาเลีย ชาวโรมันฉลองวันลูเปอร์คาเลียเป็นประเพณี แห่งความรักของหนุม่สาว ชายและญิ่งสว จะเลื่อกคู่สำหรับประเพณีนี้ ดดยากรเขียนช่อตนใส่กล่อง และจับฉลอก เพื่อเป็นเครืองหมาย แสดงความรัก และปกติเขาจะยังคงติต่อสัมพันธ์กัน เป็นเวลานาน หลังจากประเพณีนี้ ผ่านไปแล้ว หลายคู่ก็จะลงเอย ด้วยการแต่งงาน
          หลังจากคริสเตียนแพร่ออกไป ชาวคริสเตียน ก็พยายามที่จะให้ความมหายของประเพณีนี้ในแง่ของคริสเตียน และพวกเขาเปลียนมาใช้วันที่ 14 กุมภาพันธ์ แต่ความหมาย ตามความรุ้สึก แบบประเพณีเก่า ก็ยังคงมีมาถึงปัจจุบัน..http://www.piwdee.net/sem7_103.html

           

วันอังคารที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

..The End of Globalization

           ความเป็น "ฝ่ายขวา" เช่นที่กำลังเกิดขึ้นไม่ใชขวาในแบบเดิมของยุคสงครมเย็นแต่อย่างใด เพราะความเปลี่ยนแปลงของบริบทางการเมือง ซึ่งหากสำรวจอย่างสงเขปแล้ว จะเห็ฯได้ว่าประชานิยมปีกขวานี้มองค์ประกอบที่เป็นดังแก่นแกนความคิด 6 ชุดทีสำคัญ ได้แก่ การต่อต้านสากลนิยม, การต่อต้านโลกาภิวัตน์, การต่อต้านผุ้อพยพ, การต่อต้านอิสลาม, การต่อต้านอิสลาม, การต่อต้านพหุนิยม, และกาต่อต้านผุ้มีอนาจและอิทธิพลในสังคมการเมือง...
         
1. ลัทธิชาตินิยมและการต่อต้านสากลนิยม เป็นองค์ประกอบสำคัญ ซึงมีความเด่นชัดอย่างมากของลัทธิประชานิยมปีกขวา ซึ่งในบริบทโลกปัจจุบันที่เป็นโลกาภิวัตน์นั้น น่าสนใจนเป็นอย่างยิ่งกับสมมติฐานที่ว่า รัฐประชาชาติ จะอยู่ในภาวะ
อ่อนแดลง หรือโดยนัยก็คื อลลัทธิชาตินิยมจะกลายป็นเพียงการะแากรเมืองเก่าที่จะถูกบดบังด้วยบลัทธิสากลนิยม ในสภาพที่โลกาภิวัตน์ยิ่งขับเคลื่อนมากเท่าใด รัฐประชาชาติและลัทธิชาตินิยมก็จะยิงอ่อนแอลงเท่านั้นและ เปิดโอกาสให้ลัทธิสากลนิยมเข้มแข็งมากขั้นด้วย และขณะเดียวกันก็นำมาซึ่งบรรทัดฐานของ "ลัทธิเสรีนิยมใหม่" ที่ให้ความสำคัญเรื่องสิทธิมนุษยชน ปัญหาสิ่งแวดล้อม ตลอดรวมถึงการเคารพในความแตกต่างทางเพศ เป็นต้น
           แต่ในความเป็นจริง เรากลับพบว่าดลกาภิวัตน์ในความเป็น "โลกไร้พรมแดน" นั้นกลับกลายเป็นโอกาสของการกำเนินชนชั้นนำใหม่กลายเป็นการขยายความมั่งคั่งให้กับคนบางกลุ่มอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน สภาพเช่นนี้จึงกลายเป็น "ช่องว่างขนาดใหญ่" ของความจนและความรวย หรือจะกลาวได้ว่า โลกาภิวัตน์เป็นสถานการณ์ความยาก
ลำบากในชีวิตของชนชั้นล่าง ซึงสำหรับโลกตะวันตกก็คือบรรดาคนงานผิวขาว และอีกส่วนก็คือคนผิวขาวในชนบท ที่พวกเขารู้สึกว่าดลกาภิวัตน์กลายเปนผลร้ายมากว่าที่จะเป็นผลดีกับชีวิตของพวกเขา การหันกลับสุ่ความเป็นชาตินิยมด้วยการสร้างความเข้มแข็.ของรัฐและให้ความสำคัญกับการควบคุมชายแดนเพื่อกีดกันผุ้อพยพในฐานะของ "คนนอก" จึงเป้นประเดนที่ได้รับการยอมรับอย่างมาก
           กระบวนการสร้างประชานิยมปีกขวาในสภาวะเช่นนี้จงมีคำตอบอย่างชัดเจนด้วยการตอต้านลัทธิเสรีนิยมและโลกาภิวัตน์ และหันกลับสูลัธิชาตินิยม
           คำประกาศของเลอแปงในการหารเสียงที่ริเวียราในช่วงกลางปี 2016 ว่าถึงเวลาของการนำรัฐประชาชาติกลับแลว และมีผู้ฟังก็ตะโกนกลับว่า ถึงเวลาของการพาเส้นเขตแดนกลับมาด้วย
           และในการหาเสียงของทรัมปกฌมีวาทกรรมไปในทางเดียวกัน ที่ให้ความสำคัญกับเส้นเขตแนด ตลอดรวมถึงการร้องหาความเป็นอิสระจากข้อกำหนดขององค์การระหว่างประเทศ ดดยเฉพาะองค์การ "เหนือชาติ" แบบสหภาพยุโรป...(ซึ่งแน่นอนว่าประชานิยมแบบขวาจัดก็คือต่อต้าน สหภาพยุโรปด้วยนั้นเอง)
         
2. การต่อต้านโลกาภิวัตน์-ต่อต้านลัทธิเสรีนิยมใหม่
             หรืออาจกล่าวได้ว่าพวกเขาต่อต้านลัทธเเสรีนิยมใหม่ที่ถือว่าเป็นแกนหลางทางความคิดของยุดคโลกาภิวัตน์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างบรรทัดฐานทางสังคมในเรื่องของ "ความถูกต้องทางการ
เมือง" เพื่อให้เกิดการเคารพในความแตกต่าง เช่น ความแตกต่างในเรื่องเพศ สีผิว เป็นต้น
            ในทางเศรษฐกิจ พวกเขามีควาคิดที่ชัดเจน เ่น การที่ทรัมป์ตอด้านแนวคิดเรื่องการต้าเสรี ซึ่งถือว่าเป็นแกนสำคัญอีกส่วนของโลกาภิวัตน์ และเรียกสิ่งนี้ว่าเป็น "การค้าที่ล้มเหลว" ไม่ใช่ "การค้าเสรี" โดยเขาเสนอให้ยกเลิกข้อตกลงหุ้สวยยุทธศาสตร์เศราฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก และเสนอให้เจรจาใหม่ในเรื่องของเขตการต้าเสรี อเมริกาเหนือ หรือแม้กระทั่วการสงสัญญาณว่าสหรัฐอาจจะถอนตัวจาก "ปฏิญญาปารีส" ในเรื่องของความเปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศของโลก..
           การกล่าวต่อต้านโลกาภิวัตน์คู่ขนานกับการต่อต้านการค้าเสรีได้กลายเป็นทิศทางหลักชุดหนึ่งของกระแสประชานิยมปีกขวา และทัศนะต่อต้านโลกาภิวัตน์ยังปรากฎให้เห็นอย่างชัดเจนในอีกส่วนหนึงจากการเน้นถึง "พรมแดนแห่งชาติ" ซึ่งตรงข้ามกับโลกาภิวัตน์โดยสิ้นเชิง ที่เกิจกรรมต่างๆ จะมัลักษณะ "ข้ามชาติ" ไม่ว่าจะเป็นการไหลข้ามเ้นพรมแดนของคน ทุน สินค้า ข้อมุล ข่าวสาร และวัฒนธรรม จนปรากฎการณ์เช่นนี้ทำให้รัฐประชาชาติได้รับการอธิบายว่าเป็น "รัฐไร้พรมแดน"..ทีจริงแล้ว บรรดาประชานิยมปีกขวามีความเห็นตรงกันว่า โลกาภิวัตน์เป็นปัจจัยลบต่อการสร้างความเข้มแข็งของรัฐ และเป็นปัจจัยที่ทำลายเสณษบกิจของรัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระบวนการแสวงหาแหล่งแรงงานราคาถูกในการผลิตทางอุตสาหกรรม
          ดังนั้น การขึ้นสู่อำนาจของทรัมป์และการขยายอิทธิพลของประชานิยมปีกขวาในยุดรปจึงเป็นดังการส่งสัญญาณถึง "การสิ้นสุดของโลกาภิวัตน์" และกับคำถามที่ว่าจะเป็น "การสิ้นสุดของลัทธิสรีนิยมใหม่" กำลังเกิดขึ้นหรือไม่ ซึ่งเป็นคำถามใหญ่ของเศรษฐกิจและการเมืองโลกปัจจุบันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และหากการสิ้นสุดดังกล่าวเป็นเรื่องจริงแล้ว ก็ย่อมจะกระทบต่อการจัดระเบียบใหม่ของโลกในอนาคตอย่างมากด้วย จนยากที่จะคาดเดาว่าระเบียบโลกใหม่ในยุคของทรัพมป์จะมีรูปลักษณ์อย่างไร และจะส่งผลกระทบต่อโลกทั่วในบริบททางการเมือง ความมั่นคง และศรฐกิจอย่างไร....www.matichonweekly.com/column/article_26650

วันจันทร์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

right-wing populism

          ในช่วง 2-3 ทศวรรษที่ผ่านมา ประชานิยมได้ขยายตัวอย่งกว้างขวางในยุโรป ในปัจจุบัน พรรคการเมืองแนวประชานิยมเข้าไปอยู่ในรัฐสภาของประเทศต่างๆ ในยุโรป รวมทั้งรัฐสภาของสหภาพยุโรปเองด้วย โดยมีหาประเทศที่พรรคการเมืองปนวประชานิยมครองเสียงข้างมากในรัฐสภา ใได้แก่ กรีก ฮังการี โปแลนด์ สดลวาเกี่ย และสวิตเซอร์แลนด์ โดยเฉพาะในฮังการี พรรคแกนนำรัฐบาล และพรรคคแกนนำฝ่ายค้าน ต้างเป็นพรรคแนวประชานิยม ในประเทศอื่นๆ เช่น ฟินแลนด์ ลิทัวเนยและนอร์เวย์ พรรคการเมืองปนวประชนิยมร่วมกัจดตั้งรัฐบาลผสม
          ในการทำความเข้าใจประชานิยมระลอกล่าสุด เราพึงย้อนพินิจกำเนินของมัีนในการเปลี่่ยนแผ่านเชิงโครงสร้างของระเบียบเซณษฐฏิจการเมืองของยุดรปและโลกในข่วงปลายทศวรรษที่ 1970 เป็นต้นมา นั่นคื อการเปลี่ยนผ่านจากระเบียบแบบรัฐสวัสดิการและลัทธิเศณษบกิจกาเรมืองแบบเคนส์ มาสู่ระเบียบเศรษฐกิจการเมืองแบบเสรีนิยมใหม่ ซึ่งผลักดันการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ การโอนกิจการสาธารณะเป็นเอกชนการลดกฎเกณฑ์ต่างฟ ที่กำกับทุนนิยม และการขยายตัวของทุนการเงิน
          เราจะเก็นได้จากความเป็นตริงในยุโรปว่า พรรคการเมืองแบบประชานิยมไม่ค่อยได้รับความนิยมมากนักจนกระทั่งในช่วงทศวรรษที่ 1980 หรือ 1990 เป็นต้นมา 
          ประชานิยมระลอกล่าสุดในยุโรปเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ในยุโรปอย่างน้อยสามประการสำคัญ ได้แก่ 
         
 ประการแรก ลัทธิเสรีนิยมใหม่ก่อให้เกิดการเมืองแบบที่ฌองตาล มูฟ เรียกว่า"หลักการเมือง" นันคือ การเมืองที่ทำลายอุดมการณ์ทางการเมืองฝ่ายซ้ายและฝ่ายขวา ให้เหลือเพียงการเมืองของฉันทมติ กล่าวค อทั้งฝ่ายกลางซ้ายและกลางขวาต่างยอมรับในระบบเสณาฐกิจแบบเสรียิยมใหม่ 
           ลัทธิเสรียิมใหม่ยังลดทอนแระเด็นทางการเมืองให้กลายเป็นรืเ่องทางเทคนิคที่อาศัยผุ้เชี่ยวชาญเฉพาะเข้ามาบริหารจจัดการแทนที่จะเป็นประเด็นทางการเมืองที่ประชาชนมีสวนร่วมในกระบวนกรตัดสินใจต่างๆ แม้กระทั่งในกรณีที่ประชาชนมีสิทธิในการตัดสินใจ เช่น การทำประชามติ ก็อาจจะมีกาล้มประชมติ โดยศาลรัฐธรรมนูญหรือองค์กรอิสระที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง เพราะผลการลงประชามตินั้นขัดต่อระเบียบเศรษฐกิจกาเรมืองแบบเสรีนิยมใหม่หรือไม่ใช่ "ทางเลือกที่ใช่" เช่น การลประชามติรับสนธิสัญญาลิสบอนของไอร์แลนด์ในปี 2008 หรือแม้กระทั่งความพยายามในช่วงหลังการลงประชามติถอนตัวออกจาสหภาพยุโรป ของสหราชอาณาจักร หรือ บรีซิสต์ในปี 2016
           กระบวนการเสรีนิยมใหม่ดังกล่าวไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะในรัฐชาติยุดรปเท่านั้น แต่เกิดขึ้นในโครงสร้างสถาบนของสหภาพยุโรปด้วย บริบททางการเมืองแบบ "หลังการเมือง" หรือ "ไร้การเมือง" ทั้งในระดับรัฐ และเหนือรัฐ เอื้ออำนวยให้พลังประชานิยมเข้มแข็งในยุดรป โดยเฉพาะอย่างยิงประชานิยมฝ่ายขวา
            ประการที่สอง วิกฤตเศณษฐกิจในยูโรโซน และวิกฤตหนี้สาธารณะในกลุ่มประเทศ PIIGS รวมทั้งการรับมือกับวิกฤตดังกล่าวของสหภาพยุโรป ยิ่งซ้ำเติมวิกฤตเศรษบกิจ นโยบายการรัดเข็มขัด กลับเสริมสร้างลัทธิเสรีนิยใหม่ให้ลงหลักปักฐานมากขึ้นในประเทศเหล่านั้น
           วิกฤตดังกล่าวโอนยัายอำนาจในการตัดสินใจเรื่องเศรษฐกิจไปสู่มือของสหภาพยุรปและ(ุ้เชี่ยวชาญทางเศรษฐกิจ ที่พ้นไปจากกระบวนการทางการเมืองของประชาชน ส่ิงที่เราเห็นคอการจุดกระแสของฝ่ายต่อต้านสหภาพยุโรป และต่อต้านนโยบายการัดเข็มขัดเพิ่มมากขึ้นประเด็นนี้ดูเหมือนกจะปรากฎในหมู่ประชานิยมฝ่ายซ้าย ในกรีซ และในสเปน มากกว่าประชานิยมฝ่ายขวา
           อย่างไรก็ตาม เมื่อเข้าสูอำนจการเมืองแล้ว พรรคการเมืองแนวประชานิยมจำต้องเลือกระหว่าง (1) ความรับผิดชอบต่อเสียงประชาน หรือ (2) เสียงเรียกร้องกดดันจาสหภาพยุโรปในกรณีกรีซ เมื่อพรรคการเมืองแนวประชานิยมฝ่ายซ้ายขึ้นมามีอำนา นายกรัฐมนตรี อเล็กซิส ซิปราส ซึ่งเคยรณรงค์หาเสียงว่จะไม่ยอมรับนโยบายการรัดเข็มขัด ก็ต้องยอมถอย และถูกบับให้ต้องดำเนินกมาตากรตัดลอดรายจ่ายภาครัฐและการปฏิรูปโครงสร้างต่างๆ ตาแแผนการของสหภาพยุโรปและผุ้เชียวชาญจากธนาคารกลางยุโรปและกองทุนการเงินระหว่างประเทศ การตัดสินใจนี้ลดทอนความชอบธรรมทางการเมืองชอ
พรรค ไปค่อนข้างมาก
             ประการที่สาม วิกฤตผู้อพยพจากภูมิภาคที่เผชิญสงคราม ดดยเฉาะในตะวัออกกลาง และกระแสการก่อการร้ายในยุโรป ยิ่งส่งเสริมวาทกรรม "คนอื่น" โดยเฉพาะ "คนมุสลิม" ในฐานะ "ภัยคุกคาม" ทั้ต่อความมั่นคงและการเข้ามาแย่งงานของคนในชาติ
             งานวิชาการสำคัญอย่งเชืน งานของโอลิเงียร์ รอย เสนอไว้เมืองหลายปีมาแล้วว่า เอาเข้าจริง พวกมุสลิมหัวรุนแรงในยุโรป ซึงเขาเรียกว่า เป็น นีโอ ฟลันดามินทาลิสต์ หรือในปัจจุบันคือ โลน-วูฟ เอทโรริสต์ นั้นเป็นคนที่เกิดในยุโรปเอง มากว่าพวกที่อพยพมาจากตะวันออกกลาง ทั้งนี้เนื่องมาจากกระบวนการเบียดขับให้เป็นชายขอบภายในวังคมยุโรป เช่น คนฝรั่งเศสที่เป็นมุสลิมจำนวนหนึ่งไม่ได้รับความยอมรับทางอัตลักษณ์หรือความเท่าเทียมกันในสังคม จึงผันตัวเองไปเป็นหัวรุนแรง เป็นต้น
           บริบทแห่งวิกฤตผู้อพยพและการก่อการร้ายเสรีสร้างกระแสประชานิยมฝ่ายขวามที่โยนปัญหาเหล่านี้ให้แก่ผุ้อพยพ และความหลากหลายในสังคมการเมือง ทั้งที่ในความเป็นจริงแล้ว สภาวะการว่างงานอย่างหว้างขวางในยุโรปส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากนโยบายสเรีนิยมใหม่ นั้นคือ การโยกย้ายฐานการผลิตออกไปสูเศราฐกิจที่มีแรงงานราคาถูกกว่า ซึ่งได้แก่ ยุดรปตะวันออก หรือบริเวณประเทศกำลังพัฒนาต่างๆ มากว่าเกิดจากผู้อพยพแย่งงาน..https://www.the101.world/thoughts/populism-in-europe/
          เมื่อประชานิยมกำลังา อนาคตข้างหน้าไม่มีอะไรแน่นอน
           ขาวอเมริกันชูป้ายประท้วงไม่ยอมรับโดนัลด์ ทรัมป์ เป็นประธานาธิบดี ขณะชุมนุมที่หน้ารัฐสภาของมลรัฐ โคโลราโด เรียกรองคณะผู้เลือกตั้งของรัฐปฏิเสธการลงคะแนนให้ทรัมป์ ในวันที 19 ธันวาคม
          กระแสประชานิยมฝ่ายขวาสร้างความสั่นสะเทือนเลื่อลั้นที่สองฝั่งมหาสมุทรแอตเลนติก ไหนจะเบร็กซิต ไหนจะการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา 
          แม้ในการเลือกตั้งทั่วไป ของประเทศต่างๆ ในยุโรป ประชานิยมขวาจัดจะได้รับความพ่ายแพ่ นับจากออสเตรีย เนเธอร์แลนด์ มาถึงความพ่ายแพ้ของ มารี เลอแปน ในการเบือกตั้งชิงต่ำแหน่งประะานาธิบดีฝรั่งเศสรอบตัดสิน ถือเป็นความสูญเสียรอบล่าสุดสไกรับฝ่ายขวาจัดในยจุโปร แต่นักวิเคราะห์ระบุว่า การเดินหน้าสู่อำนาจของพวกเขายังห่างไกลจากความว่าสิ้นสุด
          ... "ขบวนการเคลื่อนไหวฝ่ายขวาจัดมีปอิทพิพลไม่ใช่จากการปกครอง แต่เป็นการควบคุมจำกัดการบริหารจัดการของพรรคการเมืองสายกลาง" คาร์สเทน นิกเกล ขององค์กรวิชากรเตเนโอในกรุงบรรัสเซชส์บอก และว่า "เราควไมาสามารถบอกได้ว่านี่เปนปีที่ย่ำแย่ของฝ่ายขวาจัดในออสเตรีย โอเฟอร์ได้คะแนนเสียงเกือบ 50% ใน เนเธอร์แลนด์ พรรคกลางวซ้ายถูกกวาดออกไปหมด ขณะที่วิลเดอร์สถือเะป็นผุ้เล่นสำคัญในรัฐสภาเนเธอร์แลนด์"
             และแม้ชัยชนะของ "มาครง" จะเป็นผลลัพท์ที่ดี แต่ในความเป็นจริงแล้ว นี้ือผลงานที่ดีที่สุดขงพรรค เนชั่นแนล ฟรอนท์ ในการเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศสในประวัติศาสตร์ 44 ปีของพรรค
            ในการกล่าวสุทรพจน์ยอมรับความพ่ายแพ้ มารีน เลอเปน ประกาศว่า เอฟเอ็นจะเป็นพรรคฝ่ายค้านหลักพร้อมระบุว่ เส้นแบ่งใหม่ระหวาง "ผู้รักชาติ" กับ "นักโลการภิวัตน์" ถูกขึดขึ้นมาแล้ว
            สื่อในยุโรปหลายสำนักได้เตื่อนว่า "นักประชานิยมขวาจัดใน ออสเตรีย เนเธอแลนด์ เยอรมนี และฝรั่งเศส อาจเรียกได้ว่าอยู่ในช่วงเวลาที่เข้ามแข็งที่สุดมากกว่าครั้งไหนๆ และไม่มีข้อบ่งชี้ใดๆ ่าพวกเขากำลังสูญหายไป" ขณะที่เดอะไทม์ส ของอังกฤษระบว่า "มาครงจำเป็นต้องแสดงให้ชาวฝรั่งเศสเห้นว่าที่จริงแล้วเขาเป็นทางเลือกที่ชาวฝรั่งเสสรอคอย" หากเขาทำไมได้ เลอแปน หรือคนอย่างเลอ แปน ก็จะปรากฎตัวขึ้นมา....www.matichon.co.th/news/559491
          
            

วันอาทิตย์ที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

far right populism

              27 ก.ค 2554 ชาตินิยมขวาผยองยุโรปเตรียมล้างบาง
              "กลุ่มขวาจัดในยุโรป" กลายเป็นประเด็นครึกโครมไปทั่วโลกภายหลังเหตุการณ์สังหารโหดในนอร์เวย์
              กลุ่มขวาจัดในยุโรป กลายเป็นประเด็นครึกโครมภายหลัง แอนเดอร์ส เบห์ริก เบรวิก หนุม่นอร์เวย์ มื่อสังหาร  76 ศพ ให้การต่อศาบกรุงออสโล เมื่อวันที่ 25 ก.ค. ที่ผ่านมา ว่าแม้การกระทำของตนจะโหมเหี้ยม แต่ก็นับว่าเป็นสิ่งที่จำเป็นต้องทำเพ่อปลดแอกยุโรปจากอิทธิพลและอำนาจของศาสนาอิสลาม อีกทั้งบันทึกออนไลน์มากว่า 1,5000 หน้าของแบวิก ยังสะท้อนใหเห็นอย่งเด่นชัดว่า หนุ่มนอร์เวย์วัย 32 ปี รายนี้ฝักใฝ่กลุ่มขวาจัดหัวรุนแรง ลุ่มขวาจัดหัวรุนแรงมกมีความเชื่อว่าคนผิวขาวนั้นเหนือกว่าชาติพันธุ์ุอืนๆ อีกทั้งพวกนี้ยังรังเกียจชาวต่างชาติและแรงงานอพยพ โดยมักวิพากวิจารณ์นโยบายของรัฐบาลฝ่ายซ้ายที่เกื้อหนุนชาวต่างชาิทีเข้ามาอาศัยในประเทศ โดยมองว่าแรงงานอพยพยนั้นเข้ามแย่งชิงพืนที่ในประเทศของตน
            ความจริงแล้วกลุ่มขวาจัดมีประวต้ิการเคลื่อนหวอยู่ในประเทศยุโรปมาเป็นเวลานานแล้ว โดยเฉาพะในแถบยุโรปเหนือ ทางด้านผุ้เชี่ยวชาญมองว่านับวันกลุ่มนี้ยิ่งจะมีอิทธิพลมากขึ้น เนื่องจากในระยะหลังได้พยายามวาดภาพของมุสลิม่าเป็นศัตรูที่แท้จริงของคนขาว จนชาวยุโรปเร่ิมตื่นตระหนกและหันนมาสนับสนุนแนวทางของกลุ่มนี้มากขึ้น
           นอเวย์ มีพรรคการเมืองเอียงขวาอย่าง "พรคก้าวหน้า" วึงได้ต่อต้านนโยบายเปิดประเทศรับผู้อพยพของพรรคแรงงานมาตลอด แต่หลายฝ่ายก็มอง่าการที่พรรคก้าวหน้าไม่มีที่นั่งในสภานั้น ทำให้การต่อต้านแรงงานผุ้อพยพในนอร์เวย์ไม่เข้มข้นเหมือนกับในต่างประเทศ
         
เดนมาร์ก และ สวีเดน นั้น พรรคฝ่ายขวากับประสบความสำเร็จได้ที่นั่งในสภา และนับวันก็ยิ่งมีความเข้มแข็งมากขึ้น โดยในเดนมาร์กมีการเคลื่อนไหวของกลุ่มขวาจัดอย่างชัดเจน ซึ่งนำโยพรรคเดนนิชพีเพิลปาร์ตี้ พรรคนี้เคยชูนโยบายต่อต้านแรงงานต่างด้าวและเรียกร้องให้มีกายกเลิกมาตการช่วยเหลือประเทศออยพัฒนา อีทังยังเคยเกิดเหตุอื้อฉาวในเดนมาร์กมาแล้วใปี 2005 เมื่อหนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่งได้ลงภาพล้อเลียนท่านบีมูอัมหมัด ศาสดาของศาสนาอิสลาม ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงอคติที่มีต่อชาวมุสลิม สวิเดนเองก็ขึ้นชื่อว่า มีกลุ่มขวาจัดที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในยุดรปเหนือ โดยเมื่อปี 2553 พรรคสวีเดน เดโมแครต พรรคขวาจัดของสวีเดน สามารถสร้างประวัติศาสตร์ด้วยการไ้รบเลือกเข้าสภาคร้้งแรก ดดยบางพรรคนั้นได้รณรงค์หาเสียงต่อต้านการอพยพเข้าเมืองของชาวมุสลิมมาโดยตลาด และได้กล่าวโทษชาวมุสลิมว่าเป้นสาเหตุของปัญหาต่างๆ ในประเทศ นอกจากนี้ เบรวิกเองยังเคยเป็นสมาชิกกลุ่มเว็บบอร์ด "นีโอนาซี" ของวสีเดน
             เนเธอร์แลนด์ ก็มีกลุ่มขวาจัดในรูปของพรรคการเมืองที่ชื่อว่ "พรรคเสรีภาพ" โดยผุ้เชียวชษญมาองว่ากลุ่มนี้นับวันจะยิ่งมีบทยาททางการเมืองมากขึ้นเพราะได้ที่นั่งในสภาถึง 24 ที่นั่งจากการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อปี 2533 อีกทั้งเกิร์ต ไวลเอต์ส ผู้ก่อตั้งพรรคและสมาชิกรัฐสภาพ ยังได้เคยเปรียบท่านนบีมูอัมหมัด ศาสดาของศาสนาอิสลาม ว่าเป็นซาตาม เบรวิกเองก็ได้ยกย่องพรรคเสรีภาพว่าเป็นพรรคอนุรักษณนิยมเพียงแห่งเดียวในยุโรปที่ยังคงยึดมั่นต่ออุดมการณืของกลุ่มทขวาจัก แต่ล่าสุทางพรรคก็ได้อออกมาประณามการกระทำของเบรวิก
            เยอมนี ก็มีกลุ่มอนุรักษนิยมหัวรุนแรงอย่างกลุ่ม "นีโอนาซี" โดยสมาชิกกลุ่มนี้เป็นกลุมคนผิวชาวซึ่งมีความเชื่อว่าคนผิวขาวนั้นเป้นใหญ่เหนือเป่าพันธุือื่นอีกทั้งยงยังมีปะวัติเคยทำร้ายชาวต่างชาติับไม่ถ้วน
            สำหรับประเทศ อังกฤษนั้น นับว่าเป้นประเทศที่กลุ่มขวามีอิทธิพลอย่างยิ่ง เนื่องจากพรครคอนุรักษนิยมนั้นสมารถชนะการเลือกตั้งและได้จัดตั้งรัฐบาลร่วมกับพรรคเสรีประชาธิปไตย อีกทั้งอังกฤษยังมีพรรคชาตินิยมอังกฤษ ซึ่งเคยออกกฎเหล็กอนุญาตให้เฉพาะคนขาวเท่านั้นเข้ามาเป้นสามาชิกกลุ่ม ทางพรรคนั้นยืนกรานในนโยบายปิดกั้นประเทศจากแรงงานต่างด้าว และเมื่อปี 2552 ก็ประสบความสำเร็จสามาถคว้าที่นังใสภายุโรปได้เป็นครั้งแรก...https://www.posttoday.com/world/101824
            27 ก.ค. 2554 ไบรวิก ในการต่อศาลเมื่อวันจันทร์ (25 ก.ค. 2554) ว่า เขาปรารถนาให้การตายของประชาชน 76 คน ส่งสัญญาณไปถึงรัฐบาลนอร์เวย์ให้หยุดทำลายวัฒนธรรมนอร์ติก และหยุดปล่อยชาวมุสลิมจำนวนมากเข้าประเทศ"
           "การี เฮเลน" หัวหน้าศูนย์ต่อต้านการเหยี่ยดผวในกรุงออสโล ระบุว่า "ไบรวิก ก่ออาชญากรรมและความรุนแรงสุดโต่งครั้งี้อย่างโดดเดี่ยว แต่ก็น่าสนใจที่ว่า เขาสามาถพัฒนาแนวคิดแบบนี้ขึ้นมาได้ใบริบททางสังคมและการเมืองปัจจุบัน และการกราดยิงประชาชนก็ไม่ใชเ่รือ่งบังเอิญ เพราะเขาไม่เคยแปลกแยกจากสังคม" พรรค นอร์วิเจียน โปรเกรส ปาร์ตี้ ซึ่งยึดแนวทางประชานิยมเอียงขวา "มีพรสวรรค์ในการปลุกปั่นใหเ้กิดการวิพากษืวิจารณ์อย่างกว้างขวาง" โดยเฉพาะการตั้งป้อมรังเกียจชาวมุสลิมและชาวต่างชาติเฮเลน ระบุ
             ก่อนทศวรรษที่ 1970 แทบไม่มีชสชาติอื่อาศัยอยู่ในกลุ่มประเทศนอร์ติก นอกจากชาวยุโรป แต่หลังจากนั้นเป็นต้นมา ดินแดนเหล่านี้กลับกลาเป็นบ้านของชาวต่างชาติที่หนีความขัดแย้งมากจากบ้าเกิด เช่น ยูโกสลาเวีย, โซมาเลีย และเคอร์ติสถาน ตัวอย่างที่เห็นชัดได้แก่ สวีเอน ซึ่งเป็นรับผู้ี้ภัยชาวอิรักมากกว่าทุกประเทศในยุโรปรวมกัน หลังจากทีสหรัฐฯ บุกอีรักในปี 2003 ขณะที่ในกรุงออสโลของนอร์เวย์ ชื่อที่ได้รับความนิยมตั้งให้ทารกเกิดหหใษมากที่สุดในปี 2010 คือ มูฮัมหมัด
          .. แนวคิดต่อต้านผุ้อพยพและชาตินิยมขวาจัดเกิดขึ้นในเดินมร์กเมือ่ช่วงปลายทาศวรรษที่ 1990 และกำลังแผ่อิทธิพลไกลขึ้นเรื่อยๆ จนยากที่หยุดหยั้ง
          " แต่ความเกลี่ยดกลัวชาวต่างชาติ ไม่ได้เพ่ิมขึ้นเลย บางครั้งกลับลดลงด้วยซ้ำ ดังนั้นประเด็นนี้น่าจะถูกใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองมกว่า" อลัฟ บีเจิร์ลด นักรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยโกเทนเบิร์กของสวีเดน ระบุ..
          .. นักวิชาการบางคนระบุว่า แนวคิดขวาจัดใหนลุ่มแระเทศนอร์ติกได้หยั่งรากลึกในระบบการเมือง จนไม่สามารถใช้คำว่า "สุดโต่ง" ได้อีกต่อไป " แนวคิดเหล่านี้เร่ิมฝังรากลึก และกลายเป็นส่วนหนึ่งของกระแสหลักไปแล้ว " อันเดอร์ส เฮลล์สโตรม ผุ้เชี่ยวชาญด้านชวยนการชาตินิยมและประชานิยมชาวสวีเดน เผย...http://www.manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9540000092586

วันเสาร์ที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

European elections

             ในสภาวการณืที่ยุโรปต้องรับมือกับความท้าทายต่างๆ เมื่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับต่ำ อัตราคนว่างงานสูง การขาดความยุติธรรมในสังคมและปัญหากระแสผู้อพยพที่ได้ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านความมั่นคงและสงคม ประชาชนในหลายประเทศยุโรปอาจจะไม่ได้ตั้งความหวังทางการเมืองผ่านบัตรเลือกตั้งอีก ซึง่การเลือกตั้งใประเทศเหล่านี้ได้แสดงให้เห็นว่า มีความเป็นไปได้สูงที่ลัทธิประชานิยมจะขยายตัวในยุดรปและในความเป็นจริง ทีประเทศต่างๆ เช่น ออสเตรีย เนเธอร์แลนด์ อิตาลีและฝรั่งเศส พรรคการเมืองขนาดเล็กกำลังมีความเ้มแบข็งมากขึ้นจาการมีนโยบายที่เข้ถึคงประชาชน ซคึ่งก้ได้รับกาตตอบรับทีดีจกผุ้มีสิทธิ์เลือกตั้ง
         
  หลังจากที่อังกฤษถอนตัวออกจาอียู การหยั่งเสียงประชามติเกี่ยวกับปฏิรูปรํบธรรมนูญได้ประสบความล้มเหลวในอิตาลีและการเลือกตั้งรอบแรกในฝรั่เงศส ประชามติดลกำลังพุดถึงแนวโน้มใหม่ที่เรียกว่า "ฤดุใบไม้ผลิแห่งควารักชาติ" แม้ยังเร็วเกินไปที่จะพุดเกี่ยวกับกระแสนี้แต่แน่นอนว่าหลังกระแสโลกาภิวัตนื หากเสียงพุดของประชาชนถุกละเลยและไม่ไดรับความเคารพก็จะทำให้เกิดขบวนการประชานิยมคร้งใหม่พร้อมผลพวงที่ตามมาที่ไม่มีใคราสามารถคาดเดาได้ต่อเวที่การเมืองของโลก..(การเลือกตั้งของประเทศต่างๆ ในยุโรปอาจกำหนดอนาคตของกลุ่ม vovword.vn)
              การเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส ความไม่แน่นอนทางการเมืองที่สำคัญในยุโรป
              การเลื่อตั้งประธานาธิบดีฝรังเศสรอบแรดจะจัดขึ้นในวันที่ 23 เม.ย. และนำผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดสองอันดับแรกไปชิงตำแหน่งประธานาธิบดีกันในการเลือกตั้งรอบที่ 2 ในวันที่ 7 พ.ค. โดยผุ้สมัครที่มีโอากาผ่านเข้าไปชิงตำแหน่งประธานาธิดีมี 4 รายดังนี้
             นาง อารีน ลี เพน ตัวแทนจากพรรค National Front ซึ่งชูนโยบายการเลิกใช้เงินสกุลยูโรเป็นนโยบายหลักด้านเศรษบกิจและประกาศจะจัดทำประชาตมติเพื่ออกจากสหภาพยุโรปหากชนะการเลือกตั้ง
             นาย เอมมานูเอล แมครอน อดีต รมว. กระทรวงเศรษฐกิจ มีความนิยมเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงเดือน ก.พ.หลังตัวแทนจากพรรค Democratic Moovement ประกาศถอนตัวและสนับสนุนนาย มาครอน
              นาย ฟรานเคียส ฟิลลิน ตัวแทนจากพรร่ รีพลับลิแคน ซึ่งเคยเป็นตัวเต็งประธานาธิบดีก่อนที่จะถูกข้อกล่าวหาว่าแต่งตั้งภรรยาและลูกเป็นผู้ช่วยอย่งไม่ถุกต้อง
            นาย จีน ลัค เมลีนชอน ตัวแทน พรรค Unsubmissive France ซึ่งเป็นฝ่ายซ้ายจัดได้รับความนิยมตามมาเป็นอันดับ 4
             คาดการณ์ผลการเลือกตั้ง
             โพลล่าสุดยังชี้ว่านาย มาครอน และนาง ลี เพน จะได้รับคะแนนสูงสุดในการเลือกตั้งรอบแรกและจะไปชิงชัยกันในการเลือกตั้งรอบที่ 2 โยผลสำรวจความนิยมของการเลือกตั้งรอบที่ 2 ยังคงชีว่านาย มาครอน ยังมีคะแนนนำ
            อย่างไรก็ดีความไม่แน่นอนจากการเลือกตั้งเริ่มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในช่วง 2 สัปดาห์ที่ผ่านมาหลังความนิยมของนาย ฟิลลอน และนาย เมลีชอน เพิ่มขึ้นและทำให้ช่องว่างของคะแนนของผุ้ลงสมัครทั้ง 4 แคลลงเรื่อยๆ และทำให้การเลือกตั้งในรอบที่ 2 อาจเป็นการชิงชัยกันระหว่างผูสมัครคูใดก็ได้ใน 4 อันดับแรกmedium.com/@tiscomastery/การเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส-ความไม่แน่นอนทางการเมืองที่สำคัญในยุโรป-6ab56d587a84
            ยุโรปเฮ โพลชี้ "มาครง" ชนะเลือกตั้ง ปธน.ฝรั่งเศสรอบ 2 ขาดลอย ผลเลือกตั้งประธานาธิดีฝรั่งเศสอย่างไม่เป็นทางการ ชีว่า นายเอมมานูเอล มาครง ผุ้สมัครสายกลาง ขนะ นางมารีน เลอแปน ฝ่ายขวาจัดไปอย่างขาดลอย ดยคะแนนห่างกันกว่า 30%
           สำนักข่าวต่างประเทศรายงานว่า ผลอย่างไม่เป็นทางการของการเลือกตั้งปรธานาธิดบีฝรี่งเศสรอบ 2 ซึ่งจัดทำโดยโพลสำนักต่างๆ ชี้ว่า นายเอมมานูเอลมาครง ผุ้สมัครสายกลาย ซึ่งมีนโยบายหนุนธุรกิจและการอยู่ร่วมกับสหภาพยุโรปได้รับชัยชนะเหนือ นางมารีน เลอ แปน ผู้สมัครฝ่ายซ้ายจัด ที่ต้องการพอฝรั่งเศสออกจากสหภาพยุโรป ไปอย่างขาดลอยhttps://www.thairath.co.th/content/934417
           ยุโรป "โล่งอก" หลังพรรคกีกันคนเข้าเมืองแพ้เลือกตั้งดัตซ์
           ผู้นำยุโรปต่างแสดงควายินดีต่อผลการเลือกตั้งทั่วไปประเทศเนเธอร์แลนด์ หลังพรรคทีมีนโยบายกีดกันคนเข้าเมืองประสบความพ่ายแพ้
       

 ผู้นำหลายชาติในสหภาพยุดรปต่างแสดงความยินดีผลการเลือกตั้งทั่วไปของประเทศเนเธอร์แลน์ หลังพรรคการเมืองที่มีนธยบายต่อต้านคนเข้าเมืองอย่างพรรคเสรีภาพ หรือ พีวีวี ซึงนำโดยนายเคียร์ต วิลเดอร์ส ล้มเหล่วที่จะได้รับคะแนนเสียงมาเป็นอันดับหนึ่ง โดยได้ ส.ส.เพียง 20 ที่นั่งน้อยกว่าพรรคประชาชนเพ่อเสรีภาพและประชาธิปไตย หรือวีวีดี ของนายมาร์ก รัตเต นายกรัฐมนตรีเนเธอร์แลนด์ ที่ได้ ส.ส. 33 ที่นั่ง จากทั้งหมด 150 ที่นั่ง
            การเลือกตั้งครั้งนี้ถุกจับตามองเป็นอย่างมากจากประชาชนในประเทศฝรั่งเศสและเยรมนี ที่กำลังจะมีการเลื่อกตั้งทั่วไปในปีนี้ เช่นกัน ประะานาธิดบีฟรองซัวส์ โอลองด์ ของฝรั่งเศส บอกว่าผลที่ออกมาเป็น "ชัยชนะอย่างใสสะอาดต่อฝ่ายหัวรุนแรง" ขณะที่ นายกรัฐมนตรีอังเกลา แมร์เคิล ของเยอรมรี ก็สรรเสริญว่าเป็น "วันดีๆ ของระบอบประชาธิปไตย
           ซึ่งก็มีผู้นำชาติยุโรปบางรายที่ไม่ยินดีกับผลเลือกตั้งที่เกิดขึ้น อาทิ ประะานาธิดีเรเจป ทายยิป แอร์โดอัน ของตุรกี ที่ปัจจุบันมีข้อพิพาทกับเนเธอร์แลนด์http://www.bbc.com/thai/international-39300551
             การเลือกตั้งเยอรมนี กับอนาคตยุโรป
             การเลื่อกตั้งที่น่าจับตามากที่สุดในยุโรปในปีนี การเลือกตั้ง Bundestag ของเยอรมนี หมายถึงการเลือกตั้งรัฐสภาของสหพันธ์(รัฐบาลกลาง) ผลการเลือกตังครั้งนี้ไม่ได้พลิกโผไปมากจากที่โพล์ต่างๆ คาดกาณณ์ไว้ คือ นาง แองเจลล่า เมอเคลบ จากพรรคขวา-กลางได้รับคะแนนเสียงมากทีสุด 33%
           นั่นหมายถึง นาง แองเจลล่า เมอเคล หรือที่รุ้จักกันในาม "มุททิ" หรือ "คุณแม่" ของเยอรมนี จะเป็นพรรคผุ้นำการจัดตั้งรัฐบาล และเธอจะเป็นนายกรัญมนตรีของเยอรมนีเป็นสมัยที่ 4 ซึ่งเป็นผู้นำหญิงที่ที่อยุ่ในตำแหน่งนายกฯ นานที่สุดในประวัติศาสตร์ยุโรป
           จริงๆ แล้ว คนเยอมนีส่วนใหญ่ก็พอจะเดา ได้ว่านาง แองเจลล่า เมอเคิล จะกลับมาเป็นนายกรัฐญมนตรีอีก แต่การขึ้นมาของพรรคขวาจัด นั่นทำให้ลายคนตกใจ แต่ก็ต้องยอมรับว่านโยบายต่อต้านอิสลาม ต่อต้านการรับผู้อพยพ และต่อต้าน EU ของพรรค AFD กวาดคะแนนเสียงไปได้จำนวนมากจริงๆ ในยุคที่ยุโรปกำลังประสบปัญหาวิกฤตแบบนี้...http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/642773
           

วันศุกร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

Trends EU

            คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป มีมติวันที่ 11 ธ.ค. ที่ผ่านมา ปรับท่าที
โดยให้รื้อฟื้นการมีปฏิสัมพันธ์ทุกระดับกับประเทศไทย รวมทั้งให้คณะกรรมาธิการยุโรปดูความเป็นไดได้ที่จะกลับมาหารือ FTA ไทย อียู ด้วย ซึ่งถือเป็นข่าวดีสำหรับความสัมพันะ์ระหว่งไทยกับ อียู เรพาะจะทำให้ประเทศสมาชิกของอียูได้พูดคุยกับไทยในเรื่องความร่วมมือด้านสำคัญต่างๆ  ซึ่งเป็นเรื่องที่สมประโยชน์ทุกฝ่าย
             พัฒนาการสำคัญๆ ในปี 2017
             - การเจรจาเรื่อการถอนตัวออกจากการเป็นามาชิกอียูของสหราชอาณาจักร หรือ Brexit ซึ่งเร่ิมขึ้นภายหลังจากที่รัฐบาสหราชอาณาจักแจ้งอียูอย่างเป้นทางการว่าต้องการถอนตัวออกจาการเป็นสมาชิกเมื่อเอือนมีนาคม และได้เริ่มการเจรจาระยะที่หนึ่ง ซึ่งเป็นเรื่องของ "กาถอนตัว" มีเรื่องสำคัญได้แก่ เรื่องเงินงบประมาณอียูที่สหราชอาณาจักรต้องรับผิดชอบ เรื่อง สิทธิประโยชน์ของพลเมืองทั้งสองฝ่ายซึงเป็นสมาชิกอียู ในการอาศัยและทำงานหลังการถอนตัว และเรื่องด่านทางบกระหว่างอไอร์แลนด์เหนือซึ่งเป็น่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรกับสาธารณรัฐไอร์แลนด์
            แม้การเจรจาดูเหมือนจะเป็นไปด้วยความยากลำบาก แต่ในทีุ่ด ที่ประชุมระดับผุ้นำอียูเมื่อเดือนธันวาคมก็ได้มีมติยอมรับว่า การเจรจาระยะที่หนึ่งมีควาคือหน้า "เพียงอพ" ที่จะเร่ิมการเจรจาในระยะที่สองต่อไปได้ ซึงกสรเจรจาในระยะที่สอง ก็จะเป็นเรื่อง "รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสหราชอาณาจักรกับอียูภายหลังการถอนตัว" นอกจากนี้ ผุ้นำอียูยังเห็นชอบข้อเสนอของสหราชอาณาจักรที่จะให้มี "ช่วงเปลี่ยนผ่าน" ประมาณ 2 ปี หลังจากที่สหราชอาณาจักรออกจากการเป็นสมาชิกแล้ว ถือว่าความคืบหน้าในเรื่องการเจรจาที่กล่าวถึง ทให้หลายฝ่ายคลายความกังวลไปได้ระดับหนึ่ง ส่วนหน้าตาและผลของการเจรจาระยะที่สอง รวมทั้งช่วงเลปี่ยนฝ่านจะเป็นอย่างไร ก็คงต้องรอติดตามต่อไปในปี 2561
           - เศรษฐกิจของอียู โดยปี 2560 นับเป็นช่วงปีแห่งการฟื้นตัวของเศรกิจยุโรปทั้งอียู และยูโรโซน โดยเศรษฐกิจยูโรโซนปิดฉากปี 2560 ด้วยสถิติการขยายตัวทางเศณาฐกิจที่สูงที่สุดในรอบ 7 ปี โดยกรรมาธิการด้านเศรษฐกิจและการเงิน ได้รายงานว่า ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา อียู สร้างงานใหม่กว่า 8 ล้านตำแหน่ง ทำให้อัตราการว่างงานในอียูลดจาก 10.9 % ในปี2556 ลงมาที่ 7.8 ในปี 2560 ซึ่งส่สยหนึ่งมาจากแรงกระตุ้นทางเศราฐกิจที่สอดรับประสานกันระหว่างประเทศหลักของยูโรโซน สะท้อนให้เห็นว่าปัจจัยทางการเมือง (การเลื่อกตั้งในประเทศหลัก คือ ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ ออสเตรีย และเยอรมนี)  ไม่ได้ส่งผลกระทบทางลบต่อเศรษฐกิจในอียูเท่าใดนัก
         
 - ผลการเลื่อกตั้งในประเทศอียูสำคัญๆ คือ เนเธอแลนด์ ฝรั่งเศส ออสเตรีย และเยอรมนี กระแสที่เกิดขึ้นในช่วงหาเสียงเลือกต้ง คือ ความหวาดเกรงว่า พรรคการเมือง "สายประชานิยม" และ "ต่อต้านอียู" จะได้รับความนิยมขนาดชนะการเลือกตั้งได้ ซึ่งหากเป็นเช่นนั้นแล้ว ก็จะทำให้อนาคตของอียูย่ิงมีความไม่แน่นอนมากขึ้นหลักงจากที่ประสบ "ช็อก" จาการที่อังกฤษโหวตถอนตัวออกจาอียู มาแล้ว แต่ในที่สุด ผลการเลื่อกตั้งที่ออการมานััน ปรากฎวา พรรค/ผู้นำฝ่ายกลาง-ขวา สาย "โปรอียู" ต่างได้ับเลือกต้เข้ามาบริหารประเทศทั้งส้ิน
           กล่าวคือ เนเธอร์แลนด์ได้เลือกนายรัตเตจากพรรคกลาง-ขวา ฝรั่งเสสเลือกประโานาธิบดีมาครงที่ต้องการสร้างความเข้มแข็งให้กับอียู ออสเตรียได้รัฐบาลฝ่ายขวา ที่มีท่าที่สนับสนนุอียู ส่วนเยอมนีก็ได้เลือกนางแมร์เคิลกลับมาเป็นนายกรัฐมนตีอีกครั้ง ดังนั้น ในปี 2560 การเมืองในอียูจึงน่าจะถือได้ว่า กลับมามีบรรยากาศสดใสและมีความมั่นใจมากขึ้นเมื่อเที่ยวกับภาวะที่ค่อนข้งอึมครึมในช่วงปลายปี 2559
         สถานการอียู ในปี 2561
         บัลแกเรียรับตำแหน่งปรธานคณมนตรีในช่วงครึ่งแรกของปี 22561 ซึ่งถือเป็นครั้งแรกที่ประเทศนี้รับตำปน่งปรธานหมุนเวียนของอียู โดยบัลแกเรียได้กำหนดวาระงานสำคัญ คือ อนาคตของยุโรปและเยาวชน, ความสัมพันธ์กับประเทศบอลข่านตะวันตก, ความมั่นคงและเสถียรภาพในยุโรป และ การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิตอล
         แต่นอกจาประเด็นเหล่านี้แล้ว อียูต้องให้ความสำคัญกับเรื่องนโยบายการโยกย้ายถ่ินฐาน (การรับคนอพยพด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจหรือลี้ภัยสงคราม) และการขับเคลื่อนการรวมตัวทางเศราฐฏิจและการเงิน ซึ่งความลักลั่นระหวางนโยบายการเงินกับการคลังมีส่วนทให้เกิดวิกฤติสภาพหนี้ในประเทศยุดรปตอนใต้ ตลอจนการรวมตัวของภาคการเงินและการธนาคาร ซึ่งกำหนดว่าต้องได้รับการตัดสินใจภายในเดือนมิถุนายน
       
จากผลการเลือกตั้งในประเทศสำคัญ คือ ฝรั่งเศสกับเยอรมนี ได้ผุ้นำฝ่ายกลาง-ขวา จึงทำให้มีความคาดหมายว่า ความสัมพันธ์ระหว่างทั้เงสองจะแนบแน่นเหมือนเช่นในอดีต และจะนำไปสู่การขับเคลื่อนให้อียูมีนธยบายใหม่ๆ ด้วย
         ที่น่าจับตา คือ ประธานาธิดบีมาครงกับนางแมร์เคิลนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ได้ตกลงกันที่จะแถลงกำหนดท่าที่รวมกัน ในเรื่อง EMU ในเดือนมีนาคม
         การเจรจา Brexit คงเข้าสุ่ช่วงเข้มข้น เพราะจะต้องเร่งเจรจาระยะที่ 1 ในครบทุกประเด็น และเริ่มการเจรจาระยะยที่ 2 ซึ่งยังขาดความชัเจนในเรื่องสิทธิประโยชน์ในการเข้าถึงตลาดร่วมอียู และรูปการเจรจาระยะที่ 2 ซึ่งยังขาดความชัดเจนในเรื่องสิทธิประโยชน์ในการเข้าถึงตลาดร่วมอียู และรูปแบบความสัมพันะ์กับอียูในอนาคตทั้งหมดนี้ จะต้องเจรจาให้เสร็จออกมาเป็นเกสารข้อตกลงทางการ(หรือสนธิสัญญา) ภายในเดือนตุลาคม เพื่อที่ประเทศสมาชิกอียูจะไปผ่านกระบวนการให้สัตยาบัน เพื่อให้การออกจากสมาชิกอียูของสหราชอาณาจักรเสร็จสิ้นสมบูรณ์ภายในสิ้นเดือนมีนาคม 2562
        ทางด้านเศรษฐกิจนั้น คณะกรรมาธิการยุดรปคาว่า เศราฐกิจอียู น่าจะเติบโตในอัตราเฉลี่ยประมาณ 2.1% ซึ่งถือเป็นแนวโน้มที่ดี เป็นการฟื้นตัวอย่งช้าๆ ต่อเนื่องจากปี 2560 ขณะที่อัตราเงินเฟ้อยังอยุ่ที่ 1.7% เท่าเดิม
         http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/643763

วันพฤหัสบดีที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

Brexit

           เมื่อไม่กีปีก่อน คำว่า Grexit (Greece + Exit คือ ความเสี่ยงที่กรีซอาจจะต้องออาจากยูโรโซน) เป็นควมเสี่ยงที่สำคัญ และพูดถึงกันค่อนข้างมาก แต่มาในวันนี้ 
        Brexit ซึ่งมาจากคำว่า Britain+Exit คือความเสี่ยงที่สหรัชอณาจักร หรือ "อังฏฤ" อาจจะออกจาสหภาพยุโรป

        สหภาพยุโรป เป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง ที่ประกอบไปด้วยประเทศสมาชิกในยุโรป 28 ประเทศ มีขนาดของตลาอในแง่ GDP ใหญ่ที่่สุดในโลก (พอกับสหรัฐอเมริกา) แต่กมีลางประเทศในยุดรปี่ไม่ได้เป็นสมาชิกสหภาพยุโรป เช่น นอร์เวย์ สวิตเซอร์แลนด์ และสหภาพยุโรปเปนมากว่าเขตการค้าเสรีหรื "custom union" เพราะไม่เพียงสินค้าและบิรการจะสามาถเข้าออกประเทศสมาชิกไ้อย่างเสรีแล้ว แรงงานและทุนก็สามารถเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศได้อย่างเสรี แปลว่าคนในประเทศสมาชิก สามารถเดินทางไปหางานในอีกประเทศได้ และทุนสามารถเคลื่อนย้ายกนได้อย่างเสรี
       เพื่อทำให้เกิดสิ่งเหล่านี้ได้ สหภาพยุโรปจึงต้องมีอำนาจเหนือรัฐสมาชิกในการออกกฎหมายและระเบยบต่างๆ เพื่อควบคุมบางเรื่องให้สอดคล้องกันทั่ยสหภาพยุดรป และบัคับใช้ได้ในทุกประเทศสมาชิก และสหภาพยุโรปมีสถานบันที่มีลักษณะเหมือนรัฐเหนือรัฐ เช่น มีรัฐสภาพยุโรป และศาลยุติธรรมยุโรป เพื่อออกกฎหมายแลแก้ไขข้อพิพาทที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายของสหภาพยุโรป นอกจากนี้ ยังมีหน้าที่คล้ายการคลังของรัฐเหนือรัฐ ในการเก็บเงินจากประเทศต่าๆงๆ แล้วเอาไปกระจายให้กบประเทศสมาชิก
         "ซึ่งนำไปสู่คำถามที่ว่า ไปลดอไนาจอธิปไตยของประเทศมาชิกหรือเปล่า กฎระเบียบต่างๆ ของสหภาพยุโรปมีประดยชน์หรือกลายเป็นต้นทุนของรัฐกันแน่ และต้นทนกับประโยชน์ของการเป็นสมาชิกน้นอย่าไหนเยอะกว่ากัน และคุ้มกันไหม"
            ประเด็นเหล่านี้มีการพูดถึงกันตลอด แต่เริ่มเป็นประเด็นใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ เมื่อมีปัญหารผู้อพยพในยุโรป หลายคนที่อยากให้รัฐบาลออกกฎหมายควบคุมเขตแดนเพื่อลดจำรวนผุ้อพยพ แต่ก็ทำไม่ได้เต็มที่เรพาะไปขัดกับกฎของสหภาพยุโรป
            ประเ็นเหล่านี้กลายเป็นประเด็นสำคญทางการเมืองในสหราชอาณาจักมากขึ้นเรื่อยๆ จนพรรคการเมืองพรรคหนึ่งทีมีนโยบายสนับสนุนให้สหราชอาณาจักรออกจากสหภาพยุดรป เร่ิมได้คะแนนเสียงมากขึ้นเรื่อยๆ จนพรรคการเมืองหลักอย่งพรรคอนุรักษ์นิยม และพรรคแรงงาน เร่ิมจะเก็บประเด็นนี้ไว้ใต้พรมไม่ได้
           ในการเลือกตั้ง เดวิด คาเมรอน จึงประกาศว่า ถ้าชนะการเลือกตั้ง จะเอกประเด็นนี้มาให้ประชาชนโหวตตัดสินกัน และจะเจรจากับสหภพยุโรป เพื่อปฏิรูปข้อกำหนดสหภาพยุโรป และขอเงื่อนไขที่ดีขึ้นต่อสหราชอาณาจักร
           และเมื่อชนะการเลือกตั้ง จึงต้งอทำตามสัญญาจัดทำประชามติทั่วประเทศ จนกลายเป็นประเด็นร้อนแรง ที่มีทั้งฝ่ายสนับสนุนและฝ่ายคัดค้าน แม้ว่ารัฐบาลมีจุดยืนชัดเจนว่าสนับสนนุให้สหราชอาณาจักรอยู่ในสหภาพยุโรปต่อไป แม้แต่รัฐมนตรีในรัฐบาลเดียวกันยังเห็นไม่ตรงกัน และรัฐมนตรีบางคนเป็นแกนนำในการรณรงค์ให้ออกจาสหภาพยโรปเสียด้วย
           โดยเหตุผลของฝ่ายสนับสนุนให้ออกดูจะเป็นเหตุผลด้านการเมืองมากกว่ ฝั่งนับสนนุมองว่า การอยู่ในสหภาพยุโรปมีโทษมากว่าประโยชน์โดยเฉฑาะประเด็นอธิปไตย และการออกกฎหมย (โดยเฉพาะจากกรณีผู้อพยพ) และเห็นว่ากฎระเบียบต่างๆ จากสหภาพยุโรปเป็นตัวฉุดรั้งเศรษฐกิจของสหราชอาณาจักร ต้นทุนทางการคลังก็เสียไปเปล่าๆ
            นอกจากนี้ ฝ่ายสนับสนุนเชื่อว่าต้นทุนการออกจากสหภาพยุโรปน่าจะมาอก เพราะยังไงน่าจะเจรจากันได้ และยุโรปก็ต้องพึงพาสหราชอาณาจักรเหมือนกัน
            ฝ่ายที่อยากให้อยู่ต่อ กังวลว่าต้นทุรทางเศรษบกิจของการออกจากสหภาพยุโรปอาจจะสูงมาก และความไม่แน่นอนหลักจากออกจากสหภาพยุโรปอาจจะมีสูงจนทำให้การลงทุนและศรษฐกิจหยุดชะงักได้ เพราะไม่เคยมีใครออกจากสหภาพยุโรป จึงไม่รู้ว่าเงื่อนไขหลังจากออกจะเป็นอย่างไร สหราชอาณาจักรได้รับประโยชน์จากการเป็นศูนย์กลางการค้และการลงทุนของยุโรป การค้าเป็นกว่าร้อยละ 60 ของเศรษบกิจ และกว่าครึ่งเป็นการค้ากับสมาชขิกในสหภาพยุโรป ที่ไม่มีกำแพงภาษีระหว่างกัน ถ้าออกจากสมาชิก นั่นอาจจะหมายความว่าสินค้าและบริการระหว่างสหราชอาณาจักร กับประเทศอื่นๆ ในสหภาพยุโรป อาจจะต้องมีภาษานำเข้าระหว่างกัน สหภาพยุโรปจะยอมให้สหราชอาณาจักรได้รับประโยชน์สเหมือนเป็นประเทศในเขตการค้าเสรีหรือไม่ถ้าให้จะต้องจ่ายด้วยอะไร แล้วการค้ากับประเทศอื่นๆ ที่สหภาพยุโรปมีข้อตกลงเขตการต้าเสรีแล้วล่ะ สหราชอาณาจักรต้องไปนั่งเจรจาทีละประเทศหรือเปล่า แล้วระหว่างนั้นการค้าจะเป็นอย่างไร
           นอกจากนนี้ สหราชอาณาจักรยังเป็นศูนย์กลางการลงทุนและศุนยกลางทางการเงินของยุโรป เพราะได้ประโยชน์จากเงือ่นไขและกฎระเบีบที่ใช้เหมือนกัน ถ้าวันหนึ่งสหราชอาณาจักรออกจากการเป็นสหภาพยุโรป แล้วสหภาพยุโรปไม่ยอมรับระเบียบการดูแลสภาบันการเงินของสหราชอาณาจักขึ้นม จะเกิดอะไรขึ้นกับสถาบันการเงินที่ใชลอนดอนเป็นศูนย์กลาง

          นอกจากนี้ ยังมีความเสี่ยงว่าสหราชอาณาจักรอาจจะแตกเป็นเสี่ยงๆ ถ้าออกจากสหภาพยุโรป เพราะไอร์แลนด์เหนือและสกอตแลนด์ที่มีทีท่าอยากแยกตัวจากสหราชอาณาจักรอยู่แล้ว อาจใชเป็นเงื่อนไขในการทำประชามติอีกรอบ เพื่อจะอยู่ต่อกับสหภาพยุโรป
         ผลกระทบจริงๆ ต่อเศรษฐกิจค่อนข้ายากท่จะประเมิน เรพาะมีความไม่แน่นอนค่อนข้าสุงเีกยวกับเงื่อนไขหลังจากการโหวตไปแล้ว และนักวิเคราะห์หลายคนมีประมาณการที่ต่างกันค่อนข้างมาก ตั้งแต่บวดยันลบ(อาจจะขึ้นอยู่กับความเห็นทางการเมือง) แต่ฝ่ายที่ไม่เห็นด้วยกับการออกจากสหภาพยุโรปออกมาเตือนกันค่อนข้างเยอะ ท้งรัฐบาลสหราชอาณาจักรเอง ผุ้นำยุโรป และผุ้นำสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ IMF และ OECD ยังออกมาเตือนว่า ถ้าสหราชอาณาจักรออกจากสหภาพยุโรปจริงๆ อาจจะเกิดผลกระทบทางเศราฐกิจโลกอยางร้ายแรงได้ และประเด็นนี้กลายเป็นประเด็นความเสี่ยงสำคัญที่ผุ้จัดการกองทุนทั่วโลกยกขึ้นมาเป็นลำดับต้นๆ แม้แต่ธนคารกลางอังกฤษ ยังบอกว่าจะต้องเตียมมาตรการรับมือกรณีที่ต้องออกจากสหภาพยุโรปจริง ๆ หรือกรรมการนโยบายการเงินสหรัฐฯ ยังบอกว่าการลงประชามติอาจจะมผลต่อการตัดสินใจ...thaipublica.org/2016/05/pipat-46/
            

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...