right-wing populism

          ในช่วง 2-3 ทศวรรษที่ผ่านมา ประชานิยมได้ขยายตัวอย่งกว้างขวางในยุโรป ในปัจจุบัน พรรคการเมืองแนวประชานิยมเข้าไปอยู่ในรัฐสภาของประเทศต่างๆ ในยุโรป รวมทั้งรัฐสภาของสหภาพยุโรปเองด้วย โดยมีหาประเทศที่พรรคการเมืองปนวประชานิยมครองเสียงข้างมากในรัฐสภา ใได้แก่ กรีก ฮังการี โปแลนด์ สดลวาเกี่ย และสวิตเซอร์แลนด์ โดยเฉพาะในฮังการี พรรคแกนนำรัฐบาล และพรรคคแกนนำฝ่ายค้าน ต้างเป็นพรรคแนวประชานิยม ในประเทศอื่นๆ เช่น ฟินแลนด์ ลิทัวเนยและนอร์เวย์ พรรคการเมืองปนวประชนิยมร่วมกัจดตั้งรัฐบาลผสม
          ในการทำความเข้าใจประชานิยมระลอกล่าสุด เราพึงย้อนพินิจกำเนินของมัีนในการเปลี่่ยนแผ่านเชิงโครงสร้างของระเบียบเซณษฐฏิจการเมืองของยุดรปและโลกในข่วงปลายทศวรรษที่ 1970 เป็นต้นมา นั่นคื อการเปลี่ยนผ่านจากระเบียบแบบรัฐสวัสดิการและลัทธิเศณษบกิจกาเรมืองแบบเคนส์ มาสู่ระเบียบเศรษฐกิจการเมืองแบบเสรีนิยมใหม่ ซึ่งผลักดันการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ การโอนกิจการสาธารณะเป็นเอกชนการลดกฎเกณฑ์ต่างฟ ที่กำกับทุนนิยม และการขยายตัวของทุนการเงิน
          เราจะเก็นได้จากความเป็นตริงในยุโรปว่า พรรคการเมืองแบบประชานิยมไม่ค่อยได้รับความนิยมมากนักจนกระทั่งในช่วงทศวรรษที่ 1980 หรือ 1990 เป็นต้นมา 
          ประชานิยมระลอกล่าสุดในยุโรปเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ในยุโรปอย่างน้อยสามประการสำคัญ ได้แก่ 
         
 ประการแรก ลัทธิเสรีนิยมใหม่ก่อให้เกิดการเมืองแบบที่ฌองตาล มูฟ เรียกว่า"หลักการเมือง" นันคือ การเมืองที่ทำลายอุดมการณ์ทางการเมืองฝ่ายซ้ายและฝ่ายขวา ให้เหลือเพียงการเมืองของฉันทมติ กล่าวค อทั้งฝ่ายกลางซ้ายและกลางขวาต่างยอมรับในระบบเสณาฐกิจแบบเสรียิยมใหม่ 
           ลัทธิเสรียิมใหม่ยังลดทอนแระเด็นทางการเมืองให้กลายเป็นรืเ่องทางเทคนิคที่อาศัยผุ้เชี่ยวชาญเฉพาะเข้ามาบริหารจจัดการแทนที่จะเป็นประเด็นทางการเมืองที่ประชาชนมีสวนร่วมในกระบวนกรตัดสินใจต่างๆ แม้กระทั่งในกรณีที่ประชาชนมีสิทธิในการตัดสินใจ เช่น การทำประชามติ ก็อาจจะมีกาล้มประชมติ โดยศาลรัฐธรรมนูญหรือองค์กรอิสระที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง เพราะผลการลงประชามตินั้นขัดต่อระเบียบเศรษฐกิจกาเรมืองแบบเสรีนิยมใหม่หรือไม่ใช่ "ทางเลือกที่ใช่" เช่น การลประชามติรับสนธิสัญญาลิสบอนของไอร์แลนด์ในปี 2008 หรือแม้กระทั่งความพยายามในช่วงหลังการลงประชามติถอนตัวออกจาสหภาพยุโรป ของสหราชอาณาจักร หรือ บรีซิสต์ในปี 2016
           กระบวนการเสรีนิยมใหม่ดังกล่าวไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะในรัฐชาติยุดรปเท่านั้น แต่เกิดขึ้นในโครงสร้างสถาบนของสหภาพยุโรปด้วย บริบททางการเมืองแบบ "หลังการเมือง" หรือ "ไร้การเมือง" ทั้งในระดับรัฐ และเหนือรัฐ เอื้ออำนวยให้พลังประชานิยมเข้มแข็งในยุดรป โดยเฉพาะอย่างยิงประชานิยมฝ่ายขวา
            ประการที่สอง วิกฤตเศณษฐกิจในยูโรโซน และวิกฤตหนี้สาธารณะในกลุ่มประเทศ PIIGS รวมทั้งการรับมือกับวิกฤตดังกล่าวของสหภาพยุโรป ยิ่งซ้ำเติมวิกฤตเศรษบกิจ นโยบายการรัดเข็มขัด กลับเสริมสร้างลัทธิเสรีนิยใหม่ให้ลงหลักปักฐานมากขึ้นในประเทศเหล่านั้น
           วิกฤตดังกล่าวโอนยัายอำนาจในการตัดสินใจเรื่องเศรษฐกิจไปสู่มือของสหภาพยุรปและ(ุ้เชี่ยวชาญทางเศรษฐกิจ ที่พ้นไปจากกระบวนการทางการเมืองของประชาชน ส่ิงที่เราเห็นคอการจุดกระแสของฝ่ายต่อต้านสหภาพยุโรป และต่อต้านนโยบายการัดเข็มขัดเพิ่มมากขึ้นประเด็นนี้ดูเหมือนกจะปรากฎในหมู่ประชานิยมฝ่ายซ้าย ในกรีซ และในสเปน มากกว่าประชานิยมฝ่ายขวา
           อย่างไรก็ตาม เมื่อเข้าสูอำนจการเมืองแล้ว พรรคการเมืองแนวประชานิยมจำต้องเลือกระหว่าง (1) ความรับผิดชอบต่อเสียงประชาน หรือ (2) เสียงเรียกร้องกดดันจาสหภาพยุโรปในกรณีกรีซ เมื่อพรรคการเมืองแนวประชานิยมฝ่ายซ้ายขึ้นมามีอำนา นายกรัฐมนตรี อเล็กซิส ซิปราส ซึ่งเคยรณรงค์หาเสียงว่จะไม่ยอมรับนโยบายการรัดเข็มขัด ก็ต้องยอมถอย และถูกบับให้ต้องดำเนินกมาตากรตัดลอดรายจ่ายภาครัฐและการปฏิรูปโครงสร้างต่างๆ ตาแแผนการของสหภาพยุโรปและผุ้เชียวชาญจากธนาคารกลางยุโรปและกองทุนการเงินระหว่างประเทศ การตัดสินใจนี้ลดทอนความชอบธรรมทางการเมืองชอ
พรรค ไปค่อนข้างมาก
             ประการที่สาม วิกฤตผู้อพยพจากภูมิภาคที่เผชิญสงคราม ดดยเฉาะในตะวัออกกลาง และกระแสการก่อการร้ายในยุโรป ยิ่งส่งเสริมวาทกรรม "คนอื่น" โดยเฉพาะ "คนมุสลิม" ในฐานะ "ภัยคุกคาม" ทั้ต่อความมั่นคงและการเข้ามาแย่งงานของคนในชาติ
             งานวิชาการสำคัญอย่งเชืน งานของโอลิเงียร์ รอย เสนอไว้เมืองหลายปีมาแล้วว่า เอาเข้าจริง พวกมุสลิมหัวรุนแรงในยุโรป ซึงเขาเรียกว่า เป็น นีโอ ฟลันดามินทาลิสต์ หรือในปัจจุบันคือ โลน-วูฟ เอทโรริสต์ นั้นเป็นคนที่เกิดในยุโรปเอง มากว่าพวกที่อพยพมาจากตะวันออกกลาง ทั้งนี้เนื่องมาจากกระบวนการเบียดขับให้เป็นชายขอบภายในวังคมยุโรป เช่น คนฝรั่งเศสที่เป็นมุสลิมจำนวนหนึ่งไม่ได้รับความยอมรับทางอัตลักษณ์หรือความเท่าเทียมกันในสังคม จึงผันตัวเองไปเป็นหัวรุนแรง เป็นต้น
           บริบทแห่งวิกฤตผู้อพยพและการก่อการร้ายเสรีสร้างกระแสประชานิยมฝ่ายขวามที่โยนปัญหาเหล่านี้ให้แก่ผุ้อพยพ และความหลากหลายในสังคมการเมือง ทั้งที่ในความเป็นจริงแล้ว สภาวะการว่างงานอย่างหว้างขวางในยุโรปส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากนโยบายสเรีนิยมใหม่ นั้นคือ การโยกย้ายฐานการผลิตออกไปสูเศราฐกิจที่มีแรงงานราคาถูกกว่า ซึ่งได้แก่ ยุดรปตะวันออก หรือบริเวณประเทศกำลังพัฒนาต่างๆ มากว่าเกิดจากผู้อพยพแย่งงาน..https://www.the101.world/thoughts/populism-in-europe/
          เมื่อประชานิยมกำลังา อนาคตข้างหน้าไม่มีอะไรแน่นอน
           ขาวอเมริกันชูป้ายประท้วงไม่ยอมรับโดนัลด์ ทรัมป์ เป็นประธานาธิบดี ขณะชุมนุมที่หน้ารัฐสภาของมลรัฐ โคโลราโด เรียกรองคณะผู้เลือกตั้งของรัฐปฏิเสธการลงคะแนนให้ทรัมป์ ในวันที 19 ธันวาคม
          กระแสประชานิยมฝ่ายขวาสร้างความสั่นสะเทือนเลื่อลั้นที่สองฝั่งมหาสมุทรแอตเลนติก ไหนจะเบร็กซิต ไหนจะการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา 
          แม้ในการเลือกตั้งทั่วไป ของประเทศต่างๆ ในยุโรป ประชานิยมขวาจัดจะได้รับความพ่ายแพ่ นับจากออสเตรีย เนเธอร์แลนด์ มาถึงความพ่ายแพ้ของ มารี เลอแปน ในการเบือกตั้งชิงต่ำแหน่งประะานาธิบดีฝรั่งเศสรอบตัดสิน ถือเป็นความสูญเสียรอบล่าสุดสไกรับฝ่ายขวาจัดในยจุโปร แต่นักวิเคราะห์ระบุว่า การเดินหน้าสู่อำนาจของพวกเขายังห่างไกลจากความว่าสิ้นสุด
          ... "ขบวนการเคลื่อนไหวฝ่ายขวาจัดมีปอิทพิพลไม่ใช่จากการปกครอง แต่เป็นการควบคุมจำกัดการบริหารจัดการของพรรคการเมืองสายกลาง" คาร์สเทน นิกเกล ขององค์กรวิชากรเตเนโอในกรุงบรรัสเซชส์บอก และว่า "เราควไมาสามารถบอกได้ว่านี่เปนปีที่ย่ำแย่ของฝ่ายขวาจัดในออสเตรีย โอเฟอร์ได้คะแนนเสียงเกือบ 50% ใน เนเธอร์แลนด์ พรรคกลางวซ้ายถูกกวาดออกไปหมด ขณะที่วิลเดอร์สถือเะป็นผุ้เล่นสำคัญในรัฐสภาเนเธอร์แลนด์"
             และแม้ชัยชนะของ "มาครง" จะเป็นผลลัพท์ที่ดี แต่ในความเป็นจริงแล้ว นี้ือผลงานที่ดีที่สุดขงพรรค เนชั่นแนล ฟรอนท์ ในการเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศสในประวัติศาสตร์ 44 ปีของพรรค
            ในการกล่าวสุทรพจน์ยอมรับความพ่ายแพ้ มารีน เลอเปน ประกาศว่า เอฟเอ็นจะเป็นพรรคฝ่ายค้านหลักพร้อมระบุว่ เส้นแบ่งใหม่ระหวาง "ผู้รักชาติ" กับ "นักโลการภิวัตน์" ถูกขึดขึ้นมาแล้ว
            สื่อในยุโรปหลายสำนักได้เตื่อนว่า "นักประชานิยมขวาจัดใน ออสเตรีย เนเธอแลนด์ เยอรมนี และฝรั่งเศส อาจเรียกได้ว่าอยู่ในช่วงเวลาที่เข้ามแข็งที่สุดมากกว่าครั้งไหนๆ และไม่มีข้อบ่งชี้ใดๆ ่าพวกเขากำลังสูญหายไป" ขณะที่เดอะไทม์ส ของอังกฤษระบว่า "มาครงจำเป็นต้องแสดงให้ชาวฝรั่งเศสเห้นว่าที่จริงแล้วเขาเป็นทางเลือกที่ชาวฝรั่งเสสรอคอย" หากเขาทำไมได้ เลอแปน หรือคนอย่างเลอ แปน ก็จะปรากฎตัวขึ้นมา....www.matichon.co.th/news/559491
          
            

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)