สมัยคลาสสิก เป็นคำที่ใช้กว้างๆ สำหรับสมัยประวัติสษสตร์วัฒนธรรมที่ีศูนย์กลางบู่ในริเวณเมดิเอตเรเนียน ที่ประกอบดวยการปสมปสานระหว่างกรีกโบราณ และโรมัน โบราณ ที่เรียกว่า โลกกรีก โรมัน สมัยคลาสสิกเป็นสมัยที่วรรณคดีกรีกและลาตินมีความรุ่งเรือง
สมัยคลาสสิคถือกันว่าเริ่มขึ้นเมือมีการบันทึกวรรณกรรมกรีกเป็นครั้งแรกที่เริ่มด้วยมหากาพย์ของโฮเมอร์ราวศตวรรษที่ 8 -7 ก่อนคริต์ศตวรรษ และดำเนินต่อมาจนกระทั่งถึงสมัยการเผพแพร่ของคริสต์ศาสนา และการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันในคริสต์สตวรษที่ 5 จนมาสิ้นสุดลงในปลายสมัยโบราณตอนปลาย ราว ค.ศ. 300 - 600 ผสานต่อไปยัง สมับกลางตอนต้น ยุคสมัยอันยาสนานนีครอบคลุมวัฒนธรรมที่แตกต่างกันในหลายบริเวณของช่วงระยะยเวลนั้น สมัยคลาสสิคอาจจะหมายถึงสมัยอันเป้นสมัยอุดมคติโดยผุ้คนในสมัยต่อมา ตามคำกล่าวของเอคการ์ อัลเลน โพ ที่ว่า ไความรุ่งโรจน์ของกรีก, ความยิ่งใหญ่ของโรมัน
วัฒนธรรมของกรีซโบราณมีอิทธิพลเป็นอันมากต่อภาษาระบบการปกครอง ระบบการศึกษา ปรัชญา วิทยาศาสตร์ ศิลปะและสถาปัตยกรรมของยุคใหม่ และเปนเชื่อที่นำมาสู่ยุคฟื้นฟุศิลปวิทยา ต่อมาในยุดรปตะวันตก และต่อมาในยุคฟื้นฟุคลาสสิคในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 /th.wikipedia.org/wiki/สมัยคลาสสิก
ภาษาละติน เป็นภาษาของชาวโรมันโบราณซึ่งอสศัยอยู่แคว้นละที่อุม (Latīum ปัจจุบันคือเมือง ลาซีโอ้) บริเวณรินชายฝั่งตะวันตกของคาบสมุทรอิตาลี โดยมีโรม เป้นศุนยกลางของแคว้น ภาษาละตินที่อยุ่ภายในตำราวิกิฉบับนี้จะเป็นภาษาที่ชาวโรมใช้กันเมื่องสองพันปีที่แล้ว อันเป็นช่วงเวลาทองแห่งงรรณกรรมโรมัน
/th.wikibooks.org/wiki/ภาษาละติน
การเรียนภาษาละตินเป็นสะพานไปสู่ความสำเร็จของการศึกษาภาษา วรรณกรรม และศิลปะวิทยาการของประเทศในแถบยุโรป ตั้งแต่ครั้งโบราณ วรรณกรรม ศิลปะวิทยาการ การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ คัมภีร์ทางศาสนา ถุกถ่ายทอดผ่านภาษาละติน ในสมัยก่อนปฏิวัติอุตสาหกรรม ภาษาละตินถูกใช้เป็นภาษากลางสำหรับวงการวิทยาศาสตร์ผลงานวิชาการของนักวิทยศาสตร์ เช่น ไอแซค ล้วนตีพิมพ์ด้วยภาษาละติน..
ผลจากการขุดค้นทางโบราณคดี เมื่อทศวรรษ 1870s และทศวรรษ 1880s ที่เมืองทรอย และเมืองไนซีเน ทำให้ทราบว่าอายธรรมกรีกปรากฎครั้งแรกที่เกาครีต
อารยธรรมไมนวลของชาวครีตันมีความเจริญสูงสุดระกว่าง 1800-1500 ปี ก่อนคริสตศักราช เรียกว่า "ยุคพระราชวัง " อาชีพสำคัญของชาวครีตันคือ เป็นพ่อค้าจนกลางค้าขายกับชาวอียิปต์ เอเชียไม่เนอ อนาโตเลีย ซีเรียและแอฟริการเหนือ สินค้าสำคัญคือ ข้าวสาลี ไวน์ น้ำมันมะกอก แร่ดีบุก ทองแดง ทองเหลืองและเครื่องปั่นดินเผ่าหลากสี
ชาวครีตันยกย่องสตรีและนับถือแม่ธรณีเป็นเทพเจ้าสูงสุด เทเจ้าของพวกเขามีลักาณะเป็นมนุษย์มากกว่าและให้คุณมากกว่าโทษ ทำให้ไม่นิยมสร้างวัด ชาวรีตันถุกชาวไม่ซีเนจากแผ่นดินใหญ่รุกรานและยึดครองเมื่อประมาณ 1500 ก่อนคริสตาล ต่อมาชาวไม่ซีเนได้นำอารยธรรมไมนวลของชาวครีตันขึ้นไปเผยแพร่บนผืนแผ่นดินใหญ่ โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองไมซีเน กลายเป็นอายธรรมไมซีเน
ในช่วง 700 ปี ก่อนคริสตกาล กษัตริย์ต้องสูญเสียอำนาจด้านการเมืองและการปกครองแก่ขุนนาง แต่หลังจากนั้นไม่นานนักได้เปลี่ยนการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตย
500 ปีก่อนคริสตกาล เอเธนส์เป็นศูนยกลางของอารยธรรมกรีก ทำให้มีความเจริญทางด้านปรัชญา อักษรศาสตร์ ศิลปะ การแพทย์ ดาราศาสตร์อยางรวดเร็ว
สงครามเพลโลดฑนีเซียน เกิดจากการที่นครรัฐสปาร์ตาซึ่งเป็นรัฐทหารไม่พอใจต่อความรุ่งเรืองของนครรัฐเอเธนส์ จึงร่วมมือกับรัฐน้อยใหญ่เข้าโจมตีนครรัฐเอเธนส์เพื่อชิงความเป็นผู้นำของนครรัฐต่างๆ ผลที่ตามคือความหายนะของนครรัฐกรีกทั้งหมด
การมีอำนาจของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์แห่งรัฐมาซิโเนียก่อนนครรัฐกรีกเสื่อม ยุคนี้กรีกสามารถขยายดินแดนครอบคลุทเอเชียไมเนอร์เปอร์เซียอียิปต์และอินเดียในยุคนี้ศิลปะวัฒนธรรมกรีกขึ้นที่เมืองอเลกซานเดียในอาณาจักรอียิปต์ด้วย
ชาวกรีกนิยมสร้างวิหารนเนินดินหรือภูเขาเล็กๆเรียกว่า อะโครโพลิส วิหารสำคัญคือวิหารพาร์เธนอน สำหรับประดิษฐ์รูปเคารพของเทพีอะเธนา ลักาณะเด่นคือด้านนอกใช้เสาแบบคอริก ด้านในใช้เสาปบบไอโอนิก
ชาวกรีกเชื่อในเทพเจ้าหลายองค์แต่เทพเจ้ากรีกมีอารมณืความรู้สึกเช่นเดียวกับมนุษย์ พวกเขาเชื่อว่าเทพเจ้าทั้งหมดประทับอยู่บนยอดเขาโอลิมปัส มีเทพเจ้าซุสหรือเซอุส เป็นประมุข
ชาวอีทรัสกันตั้งชุมชนบริเวณที่ตั้งของชาวกรุงโรมก่อนชาวละติน บริเวณกรุงโรมเป็นที่ตั้งชุมชนของชาวอีทรัสกน เมื่อชาวอีทรัสกันอพยพเข้ามายังคาบสมุทรอินเดียวแล้วได้นำอารยธรรมชาวกรีกเข้ามาด้วย ชาวละตินขับไล่กษัตริย์ชาวอีทรัสกนแล้วปกครองแบบสาธารณรัฐ ขึ้นอำนาจการปกครองสาธารณรัฐโรมันในมือของชนชั้นสูงคือพวกแพทริเซียน
การเปลี่ยนแปลงการหครองของอาณาจักรโรมันจากระบอบสาธารณรัฐเป็นระบอบกษัตริย์ ระหวางปี 133-130 ก่อนคริสศักราช ชนชั้นปกครองและฝ่ายทหารได้แยงชิงอกนาจกันเอง ปีที่ 31 ก่อนคริสตศักราช ออกเทเวียนแม่ทัพสำคัญหลายชายของจูเลียสซีซาร์มีอำนาจทางทหาร ส่งผลให้เขาสามารถปราบปรามมาร์ก แอนโธนี ทำให้โรมเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบสาธารณรัฐเป็นระบอบจักรวรรดิแทน ออกเทเวียนทรงเป็นจักรพรรดิองค์แรก มีสมญานามว่าออกัสตัส ส่งผลใหมีการขยายดินแดนและอารยธรรมออกไปอย่างกว้างขวาง..http://kunanyazii.blogspot.com/2011/02/3.html
วันเสาร์ที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2561
วันพฤหัสบดีที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2561
lIiad, Odyssey
อิเลียด หรือมหากาพย์สงครามกรุงทรอย เป็นกวีนิพนธ์เล่าเรื่อง จากการบันทึกเป็นลายลักษณ์ของกวีตาบอดนาม โฮเมอร์ เล่ากันว่ากำเนิดของเทพปกรฌัมกรีกในรูปแบบการเขียน เร่ิมต้นทีโฮเมอร์ เขียนถึงอิเลียดเล่าถึงเหตุการณ์ช่วงสุดท้ายของสงครามกรุงทรอย เมื่อภัยพิบัติจากเทพเจ้ายุติลงพร้อมกับการแตกคอของแม่ทัพฝ่ายกรีก อะกาเมมนอน กับอะคิลลีส ทำให้สถานการณ์พลิกผัน การรบอันดุเดือดยังดำเนินต่อไป
อิเลียด มีอีกชื่อหนึ่งว่า "ลำนำแห่งอิเลียน" ในภาษากรีก หรือ "ลำนำแห่งอิเลียม" ในภาษาละติน ซึ่ง "อิเลียน" หรือ "อิเลียม" เป็นอีกชื่อหนึ่งที่นิยมเรียกชาวเมืองทรอย นอกจาก ชาวโทรจัน
อิเลียนด อาจเป็นชื่อเรียกที่คนสนใจวรรณกรรมรู้จักเป็นอย่างดีในฐานะวรรณกรรมสำคัญแห่งยุคอารยธรรมคลาสสิค (อารยธรรมกรีก โรมัน) แต่สำหรับบุคคลทั่วไปอาจไม่คุ้นหูนักแต่แน่นอนว่าพวกเขาต้องเคยได้ยินตำนานสงครามกรุงทรอยหรือเฮเลนแห่งทรอยแย่างแน่นอน สองเรื่องเล่านี้คือเรื่องเดียวกัน แต่ขอบเขตของอิเลียดจะเน้นอยู่ที่ช่วงสุดท้ายของสงครามมากกว่าจะเล่าภาพรวมทัี้งหมดของสงคราม เหตุเกิดสงครามในอิเลียตกล่าวถึงการตัดสินใจของปารีส เพียงสั้นๆ และเหตุการณ์ม้าไม้เมืองทรอย อันเป้นจุดสิ้นสุดของสงครามอ่างแท้จริงได้อล่าวถึงไว้ในโอดิสซี มหากาพย์อีกเรื่องของโอเมอร์
เหตุของสงครามกรุงทรอยว่ากันว่ามาจากการที่ปารีส เจ้าชายแห่งเมืองทรอยลักพาตัว เอเลนแห่งสปาร์ตา ภรรยาของกษัตรยิืเมเนลัสแห่งสปาร์ตา มาเป็นหยิงงามคู่ใจตน ทำให้เหล่าวีรบุรุษกรีกต้องรวมตัวกันเพื่อชิงตัวเฮเลนกลบคืนมาแต่สาเหตุแท้จริงของสงครามครั้งนี้เกิดจากความขัดแย้งของทวยเทพมากว่ามนุษย์เสียอีก
เมื่อ เอรีส เทพีแห่งความขัดแย้งไม่ได้รับเชิญไปงานแต่างงานของพ่อแม่อะคิลลีส ด้วความโกรธเธอจึงโยแอปเปิลสีทองสลักว่า "แด่ผุ้ที่งดงามที่สุด" ไปกลางงาน บรรดาเทพีต่างแย่งชิงที่จะเป็นผุ้งดงามที่สุด สุดท้ายจึงเหลือเทพีเข้าชิงเพียง เฮร่า อธีนา่ และ อโฟรไดที เทพีทั้งสามไปขอให ซุส ตัดสิน ทว่า ซุสบ่ายเบียงให้เจ้าขายปารีสแห่งเมืองทรอยตัดสินแทน แน่นอนว่าเทพีท้งสามต่างติดสินบนปารีสด้วยของเสนอต่างๆ สุดท้ายข้อเสนอของอโฟรไดทีต้องใจปารีสมากที่สุด ข้อเสนอที่ว่าจะได้หญิงที่งามที่สุดในโลกเปนภรรยา จากข้อเสนอนั้นทำให้ปารีสชิงตัวเฮเลนได้สำเร็จด้วยความช่วยเหลือจาอโฟไดที
อย่างที่รู้กันว่าจุดจบของกรุทรอยอยุ่ที่บรรดาทหารกรีกออกอุบายส่งม้าไม้บรรณาการแก่พวกทรอย ในม้าไม้ขนาดยักษ์น้นเต็มไปด้วยทหารกรีกที่พร้อมโจมตีกรุงทรอยให้พินาศย่อยยับ แต่ในความเป็นจริงแล้วเนื่องเรื่องสิ้นสุดลงที่ศพของ เฮกเตอร์ วีรบุรุษฝ่ายทรอยได้รับการฝังตามธรรมเนียม
รายละเอียดกลศึกม้าไม้เมืองทรอยที่เลื่องลือนั้น ปรากฎรายละเอียดใน โอดีสซี ที่เล่ากถึงการเดินทางกลับบ้านของวีรบุุษโอดิสซีหลังจากที่ฝ่ายกรีกตีกรุงทรอยล่มสลาย รวมถึงเล่อย่างละเอียดไว้ใน เอเนียด มหากาพยตำนานการอพยพของชาวโทรจันมาตั้งถ่ินฐานใหม่ท่คาบสมุทรอิตาลี
อิเลียด เป็นเรื่องเล่าเก่าแก่ ที่ไม่มีวันตาย คำศัพท์หลายคำใน ดิกชันนารี มาจากเรื่องเล่านี อาทิ Trojan Horse หมายถึงเล่ห์กลแผงในส่ิงที่ดุไม่เป็นอัตราย หรือ Achills' heel หมายถึง จุดอ่อนหรือจุดตาย นอกจากนี้ยังถุกนำมาดัดแปลงเป็นภาพยนตร์อย่าง ทรอย (2004)
http://readerycafe.com/posts/391
โอดีสซ๊ย์ เป็นบทประพันธ์มหากาพย์กรีกโบราณ หนึ่งในสองเรื่องโฮเมอร์ คาดว่าประพันธ์ขึ้นในราว 800 ปีก่อนคริสตกาล ที่แค้วนไอโอเนีย ดินแดนชายทะเลฝั่งตะวันตกของตุรกีซึ่งอยู่ในอาณัติของกรีก บทกวีเล่าเรื่องราวต่อจากอีเลียดว่า ด้วยการเดินทาวกลับบ้านที่อะาคาของวีรบุรุษกรีกชื่อ โอดิซุส (หรือยูลิซิส ตามตำนานโรมัน ) หลังจากการล่มสลายของทรอย
โอดิซูสใช้เวบลาเดินทางกลับบ้านนานถึง 10 ปี หลังจากที่ใช้เวลาไปในศึกเมืองทรอยแล้วถึง 10 ปี ระหว่างเวลาเหล่านั้น เทเลมาคัย บุตของเข้า และพีเนโลปผุ้ภรรยา ต้องต่อสู้กับกฃุ่มคนพาลที่พยายามจะของวิวาห์กับพิเนโลป เพราะต่างคิดว่าโอดิซูสเสียชีวิตแล้ว
บทกวีชุดนี้เป็นรากฐานสำคัญต่องานวรรณกรรมตะวันตกยุคใหม่เรียกได้ว่าเป้ฯอันดับสองรองจากอีเลียอ มีการศึกษาและแปลออกเป็นภาษาต่างๆ มากมายทั้งโลก เชื่อว่าบทกวีเร่ิมแรกประพันธ์ขึ้นในลักาณะวรรกรรมมุขปาฐะ เืพ่อาการขับร้องลำนำของเล่านักดนตรีมากว่าเพื่อการอ่าน ใช้ฉันทลักา์แบบ dactylic hexameterประกอบด้วยบทกวี 12.110 บรรทัด...th.wikipedia.org/wiki/โอดิสซีย์
อิเลียด มีอีกชื่อหนึ่งว่า "ลำนำแห่งอิเลียน" ในภาษากรีก หรือ "ลำนำแห่งอิเลียม" ในภาษาละติน ซึ่ง "อิเลียน" หรือ "อิเลียม" เป็นอีกชื่อหนึ่งที่นิยมเรียกชาวเมืองทรอย นอกจาก ชาวโทรจัน
อิเลียนด อาจเป็นชื่อเรียกที่คนสนใจวรรณกรรมรู้จักเป็นอย่างดีในฐานะวรรณกรรมสำคัญแห่งยุคอารยธรรมคลาสสิค (อารยธรรมกรีก โรมัน) แต่สำหรับบุคคลทั่วไปอาจไม่คุ้นหูนักแต่แน่นอนว่าพวกเขาต้องเคยได้ยินตำนานสงครามกรุงทรอยหรือเฮเลนแห่งทรอยแย่างแน่นอน สองเรื่องเล่านี้คือเรื่องเดียวกัน แต่ขอบเขตของอิเลียดจะเน้นอยู่ที่ช่วงสุดท้ายของสงครามมากกว่าจะเล่าภาพรวมทัี้งหมดของสงคราม เหตุเกิดสงครามในอิเลียตกล่าวถึงการตัดสินใจของปารีส เพียงสั้นๆ และเหตุการณ์ม้าไม้เมืองทรอย อันเป้นจุดสิ้นสุดของสงครามอ่างแท้จริงได้อล่าวถึงไว้ในโอดิสซี มหากาพย์อีกเรื่องของโอเมอร์
เหตุของสงครามกรุงทรอยว่ากันว่ามาจากการที่ปารีส เจ้าชายแห่งเมืองทรอยลักพาตัว เอเลนแห่งสปาร์ตา ภรรยาของกษัตรยิืเมเนลัสแห่งสปาร์ตา มาเป็นหยิงงามคู่ใจตน ทำให้เหล่าวีรบุรุษกรีกต้องรวมตัวกันเพื่อชิงตัวเฮเลนกลบคืนมาแต่สาเหตุแท้จริงของสงครามครั้งนี้เกิดจากความขัดแย้งของทวยเทพมากว่ามนุษย์เสียอีก
เมื่อ เอรีส เทพีแห่งความขัดแย้งไม่ได้รับเชิญไปงานแต่างงานของพ่อแม่อะคิลลีส ด้วความโกรธเธอจึงโยแอปเปิลสีทองสลักว่า "แด่ผุ้ที่งดงามที่สุด" ไปกลางงาน บรรดาเทพีต่างแย่งชิงที่จะเป็นผุ้งดงามที่สุด สุดท้ายจึงเหลือเทพีเข้าชิงเพียง เฮร่า อธีนา่ และ อโฟรไดที เทพีทั้งสามไปขอให ซุส ตัดสิน ทว่า ซุสบ่ายเบียงให้เจ้าขายปารีสแห่งเมืองทรอยตัดสินแทน แน่นอนว่าเทพีท้งสามต่างติดสินบนปารีสด้วยของเสนอต่างๆ สุดท้ายข้อเสนอของอโฟรไดทีต้องใจปารีสมากที่สุด ข้อเสนอที่ว่าจะได้หญิงที่งามที่สุดในโลกเปนภรรยา จากข้อเสนอนั้นทำให้ปารีสชิงตัวเฮเลนได้สำเร็จด้วยความช่วยเหลือจาอโฟไดที
อย่างที่รู้กันว่าจุดจบของกรุทรอยอยุ่ที่บรรดาทหารกรีกออกอุบายส่งม้าไม้บรรณาการแก่พวกทรอย ในม้าไม้ขนาดยักษ์น้นเต็มไปด้วยทหารกรีกที่พร้อมโจมตีกรุงทรอยให้พินาศย่อยยับ แต่ในความเป็นจริงแล้วเนื่องเรื่องสิ้นสุดลงที่ศพของ เฮกเตอร์ วีรบุรุษฝ่ายทรอยได้รับการฝังตามธรรมเนียม
รายละเอียดกลศึกม้าไม้เมืองทรอยที่เลื่องลือนั้น ปรากฎรายละเอียดใน โอดีสซี ที่เล่ากถึงการเดินทางกลับบ้านของวีรบุุษโอดิสซีหลังจากที่ฝ่ายกรีกตีกรุงทรอยล่มสลาย รวมถึงเล่อย่างละเอียดไว้ใน เอเนียด มหากาพยตำนานการอพยพของชาวโทรจันมาตั้งถ่ินฐานใหม่ท่คาบสมุทรอิตาลี
อิเลียด เป็นเรื่องเล่าเก่าแก่ ที่ไม่มีวันตาย คำศัพท์หลายคำใน ดิกชันนารี มาจากเรื่องเล่านี อาทิ Trojan Horse หมายถึงเล่ห์กลแผงในส่ิงที่ดุไม่เป็นอัตราย หรือ Achills' heel หมายถึง จุดอ่อนหรือจุดตาย นอกจากนี้ยังถุกนำมาดัดแปลงเป็นภาพยนตร์อย่าง ทรอย (2004)
http://readerycafe.com/posts/391
โอดีสซ๊ย์ เป็นบทประพันธ์มหากาพย์กรีกโบราณ หนึ่งในสองเรื่องโฮเมอร์ คาดว่าประพันธ์ขึ้นในราว 800 ปีก่อนคริสตกาล ที่แค้วนไอโอเนีย ดินแดนชายทะเลฝั่งตะวันตกของตุรกีซึ่งอยู่ในอาณัติของกรีก บทกวีเล่าเรื่องราวต่อจากอีเลียดว่า ด้วยการเดินทาวกลับบ้านที่อะาคาของวีรบุรุษกรีกชื่อ โอดิซุส (หรือยูลิซิส ตามตำนานโรมัน ) หลังจากการล่มสลายของทรอย
โอดิซูสใช้เวบลาเดินทางกลับบ้านนานถึง 10 ปี หลังจากที่ใช้เวลาไปในศึกเมืองทรอยแล้วถึง 10 ปี ระหว่างเวลาเหล่านั้น เทเลมาคัย บุตของเข้า และพีเนโลปผุ้ภรรยา ต้องต่อสู้กับกฃุ่มคนพาลที่พยายามจะของวิวาห์กับพิเนโลป เพราะต่างคิดว่าโอดิซูสเสียชีวิตแล้ว
บทกวีชุดนี้เป็นรากฐานสำคัญต่องานวรรณกรรมตะวันตกยุคใหม่เรียกได้ว่าเป้ฯอันดับสองรองจากอีเลียอ มีการศึกษาและแปลออกเป็นภาษาต่างๆ มากมายทั้งโลก เชื่อว่าบทกวีเร่ิมแรกประพันธ์ขึ้นในลักาณะวรรกรรมมุขปาฐะ เืพ่อาการขับร้องลำนำของเล่านักดนตรีมากว่าเพื่อการอ่าน ใช้ฉันทลักา์แบบ dactylic hexameterประกอบด้วยบทกวี 12.110 บรรทัด...th.wikipedia.org/wiki/โอดิสซีย์
Mythology (Dionysus)
ไดอะไนซัส เป็นเทพเจ้าแห่งการเก็บเกี่ยวองุ่น การทำไวน์และไวน์ ความบ้าคลั่งทางพิธีกรรม
และปิติศานติ์ ในเทพปกรฌัมกรีก
พระนามของพระองค์ในแผ่นจารึกอักษรไลเนียร์บี แสดงว่าชาวกรีกไม่ซีเนียนอาจมีการบูชาพระองค์ตั้งแต่ประมาณ 1500-1100 ปีก่อนคริสตกาล ร่องรอยลัทธิประเภทไดอะไนเซียพบได้ในปารยธรรมไม่นวนบนเกาะครีต จุดกำเนิดของพระองค์ไม่แน่ชัด และลัทธิของพระองค์มีกลายรูปแบบ แหล่งข้อมูลโบราณบางแหล่งอธิบายว่าเป็นขอวชาวเทรซ บางแหล่งก็อธิบายว่าเป็นของชาวกรีก ในบางลัทธิพระอค์มาจากทางตะวันออกโดยเป็นเรพะจ้าเอเชีย ในลัทธิอืนพระองค์มาจากเอธิโอเปียทางใต้
พระองค์เป็นเทพเจ้าแห่งการสำแดงอย่างเทพเจ้า และ "ความเป็นต่างประเทศ" ของพระองค์ที่เป็นพระเจ้าที่มาจากต่างแดนอาจสืบทอดและสำคัญต่อลัทธิขอพระองค์
พระองคเป็นพระเจ้าหลักและได้รับความนิยมในเทพปกรฌัมและศาสนากรีก และรวมอยู่ในรายพระนามเทวสภาโอลิปัสบ้าง ไดอะไนซัสเป็นพระเจ้าพระองค์สุดท้ายที่ได้รับการยอมรับเช้าสู่ยอดเขาโอลิมปัส พระองค์เป็นพระเจ้าองค์ที่มีพระชามายุ้อยที่่สุดและเป็นพรองค์เีดยวที่ประสูติแก่มารดาที่เป็นมนุษย์ เทศกาลของพระองค์เป้นแรงผลักดันเบื้องหลังการพัฒนาการละครกรีก พระองค์เป็ตัวอย่าของพระเจ้าที่กำลังสวรรคต (dying god)
พระองค์มีอีกพระนามหนึ่งว่า แบคัส ซึ่งเป็นพระนามที่ชาวโรมันรับไป ช่อกระจุกแยกแขนง ของพรองค์บางครั้งมีถาไม้เลื้อยพันและมีน้ำฝึ้งไหลเป็นหยด ซึ่งเป้นไม้ถือที่มีประดยชน์ แต่ัยังเป็นอาวุธได้ด้วย และสามารถใช้ทำลายผุ้ที่ต่อต้านลัทธิของพระองค์และเสรีภาพซึ่งพระองค์เป้นตัวแทน พระองค์ยังทรงถุกเรียกว่ ผุ้ปลดปล่อย ที่ปลดปล่อยส่วนลึกของตนเองโดยทำให้คลั่ง หรือให้มีความสุขอย่างล้นเหลือหรือด้วยเหล้าองุ่น นักวิชาการถกเถียงกันเรื่องความสัมพันะ์ระหว่างไดอะไนซัสกับ "คตินิยมเกี่ยวกับวิญญาณ" และความสามารถในการติดต่อระหว่าผุ้ยังมีชีวิตอยู่และผุ้ที่ตายไปhttps://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%99%E0%B8%8B%E0%B8%B1%E0%B8%AA
แล้ว...
แบกดัส รหือ ไดโอนีซัส ตามชื่อกรีก ำด้รับการยกย่องเป็นเทพองค์หนึ่งในคณะเทพโอลิมเปียน และเป็นที่นับถือของชนทั้งหลายในฐานะเทพผุ้พบและครองผลองุ่น ต่อมาเป็นเทพครองน้ำองุ่นตลอดจรความเมาเนื่องจากการดื่มน้ำองุ่นด้วย
ไดโอนิซัส เป็นบุตรของซุส กับนาง สีมิลี ธดาของแคดมัสผุ้สร้างเมืองธีบส์ กับนางเฮาร์ไม่โอนี การกำเนิดของเทพไดโอนิซัสนับว่าน่าสงสารทีเดียว เหตุเพราะความหึงหวงของเจ้ามแ่ฮีร่า กล่าวคือ เมื่อเทพซุส ไปเกิดมีความปฎิพัทธ์พิศวาสนางสีมิลี จึงได้จำแลงองค์เป็นมานพลงมาแทะโลมและสมสู่ด้วย ถึง แม้ว่านางจะได้รับแต่คำบอกเล่าของมานพ โดยไม่มีอะไรพิสูจน์ว่ามานพนั้นคือเทพไท้ซุส นางก็พอใจและปิติยินดีไม่ติดใจ สงสัยอันใด ไม่ช้าเรื่องพิศวาสระหว่างซุสกับนางสีมิลีก็แพร่งพรายไปถึงเจาแม่ฮีร่าผุ้หึงหวง เจ้าแม่มุงมั่นจะให้เรื่องนี้ ยุติทันที จึคงจำแลงองค์เป็นนางพี่เลี้ยงแ่ของสีมิลีเข้าไปในห้องของนาง และชวนคุย พอได้มีโอกาสก็ซักเรื่องเกี่ยวโยงไปถึง เรื่องความรักของนาง และออกอุบายให้นางหลงเชื้อเกี่ยวกับ
ประวัติอันนาสงสัยของมานพผุ้นั้นว่าจะเป็นซุสจำแลงมจริงหรือไม่ โดยให้มานพน้้นปรากฎกายให้เห็นในลักษณะของเทพเจ้า ซึ่งนางสิมีลีก็หลงเชื่อในที่สุดและตกลงใจที่จะกระทำตามที่พี่เลี้ยงแก่แนะนำ เมื่อซุสเสด็จลงมาอีก นางสีมิลีจึงหว่านล้อมให้ไท้เธอสาบาน โดยอ้างแม่น้ำสติกซ์เป็นทิพยพยานว่าไท้เธอจะโปรด ประทานฉันทานุมัติตามคำขอของนางประการหนึ่ง ครั้นไท้เธอสาบานแล้วนางก็ทูลความประสงค์ของนางให้ทราบ ซุสถึงกับตกตะลึงดวยคิดไม่ถึงว่านางจะทูลของในข้อฉกรรจ์ถึงเพียงนี้ ไท้เธอตระหนักดีว่า ถ้าไท้เธอสำแดงองค์ให้ปรากฎตามจริง ก็จะทำให้นางสีมิลีผุ้เป็นปุถุชนไม่อาจมีชีวิตได้ แต่อย่างไรก็ดี ซุสก็มีพันธะที่จะต้องปกิบัติตามสาบานอย่าง เคร่งครัด ไม่มีทางจะบ่ายเบี่ยงได้ ด้วยการละเมิดคำสาบานซึ่งอ้างแม่น้ำสติกซ์อันศักดิ์สิทธิ์เป้ฯทิพยพยานนั้นย่อมบังเกิดผล ร้ายกับเทพผุ้สาบานทุกองค์เหมือนกันหมด ไม่มีข้อยกเว้น แม้แต่กับซุสเอง ซุสเนนรมิตองค์ฝให้ปรากฎ
ตามลักษณะประกอบด้วยทิพยาภิสังขารอันเป็นจริง พอนางสีมิลีได้เห็นภาพของซุส ด้วยตาอันพร่าพราว นางก็ถึงแ่ล้มกลิ้งด้วยไม่อาจทนต่อทิพยอำนาจของซุสได้ และในชั่วพริบตาก็บังเกิดไฟลุกขึ้นเผา ผลาญนางให้วอดวายหลายเป็นจุณไป ในขณะนั้นนางสีมิลีทรงครรภ์อยู่ แม้ซุสไม่อาจช่วยชีวิตของนางไว้ได้ แต่ก็ยังสามารถ ช่วยบุตรได้ซุสฉวยทารกออกจากไฟ ไว้ในต้นชานุมณฑ,ของของไท้เธอเอง ทารกคงอยุ่ในที่นั้นต่อจากที่ได้อยู่ในครรภ์ มารดามาแล้ว จนครบกำหนดคลอด ซส จึงเอาทารกออก มอบให้นางอัปสรพวกหนึ่งเรียกว่า ไนสยาดีส เป็นผุ้อนุบาล นางอัปสรพวกนี้เอาใจใส่อนุบาลทารกอย่างทุนุถนอมเป็น อย่างดี ซุสจึงโปรดเนรมิตให้กลายเป็นหลุ่มดาวหน่ง เรียกว่า ไฮยาดีส ส่วนทารกน้อยผุ้ที่ถุกนางอัปสรเลี้ยงดุ มีชื่อว่าไดโอนิซัส หรือแบกดัส นั้น แม้ว่ากำเนิดแม้จริงของไดโอนิซัสจะเ็นกึ่งมุษย์กึ่งเทพ แต่ก็ได้รับการยอมรับให้เป็นเทพอย่าง สมบุรณื มีความเป้นอมฤตภาพเช่นเีดยวกับเหล่าเทพสภาพอื่นๆ บนสวรรค์ชั้นโอลิมปัส แต่ไดโอนิซัสรักที่จะ เดินทางท่องเที่ยวไปบนผืนดินอันกว้างขวางมากกว่า ไปทางไหน ก็นำความชุ่มชื้นแห้งสุราเมรัยติดไปด้วย คนที่มองเห็นคุณความดีของเะอพาอันเคารพนับถือ ส่วนคนที่ดูถูกเหยียดหยามมักถูกลงโทษ ในฐานะที่เพี่ง จะดำรงตำแหน่งเทพ ไดโอนิซัสไม่ปรสบความสำเร็จในการทำให้ คนนับถือสักเท่าใดนักครั้นเวลาผ่านไป และคุณกับโทษของเธอเป็นที่ประจักษ์ชัดขึ้นมนุษย์ ส่วนใหย๋จึงพากันเคารพนับถือ และสร้างวิหารถวายแด่เมรัยเทพเป็นการใหญ่
ไดโอนิซัส ทำให้พื้ดิสะพรั่งไปด้วยวุ่นรสเลิศทีรงคุรปรธยชน์มากหลา ทำให้ผุ้คนอิ่มหนำ แมละชื่นบาน แต่มีลหายครั้งที่ไดโอนิซัสทำคนหลายเป็นวิกลจริตอย่างน่าสมเพช ในจำนวนนี้มีสตรีกลุ่ม หนึ่งซึ่งเรียกว่า เมนาดส์ ซึ่งถูกพิษของเมรัย ทำให้เป็นบ้าหมดสติไปทุกคน ต่างกระโด โลดเต้นร้องรำทำเพลงไปตามป่าเขชาลำเนาไพร อย่างขาดสติ บางครั้งก็มาห้อมล้อมติดสอยห้อยตามไดโอนิซัส ไปด้วย ต่อมาในยุคโรมันเมื่อไดโอนิซัสได้รับชือเป้ฯภาษาละติน แบกคัส คณะนนางสติไม่ สมบุรณ์เหล่าสติรีก็ไม่รับชื่อใหม่ว่า แบกคันทัส จึงออกจะเป้นภาพที่ประหลาดมากที่ชาย หนุ่มรูปางามคนหนึ่งจะเดินทางไปไหนๆ โดยแวดล้อมด้วยผุ้หญิงบ้า
เรื่องราวความรักของไดโอนิซัสก็มีล้าง แต่เป็นรักที่ลงเอยด้สวยความเศร้าสลด คือเธอไปพบ
และช่วยเหลือนาง อาริแอดนี ธิดาเจ้ากรุงครีตไว้ได้ อารีแอดนี ะิดาของท้ยช้าวาว ไมนอส แห่งนครครีต ซึ่งเลี้ยงอสูรร้ายชื่อ มอโนทอร์เอาไว้ใต้ดิน เมือ่วิรีบุรุษ ธีลิอัสเดินทางไปครีตเื่อเป็นเหยื่อแก่มิดนทอร์ นวลอนงค์ ก็เกิดมีใจปฎฎพัทธ์กับเจ้าชราย หนุ่ม จึงหาทางช่วยเลหือและพาหนีออกาเกาะครตได้สำเร็จ แต่ทว่านางถูกทอดท้องไว้เดียวดายบนเกาะร้างแห่งหนึ่ง ไดโอนิซัส ไปพบเข้าจึงเกิดความสงารและรักนาง แต่รักได้ไม่นาน อารีแอดนี้ก็ตายลง ไดโอนิซัสสุดเสียใจนัก จึงไม่มีรักใหม่อีกเลย ตัวของไดโอนิซัสเองก็มีชีวิตแสนเศร้าพอๆ กับรักของเธอเอง ใดรคิดบ้างว่า เทพที่มีกายเป็นอมฤตภาพก็มีโอกาสตายได้เช่นกัน นักกวีขาวกรีกโบราณเขาเขียนขึ้นตามความเป็นจริงของต้นองุ่น
กล่าวคื อเมื่อถึงฤดุเกฐอุง่นชาวบ้านจะฟันเอากิ่งที่มีองุ่นติดเต็มไปหมด เหลือว้แต่จต้นโดดเดียว มองดุแล้วน่า สะพรึงกลัว เพราะมีแต่ลำต้นลุ่นๆ ปราศจากก่ิงก้านสาขา แต่ไม่นานเมื่อเวลาผ่านไป ต้นองุ่นก็ค่อยๆ ฟื้นตัวกลับแตกแยก ก่ิงก้านและใบสวยงาม ต่อจากนั้นก็ผลิดอกออกผลของมัน แต่ไม่นานาหนัก เทพไดโอนิซัสก็จับฟื้นคืนชีพขึ้นมาใหม่ ก็ ในเวลาที่เธอฟื้นจากความตายนี้แหละ ที่ใครๆ ทั้ง
เทวดาและมนุษย์ต่างก็ชื่นชมยินดี และจัดงานรื่นเร่ิงฉลองรับขวัญกัน เอิกเกริก และจาการตายนี้เองไดโอนิซัสได้ช่วยเหลือมารดาที่เธอไม่เคยเห็นหน้ามาก่อนจากหัตถ์ของยมเทพ และนำ ขึ้นสถิตอยุ่บนสวรรค์ชั้นโอลิมปัสได้อย่างปลอดภัย
เรื่องมันมีอยุ๋ว่า... เทพไดโอนิซัส ได้ติดตาหามารดาในปรโลกเมื่อพบเแล้้วเธอก็ของนางคืน มาจากยมเทพฮาเดส แต่มัจจุราชไม่ยินยอม จนเกิดการโต้เถียงกันว่าใครจะเหนือกว่าใคร ไดโอนิซัส บอกคำเดียวว่า ตนนั้นเหนือกว่ามัจจุราช เพราะเธอสามารถตายแล้วคืนชีพได้อีก ไม่เคยมีเทพองค์ใดกระทำได้อย่างเธอเลยเทพฮาเดสเห็นจริงตามนั้น ก็ยอมมอบนางสิมิลีให้บุตรชายพาออกจากแดนบาดาลไป เทพไดฮนิซัสจึงพามารดาขึ้นสวรรค์บนโอลิมปัส ที่นั้นเหล่าเทพ น้อยใหญ่ต่างต้นรับนางสิมิลีเป็นอย่างดี โดยที่นางเป็นอมตคนเดียว ที่อยุ่ทมกลางอมตเทพ ทั้งปวง และฮีร่าเทวีก็ทำอะไรมิได้อีก
ไดโอนิซัส หรือ ไดโอนอส หรือ แบคชัส ในเทพนิยายกรีกและดรมัน นอกจากถือว่าเป็นเทพเจ้าแหงไวน์แล้ว ยังรวมถึงเทพผุ้นำความเจริญะารยธรรม ผุ้สร้างกฎระเบียบและผุ้รักสันติ และรวมทั้งความอดมสมบูรณ์ทางการเกษตร และเรือยอไถึงการละคร
ในตำนานกรีก บ้างก็ว่า ไดโอนิซัส เป็นบุตรของเทพ ซุส และนาง สิมีลี บ้างก็ว่าเป็นบุตรแห่ง ซุส และเพอร์เซบโพนี่ วัวตัวผุ้ งูใหญ่ ต้นไอวี่และไวน์ถูกนำมาเป็นสัญลักษณ์แห่งเทพ และนอกจากนี้มักจะออกมาในภาพของเทพผุ้ขี่เสือดาว เป็นพาหนุ สวนใส่อาภรณ์หนัะงเสือดาว หรือในภาพของเทพผุ้รงราชรถ ที่ชักลากโดยเสือดำ ในบางแห่งขนานนามเทพผุ้นี้ในนาม เทพแห่งเล่าหญิงเลวและคนป่าเถือน ก็มี..
sites.google.com/site/chattarikajomfoo/xarythrrm-krik-boran/6-theph-pkrnam-krik
และปิติศานติ์ ในเทพปกรฌัมกรีก
พระนามของพระองค์ในแผ่นจารึกอักษรไลเนียร์บี แสดงว่าชาวกรีกไม่ซีเนียนอาจมีการบูชาพระองค์ตั้งแต่ประมาณ 1500-1100 ปีก่อนคริสตกาล ร่องรอยลัทธิประเภทไดอะไนเซียพบได้ในปารยธรรมไม่นวนบนเกาะครีต จุดกำเนิดของพระองค์ไม่แน่ชัด และลัทธิของพระองค์มีกลายรูปแบบ แหล่งข้อมูลโบราณบางแหล่งอธิบายว่าเป็นขอวชาวเทรซ บางแหล่งก็อธิบายว่าเป็นของชาวกรีก ในบางลัทธิพระอค์มาจากทางตะวันออกโดยเป็นเรพะจ้าเอเชีย ในลัทธิอืนพระองค์มาจากเอธิโอเปียทางใต้
พระองค์เป็นเทพเจ้าแห่งการสำแดงอย่างเทพเจ้า และ "ความเป็นต่างประเทศ" ของพระองค์ที่เป็นพระเจ้าที่มาจากต่างแดนอาจสืบทอดและสำคัญต่อลัทธิขอพระองค์
พระองคเป็นพระเจ้าหลักและได้รับความนิยมในเทพปกรฌัมและศาสนากรีก และรวมอยู่ในรายพระนามเทวสภาโอลิปัสบ้าง ไดอะไนซัสเป็นพระเจ้าพระองค์สุดท้ายที่ได้รับการยอมรับเช้าสู่ยอดเขาโอลิมปัส พระองค์เป็นพระเจ้าองค์ที่มีพระชามายุ้อยที่่สุดและเป็นพรองค์เีดยวที่ประสูติแก่มารดาที่เป็นมนุษย์ เทศกาลของพระองค์เป้นแรงผลักดันเบื้องหลังการพัฒนาการละครกรีก พระองค์เป็ตัวอย่าของพระเจ้าที่กำลังสวรรคต (dying god)
พระองค์มีอีกพระนามหนึ่งว่า แบคัส ซึ่งเป็นพระนามที่ชาวโรมันรับไป ช่อกระจุกแยกแขนง ของพรองค์บางครั้งมีถาไม้เลื้อยพันและมีน้ำฝึ้งไหลเป็นหยด ซึ่งเป้นไม้ถือที่มีประดยชน์ แต่ัยังเป็นอาวุธได้ด้วย และสามารถใช้ทำลายผุ้ที่ต่อต้านลัทธิของพระองค์และเสรีภาพซึ่งพระองค์เป้นตัวแทน พระองค์ยังทรงถุกเรียกว่ ผุ้ปลดปล่อย ที่ปลดปล่อยส่วนลึกของตนเองโดยทำให้คลั่ง หรือให้มีความสุขอย่างล้นเหลือหรือด้วยเหล้าองุ่น นักวิชาการถกเถียงกันเรื่องความสัมพันะ์ระหว่างไดอะไนซัสกับ "คตินิยมเกี่ยวกับวิญญาณ" และความสามารถในการติดต่อระหว่าผุ้ยังมีชีวิตอยู่และผุ้ที่ตายไปhttps://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%99%E0%B8%8B%E0%B8%B1%E0%B8%AA
แล้ว...
แบกดัส รหือ ไดโอนีซัส ตามชื่อกรีก ำด้รับการยกย่องเป็นเทพองค์หนึ่งในคณะเทพโอลิมเปียน และเป็นที่นับถือของชนทั้งหลายในฐานะเทพผุ้พบและครองผลองุ่น ต่อมาเป็นเทพครองน้ำองุ่นตลอดจรความเมาเนื่องจากการดื่มน้ำองุ่นด้วย
ไดโอนิซัส เป็นบุตรของซุส กับนาง สีมิลี ธดาของแคดมัสผุ้สร้างเมืองธีบส์ กับนางเฮาร์ไม่โอนี การกำเนิดของเทพไดโอนิซัสนับว่าน่าสงสารทีเดียว เหตุเพราะความหึงหวงของเจ้ามแ่ฮีร่า กล่าวคือ เมื่อเทพซุส ไปเกิดมีความปฎิพัทธ์พิศวาสนางสีมิลี จึงได้จำแลงองค์เป็นมานพลงมาแทะโลมและสมสู่ด้วย ถึง แม้ว่านางจะได้รับแต่คำบอกเล่าของมานพ โดยไม่มีอะไรพิสูจน์ว่ามานพนั้นคือเทพไท้ซุส นางก็พอใจและปิติยินดีไม่ติดใจ สงสัยอันใด ไม่ช้าเรื่องพิศวาสระหว่างซุสกับนางสีมิลีก็แพร่งพรายไปถึงเจาแม่ฮีร่าผุ้หึงหวง เจ้าแม่มุงมั่นจะให้เรื่องนี้ ยุติทันที จึคงจำแลงองค์เป็นนางพี่เลี้ยงแ่ของสีมิลีเข้าไปในห้องของนาง และชวนคุย พอได้มีโอกาสก็ซักเรื่องเกี่ยวโยงไปถึง เรื่องความรักของนาง และออกอุบายให้นางหลงเชื้อเกี่ยวกับ
ประวัติอันนาสงสัยของมานพผุ้นั้นว่าจะเป็นซุสจำแลงมจริงหรือไม่ โดยให้มานพน้้นปรากฎกายให้เห็นในลักษณะของเทพเจ้า ซึ่งนางสิมีลีก็หลงเชื่อในที่สุดและตกลงใจที่จะกระทำตามที่พี่เลี้ยงแก่แนะนำ เมื่อซุสเสด็จลงมาอีก นางสีมิลีจึงหว่านล้อมให้ไท้เธอสาบาน โดยอ้างแม่น้ำสติกซ์เป็นทิพยพยานว่าไท้เธอจะโปรด ประทานฉันทานุมัติตามคำขอของนางประการหนึ่ง ครั้นไท้เธอสาบานแล้วนางก็ทูลความประสงค์ของนางให้ทราบ ซุสถึงกับตกตะลึงดวยคิดไม่ถึงว่านางจะทูลของในข้อฉกรรจ์ถึงเพียงนี้ ไท้เธอตระหนักดีว่า ถ้าไท้เธอสำแดงองค์ให้ปรากฎตามจริง ก็จะทำให้นางสีมิลีผุ้เป็นปุถุชนไม่อาจมีชีวิตได้ แต่อย่างไรก็ดี ซุสก็มีพันธะที่จะต้องปกิบัติตามสาบานอย่าง เคร่งครัด ไม่มีทางจะบ่ายเบี่ยงได้ ด้วยการละเมิดคำสาบานซึ่งอ้างแม่น้ำสติกซ์อันศักดิ์สิทธิ์เป้ฯทิพยพยานนั้นย่อมบังเกิดผล ร้ายกับเทพผุ้สาบานทุกองค์เหมือนกันหมด ไม่มีข้อยกเว้น แม้แต่กับซุสเอง ซุสเนนรมิตองค์ฝให้ปรากฎ
ตามลักษณะประกอบด้วยทิพยาภิสังขารอันเป็นจริง พอนางสีมิลีได้เห็นภาพของซุส ด้วยตาอันพร่าพราว นางก็ถึงแ่ล้มกลิ้งด้วยไม่อาจทนต่อทิพยอำนาจของซุสได้ และในชั่วพริบตาก็บังเกิดไฟลุกขึ้นเผา ผลาญนางให้วอดวายหลายเป็นจุณไป ในขณะนั้นนางสีมิลีทรงครรภ์อยู่ แม้ซุสไม่อาจช่วยชีวิตของนางไว้ได้ แต่ก็ยังสามารถ ช่วยบุตรได้ซุสฉวยทารกออกจากไฟ ไว้ในต้นชานุมณฑ,ของของไท้เธอเอง ทารกคงอยุ่ในที่นั้นต่อจากที่ได้อยู่ในครรภ์ มารดามาแล้ว จนครบกำหนดคลอด ซส จึงเอาทารกออก มอบให้นางอัปสรพวกหนึ่งเรียกว่า ไนสยาดีส เป็นผุ้อนุบาล นางอัปสรพวกนี้เอาใจใส่อนุบาลทารกอย่างทุนุถนอมเป็น อย่างดี ซุสจึงโปรดเนรมิตให้กลายเป็นหลุ่มดาวหน่ง เรียกว่า ไฮยาดีส ส่วนทารกน้อยผุ้ที่ถุกนางอัปสรเลี้ยงดุ มีชื่อว่าไดโอนิซัส หรือแบกดัส นั้น แม้ว่ากำเนิดแม้จริงของไดโอนิซัสจะเ็นกึ่งมุษย์กึ่งเทพ แต่ก็ได้รับการยอมรับให้เป็นเทพอย่าง สมบุรณื มีความเป้นอมฤตภาพเช่นเีดยวกับเหล่าเทพสภาพอื่นๆ บนสวรรค์ชั้นโอลิมปัส แต่ไดโอนิซัสรักที่จะ เดินทางท่องเที่ยวไปบนผืนดินอันกว้างขวางมากกว่า ไปทางไหน ก็นำความชุ่มชื้นแห้งสุราเมรัยติดไปด้วย คนที่มองเห็นคุณความดีของเะอพาอันเคารพนับถือ ส่วนคนที่ดูถูกเหยียดหยามมักถูกลงโทษ ในฐานะที่เพี่ง จะดำรงตำแหน่งเทพ ไดโอนิซัสไม่ปรสบความสำเร็จในการทำให้ คนนับถือสักเท่าใดนักครั้นเวลาผ่านไป และคุณกับโทษของเธอเป็นที่ประจักษ์ชัดขึ้นมนุษย์ ส่วนใหย๋จึงพากันเคารพนับถือ และสร้างวิหารถวายแด่เมรัยเทพเป็นการใหญ่
ไดโอนิซัส ทำให้พื้ดิสะพรั่งไปด้วยวุ่นรสเลิศทีรงคุรปรธยชน์มากหลา ทำให้ผุ้คนอิ่มหนำ แมละชื่นบาน แต่มีลหายครั้งที่ไดโอนิซัสทำคนหลายเป็นวิกลจริตอย่างน่าสมเพช ในจำนวนนี้มีสตรีกลุ่ม หนึ่งซึ่งเรียกว่า เมนาดส์ ซึ่งถูกพิษของเมรัย ทำให้เป็นบ้าหมดสติไปทุกคน ต่างกระโด โลดเต้นร้องรำทำเพลงไปตามป่าเขชาลำเนาไพร อย่างขาดสติ บางครั้งก็มาห้อมล้อมติดสอยห้อยตามไดโอนิซัส ไปด้วย ต่อมาในยุคโรมันเมื่อไดโอนิซัสได้รับชือเป้ฯภาษาละติน แบกคัส คณะนนางสติไม่ สมบุรณ์เหล่าสติรีก็ไม่รับชื่อใหม่ว่า แบกคันทัส จึงออกจะเป้นภาพที่ประหลาดมากที่ชาย หนุ่มรูปางามคนหนึ่งจะเดินทางไปไหนๆ โดยแวดล้อมด้วยผุ้หญิงบ้า
เรื่องราวความรักของไดโอนิซัสก็มีล้าง แต่เป็นรักที่ลงเอยด้สวยความเศร้าสลด คือเธอไปพบ
และช่วยเหลือนาง อาริแอดนี ธิดาเจ้ากรุงครีตไว้ได้ อารีแอดนี ะิดาของท้ยช้าวาว ไมนอส แห่งนครครีต ซึ่งเลี้ยงอสูรร้ายชื่อ มอโนทอร์เอาไว้ใต้ดิน เมือ่วิรีบุรุษ ธีลิอัสเดินทางไปครีตเื่อเป็นเหยื่อแก่มิดนทอร์ นวลอนงค์ ก็เกิดมีใจปฎฎพัทธ์กับเจ้าชราย หนุ่ม จึงหาทางช่วยเลหือและพาหนีออกาเกาะครตได้สำเร็จ แต่ทว่านางถูกทอดท้องไว้เดียวดายบนเกาะร้างแห่งหนึ่ง ไดโอนิซัส ไปพบเข้าจึงเกิดความสงารและรักนาง แต่รักได้ไม่นาน อารีแอดนี้ก็ตายลง ไดโอนิซัสสุดเสียใจนัก จึงไม่มีรักใหม่อีกเลย ตัวของไดโอนิซัสเองก็มีชีวิตแสนเศร้าพอๆ กับรักของเธอเอง ใดรคิดบ้างว่า เทพที่มีกายเป็นอมฤตภาพก็มีโอกาสตายได้เช่นกัน นักกวีขาวกรีกโบราณเขาเขียนขึ้นตามความเป็นจริงของต้นองุ่น
กล่าวคื อเมื่อถึงฤดุเกฐอุง่นชาวบ้านจะฟันเอากิ่งที่มีองุ่นติดเต็มไปหมด เหลือว้แต่จต้นโดดเดียว มองดุแล้วน่า สะพรึงกลัว เพราะมีแต่ลำต้นลุ่นๆ ปราศจากก่ิงก้านสาขา แต่ไม่นานเมื่อเวลาผ่านไป ต้นองุ่นก็ค่อยๆ ฟื้นตัวกลับแตกแยก ก่ิงก้านและใบสวยงาม ต่อจากนั้นก็ผลิดอกออกผลของมัน แต่ไม่นานาหนัก เทพไดโอนิซัสก็จับฟื้นคืนชีพขึ้นมาใหม่ ก็ ในเวลาที่เธอฟื้นจากความตายนี้แหละ ที่ใครๆ ทั้ง
เทวดาและมนุษย์ต่างก็ชื่นชมยินดี และจัดงานรื่นเร่ิงฉลองรับขวัญกัน เอิกเกริก และจาการตายนี้เองไดโอนิซัสได้ช่วยเหลือมารดาที่เธอไม่เคยเห็นหน้ามาก่อนจากหัตถ์ของยมเทพ และนำ ขึ้นสถิตอยุ่บนสวรรค์ชั้นโอลิมปัสได้อย่างปลอดภัย
เรื่องมันมีอยุ๋ว่า... เทพไดโอนิซัส ได้ติดตาหามารดาในปรโลกเมื่อพบเแล้้วเธอก็ของนางคืน มาจากยมเทพฮาเดส แต่มัจจุราชไม่ยินยอม จนเกิดการโต้เถียงกันว่าใครจะเหนือกว่าใคร ไดโอนิซัส บอกคำเดียวว่า ตนนั้นเหนือกว่ามัจจุราช เพราะเธอสามารถตายแล้วคืนชีพได้อีก ไม่เคยมีเทพองค์ใดกระทำได้อย่างเธอเลยเทพฮาเดสเห็นจริงตามนั้น ก็ยอมมอบนางสิมิลีให้บุตรชายพาออกจากแดนบาดาลไป เทพไดฮนิซัสจึงพามารดาขึ้นสวรรค์บนโอลิมปัส ที่นั้นเหล่าเทพ น้อยใหญ่ต่างต้นรับนางสิมิลีเป็นอย่างดี โดยที่นางเป็นอมตคนเดียว ที่อยุ่ทมกลางอมตเทพ ทั้งปวง และฮีร่าเทวีก็ทำอะไรมิได้อีก
ไดโอนิซัส หรือ ไดโอนอส หรือ แบคชัส ในเทพนิยายกรีกและดรมัน นอกจากถือว่าเป็นเทพเจ้าแหงไวน์แล้ว ยังรวมถึงเทพผุ้นำความเจริญะารยธรรม ผุ้สร้างกฎระเบียบและผุ้รักสันติ และรวมทั้งความอดมสมบูรณ์ทางการเกษตร และเรือยอไถึงการละคร
ในตำนานกรีก บ้างก็ว่า ไดโอนิซัส เป็นบุตรของเทพ ซุส และนาง สิมีลี บ้างก็ว่าเป็นบุตรแห่ง ซุส และเพอร์เซบโพนี่ วัวตัวผุ้ งูใหญ่ ต้นไอวี่และไวน์ถูกนำมาเป็นสัญลักษณ์แห่งเทพ และนอกจากนี้มักจะออกมาในภาพของเทพผุ้ขี่เสือดาว เป็นพาหนุ สวนใส่อาภรณ์หนัะงเสือดาว หรือในภาพของเทพผุ้รงราชรถ ที่ชักลากโดยเสือดำ ในบางแห่งขนานนามเทพผุ้นี้ในนาม เทพแห่งเล่าหญิงเลวและคนป่าเถือน ก็มี..
sites.google.com/site/chattarikajomfoo/xarythrrm-krik-boran/6-theph-pkrnam-krik
วันอังคารที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2561
Mythology Hephaestus
ฮิฟิสตัส เป็นเทพเจ้าแห่งช่างตีเหล็ก ช่างฝีมือ ช่างศิลป์ ประติมากร โลหะ โลหะวิทยา ไฟและ
ภูเขาไฟ ภาคโรมัน คือ วัลแคน ในเทพปกรนัมกรีก ฮีฟิสตัสเป็นพระโอรสของซุส กับพระนางฮีรา หรือ บางตำราก็ว่าท่านเกิดมาแต่เฉพาะเทวีเฮร่่า และมีแอฟโฟรไดทีเป็นชายา
ฮิฟิสตัสเป็นเพทช่างตีเหล็ำก ทรงประดิษฐ์อาวุธทั้งหมดของพรเจ้าบนโอลิมปัส พระองค์เป็นช่างตีเหล็กของเหล่าทวยเทพ และทรงได้รับการบูชาในศูนย์การผลิตและอุตสาหกรรมของกริซ โดยเฉพาะอย่างย่ิงกรุงเอเธอนส์ลัทธิบูชาฮีฟิสตัสมีศูนย์กลางใน เลมนอส ฮิฟิสตัสมีลักาณะเด่นคือเป็นเทพพิการ มีขาไม่สมประกอบ มีกริยาอาการเหมือนคนทุพพลภาพ และถือเครื่องมือช่างตลอดเวลา ท่านจึงได้รับฉายาเรียกหลายอย่างที่แสดงถึงลักษระทางกายภาพ เช่น "ผุ้ง่อยเปลี้ย" (ทั้งสองขา) "ผู้มีเท้าคด" "ช่างทองแดง" "ผู้มีทักษณะศิลป์เป็นที่เลื่องลือ" "ผุ้มีแผนมาก" หรือ ผู้มีปัญญา" สัญลักษณ์ของฮิฟิสตัสมีค้อน ทั้งและคีมคู่ของช่างตีเหล็ก..
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AE%E0%B8%B4%E0%B8%9F%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%AA
เฮเฟตัสนั้นเป็นเทพติดแม่ เมื่อเทพีเฮร่ากับซุสจอมเทพทะเลาะกันเมื่อใด เฮเฟตัสเป็นต้องเข้าข้างพระนางเฮร่าทุกคราวไป ซุสจึงไม่ค่อยชอบใจเฮเฟตัสนัก เมื่อคราวที่พระนางเฮร่านำกบฎจะโค่นอำนาจซุส แต่แผนนั้นล้มเหลว ซุสลงโทษพระนางโดยการใช้เชื่อกเงินผุกขาและจับพระนางเฮร่าห้อยหัวแขวนไว้กับสวรรค์ เฮเฟตัสก็เข้าช่วยเหลือเทพมารดาเช่นเดิม ทำให้ซุส โกรธและจับเฮเฟตัสโยนลงมาจากสวรรค์เอฟตัวตกจากสวรรค์ถึง 9 วันกว่าจะถึงพื้นโลก ด้วยความสูงเข่นนี้ทำให้เฮเฟตัสขาหัก กลายเป็นเทพิพการตั้งแต่บันนั้นเฮเฟตัสสร้างวังอาศัยอยู่บนโลกมนุษย์ตั้งใจจะไม่กลับไปอยู่บนสวรรค์โอลิมปัสอีก ละด้วยความชขำนาญในการช่าง เฮเฟตัสจึงตั้งโรงงานผลิตอาวุธต่างๆ ตามที่ตนถนัดอยู่ลยนโฃกมนุษย์โดยมีพวกยักษ์ไซคลอปส์ซึ่งมีฝีมือในการช่างเช่นกันเป็นลูกมือ
แม้จะไม่ตั้งใจกลับสวรรค์แต่เทพเฮเฟตัสก็ตั้งความหวัง่า พระนางเฮร่าเทพมารดาจะลงมาเยี่ยมบ้าง แต่รอแล้วรอเล่าเทพมารดาก็ไม่ลงมาหา ด้วยความน้อยใจเฮเฟตัสจึงสร้างบัลลังก์ทองคำที่สวยงามหาที่ติมิได้ส่งไปถวายเทพมารดา แต่เมื่อเทพมารดานั่งลง บัลลังก์ทองนั้นก็มีกลไกมายึดองค์ไว้อย่างมั่นคง ไม่สามารถขยับเขยื้อนได้
เฮอร์มีส เทพผุ้เป็นเลิสทงการทุตอาสาลงมาเจรจากับเฮเฟตัวแต่ไม่วาจะพุดจูงใจด้วยถ้อยคำอย่างไรเฮเฟตัสก็ไม่ยอมปล่อยเทพมารดา ทวยเทพจึงประชุมปรึกษากันอีกว่าระหนึ่ง และเห้นชอบให้ไดโอนีซุสลงมาเหลี้ยกล่อมเฮเฟตัส ไดโอนีซุสเกลียกล่อมเฮเฟตัสด้วยเหล้าองุ่นจนเฮเฟตัวเคลิบเคล้มมึนเมาจึงสามารถพาตัวเฮเฟตัสไปแก้เครื่องกลพันธนาการให้เทพมารดา และเทพบุตร ให้กลับมาออมชอมกัน ได้ดังเดิมแต่มแ้จะได้การยอมรับให้กลับไปอยูเขาโอลิมปัสดังเดิม แต่เฮเฟตัสก็ยังยินดีอยู่บนโลกมนุษย์ จะขึ้นสวรรค์ไปก็ต่อเมื่อมีการประชุมเทพสภาเท่านั้น
เฮเฟตัสเทพผุ้พิการ แต่กลับมีชายาที่แสนสวย เรพาะชายาของเฮเฟตัสนั้นคือ อะโฟรไดต์ แต่เพราะความสง่างามที่ไม่เสมอกัน อะโฟรไดต์จึงมักนอกใจเฮเฟตัสไปกับเทพบุตรรูปงามอื่นๆ อีกหลายองค์...sites.google.com/site/chattarikajomfoo/xarythrrm-krik-boran/
ภูเขาไฟ ภาคโรมัน คือ วัลแคน ในเทพปกรนัมกรีก ฮีฟิสตัสเป็นพระโอรสของซุส กับพระนางฮีรา หรือ บางตำราก็ว่าท่านเกิดมาแต่เฉพาะเทวีเฮร่่า และมีแอฟโฟรไดทีเป็นชายา
ฮิฟิสตัสเป็นเพทช่างตีเหล็ำก ทรงประดิษฐ์อาวุธทั้งหมดของพรเจ้าบนโอลิมปัส พระองค์เป็นช่างตีเหล็กของเหล่าทวยเทพ และทรงได้รับการบูชาในศูนย์การผลิตและอุตสาหกรรมของกริซ โดยเฉพาะอย่างย่ิงกรุงเอเธอนส์ลัทธิบูชาฮีฟิสตัสมีศูนย์กลางใน เลมนอส ฮิฟิสตัสมีลักาณะเด่นคือเป็นเทพพิการ มีขาไม่สมประกอบ มีกริยาอาการเหมือนคนทุพพลภาพ และถือเครื่องมือช่างตลอดเวลา ท่านจึงได้รับฉายาเรียกหลายอย่างที่แสดงถึงลักษระทางกายภาพ เช่น "ผุ้ง่อยเปลี้ย" (ทั้งสองขา) "ผู้มีเท้าคด" "ช่างทองแดง" "ผู้มีทักษณะศิลป์เป็นที่เลื่องลือ" "ผุ้มีแผนมาก" หรือ ผู้มีปัญญา" สัญลักษณ์ของฮิฟิสตัสมีค้อน ทั้งและคีมคู่ของช่างตีเหล็ก..
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AE%E0%B8%B4%E0%B8%9F%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%AA
เฮเฟตัสนั้นเป็นเทพติดแม่ เมื่อเทพีเฮร่ากับซุสจอมเทพทะเลาะกันเมื่อใด เฮเฟตัสเป็นต้องเข้าข้างพระนางเฮร่าทุกคราวไป ซุสจึงไม่ค่อยชอบใจเฮเฟตัสนัก เมื่อคราวที่พระนางเฮร่านำกบฎจะโค่นอำนาจซุส แต่แผนนั้นล้มเหลว ซุสลงโทษพระนางโดยการใช้เชื่อกเงินผุกขาและจับพระนางเฮร่าห้อยหัวแขวนไว้กับสวรรค์ เฮเฟตัสก็เข้าช่วยเหลือเทพมารดาเช่นเดิม ทำให้ซุส โกรธและจับเฮเฟตัสโยนลงมาจากสวรรค์เอฟตัวตกจากสวรรค์ถึง 9 วันกว่าจะถึงพื้นโลก ด้วยความสูงเข่นนี้ทำให้เฮเฟตัสขาหัก กลายเป็นเทพิพการตั้งแต่บันนั้นเฮเฟตัสสร้างวังอาศัยอยู่บนโลกมนุษย์ตั้งใจจะไม่กลับไปอยู่บนสวรรค์โอลิมปัสอีก ละด้วยความชขำนาญในการช่าง เฮเฟตัสจึงตั้งโรงงานผลิตอาวุธต่างๆ ตามที่ตนถนัดอยู่ลยนโฃกมนุษย์โดยมีพวกยักษ์ไซคลอปส์ซึ่งมีฝีมือในการช่างเช่นกันเป็นลูกมือ
แม้จะไม่ตั้งใจกลับสวรรค์แต่เทพเฮเฟตัสก็ตั้งความหวัง่า พระนางเฮร่าเทพมารดาจะลงมาเยี่ยมบ้าง แต่รอแล้วรอเล่าเทพมารดาก็ไม่ลงมาหา ด้วยความน้อยใจเฮเฟตัสจึงสร้างบัลลังก์ทองคำที่สวยงามหาที่ติมิได้ส่งไปถวายเทพมารดา แต่เมื่อเทพมารดานั่งลง บัลลังก์ทองนั้นก็มีกลไกมายึดองค์ไว้อย่างมั่นคง ไม่สามารถขยับเขยื้อนได้
เฮอร์มีส เทพผุ้เป็นเลิสทงการทุตอาสาลงมาเจรจากับเฮเฟตัวแต่ไม่วาจะพุดจูงใจด้วยถ้อยคำอย่างไรเฮเฟตัสก็ไม่ยอมปล่อยเทพมารดา ทวยเทพจึงประชุมปรึกษากันอีกว่าระหนึ่ง และเห้นชอบให้ไดโอนีซุสลงมาเหลี้ยกล่อมเฮเฟตัส ไดโอนีซุสเกลียกล่อมเฮเฟตัสด้วยเหล้าองุ่นจนเฮเฟตัวเคลิบเคล้มมึนเมาจึงสามารถพาตัวเฮเฟตัสไปแก้เครื่องกลพันธนาการให้เทพมารดา และเทพบุตร ให้กลับมาออมชอมกัน ได้ดังเดิมแต่มแ้จะได้การยอมรับให้กลับไปอยูเขาโอลิมปัสดังเดิม แต่เฮเฟตัสก็ยังยินดีอยู่บนโลกมนุษย์ จะขึ้นสวรรค์ไปก็ต่อเมื่อมีการประชุมเทพสภาเท่านั้น
เฮเฟตัสเทพผุ้พิการ แต่กลับมีชายาที่แสนสวย เรพาะชายาของเฮเฟตัสนั้นคือ อะโฟรไดต์ แต่เพราะความสง่างามที่ไม่เสมอกัน อะโฟรไดต์จึงมักนอกใจเฮเฟตัสไปกับเทพบุตรรูปงามอื่นๆ อีกหลายองค์...sites.google.com/site/chattarikajomfoo/xarythrrm-krik-boran/
Mythology (Aphrodite)
แอโฟร์ไดที เป็นเทพเจ้าแห่งความรัก ความงาม สุขารมณ์และการให้กำเนิด ภาคโรมัน คือ วีนัส มี
นิยายว่าด้วยกำเนินของพระนางมากกว่าหนึ่งเรื่อง เฉกเช่นพระเจ้ากรีกโบราณหลายพระองค์ เทออกกอเนียของ ฮีซิอัตระบุว่า พระองค์ประสูติเมื่อดคนัสตัดอวัยะเพศของยูเรนัสแล้วโยนลงทะเล จานั้นพระองค์กำเนินจากฟองสมุทร
ด้วยพระสิริโฉมงดงามของพระองค์ พระเจ้าองค์อื่นจึงเกรงว่าการชิงพระนางมาขัดขวางสัจติภาพในหมู่พวกตนและนำไปสู่สงคราม ฉะนั้นซุสจึงเสอสมรสพระนางกับฮิฟิสตัส ซึ่งงด้วยความอัปลักษณ์และผิดรูปของพระองค์ ไม่ถุกมองว่าเป็นภัยคุกคามแอโฟรไดที่ มีชู้รักมากมาย ทั้งพระเจ้า ชเ่น เอรีส และมุนษย์ เช่น แองไคซีส พระองค์มีบทบาทในตำนานเอียรอสและไซคี ภายหลังเป็นทั้งบู้รักของอโดนีส และผุ้ทดแทนมารดาของพระองค์กล่าวกันว่าเทพชั้นรองจำนวนมากเป็นโอรสธิดาของแอโฟรไดที
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B9%82%E0%B8%9F%E0%B8%A3%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B8%97%E0%B8%B5
แอรโฟรไดทียังรุ้จักกันในพระนามไคธีเรีย(นายหญิงแห่งไคธีรา) และ ไซปริส (นายหญิงแห่งไซปรัส) ซึ่งตั้งตามชื่อแหล่งลัทธิสองแห่ง ไคธีรา และไซปรัส ซึ่งอ้างว่าเป็นที่ประสูติของพระนาง กล่าวกันว่าเมอร์เทิล นกพิราบ นกกระจอก ม้าและหงส์ ศักดิ์สิทธิ์ต่อพระนาง ขาวกรีกโบราณระบุพระองค์แอโฟรไดทีกับเทพีแฮธอร์ของอียิปต์โบราณ..
เทพีแห่งความงาม ความรัก และราคะกล่าวกันว่า อะโฟรไดต์ เป็นเทพธิดาที่มีความงาม 1 ใน 3 ของเทพธิดาที่งามที่สุดบนสรวงสวรรค์ คือ อะโฟรไดต์ เฮร่า และอาธีน่านั้นเป็นมเหสีของมหาเทพซุส เป็นเทพมารดา และเป็นเทพแห่งการแต่งงานเป็ฯเทพีขี้หึงเนืองจากต้องคอยไล่ตามมหาเทพซุสที่แอบไปมีชายลับจำนวนมาก อาธีน่า เป็นธิดาของมหาเทพซุส เป็นเทพีแห่งสติปัญญา มักจะอยู่เคียงข้างมหาเทพซุสเพื่อให้คำแนะนำต่างๆ
อะโฟรไดต์ เป็นเทพีที่เกิขากฟองคลื่น เป็นเทพธิดาแห่งความงาม ความรักและราคะ มีนิสัยชอบเช่วยเหลือผุึ้ที่่มีความรุกแต่บ่องครั้งก็จะซ้ำเติมและลงโทษให้ผุ้ที่มีความรัก แต่บ่อยครั้งก็จะซ้ำเติมและลงโทษให้ผุ้มีความรักต้องระทมทุกข์หนักเรพาะควารักมากย่ิงขึ้นไปอีกกำเนดอะโฟรไดต์นั้นมีหลายตำนาน ตำนานที่สอดคล้องกับชื่อที่แปลว่าฟองเคลื่นนั้นต้องนับเวลาย้อนหลังไปครั้งที่อุรานอสถุกโค่นอำนาจเมือโครนอสได้รับความช่วยเหลือจากจอมมารดาไกอาปลอปล่อยจากตุนรกทาร์ทะรัสและมอบเคียวให้เป็นอาวุธ โครนอสก็ย้อนกลัยมต่อสู้กับจอมบิดาอุรานอส และเอาชนะอูรานอสได้ โครนอสใช้เคียวตัวอัณฑะอุรานอสโยน
ขว้างทิ้งลงทะเลแถวเกาะไซเอรา ทำให้เกิดฟองคลื่อนขาวจำนวนมากในทะเล และเทพีอะโฟรไดต์ก็ได้ถือกำเนิดอยู่ในฟองคลื่นนั้นเทพลมทิศใต้ได้พัดพาฟองคลื่นนี้ไปขึ้นเกาะไซปรัสบางทีจึงเรียกเทพีอะโฟรไดต์ ว่าไซเธอเรีย หรือ ไซเพรียน ตามชื่อเกาะ เมื่อขึ้นเกาะไซปรัีสแล้วเทพแห่งฤดูกาล ได้นำอาภรณ์สวยงามมาให้อะโฟรไดต์ที่ใ่ หาต่างหุและมงกุฎทองคำมาให้และพาอะโฟรไดต์ขึ้นเขาโอลิมปัส การปรากฎกายบนสวรรค์เป็นครั้งแรกนี้เทพบุตรทั้หงหลาต่างก็พากันหลงเสน่ห์ความงามของอะโฟรไดต์และต่างอยากได้นางไว้เป็นชายากันถ้วนหน้า รวมทั้งมหาเทพซุสอ้วยแต่ซุสก็เล็งเห็นว่าสวรรค์คงจะปั่นป่วนเพราะเทพบุตรทั้งหลายคงจะตอสุ้กันเพ่อชิงกันเป้นเจ้าของอะโฟรไดต์เป็นแน่ ซุสจึงรีบประทานนางให้แก่เทพการช่วงขาพิการ เฮเฟตัส โดยอ้างว่าเป็นรางวัลที่เฮเฟตัสสร้างและตกแต่งสวรรค์โอลิมปัสให้สวยงาม
เฮเฟตัสผุ้ดชคดีพยายามเอาอกเอาใจเทพธิดาแสนสวยผุ้เป็นชายาดดยการประดิษฐ์เข็มขัดที่เมือสวมใส่เมื่อไรจะทำให้อะโฟรไดต์มีเสน่์ตรึงใจมากขึ้นจนผุ้พบเห้นไม่อาจหักห้ามใจรักได้อะโฟรไดต์นั้นคงทุนอยุ่กับเฮฟตัสเทพสวามีผุ้อีปลักษณ์เนื้อตัวดำเพราะทำงานถลุงเหล็กทั้งวันไม่ได้ เธอจึงแยกที่หลับที่นอนมาอยุ่ตามลำพังบนโอลิมปัสปล่อยให้เฮเฟตัสทำงานหนักเหาือนกรรมกรอยู่ในโรงงาน บนโลก
มนุษย์ตามลำพังต่อมา อะโฟรไดต์ก็ก่อเรื่องอื้อฉาวโดยการเป็นชู้กับเอรีสเทพแห่งสงครามจนเกิดเสีียงซุบซิบร้ำลือไปทั้งสวรรค์ ทำให้เฮเฟตัสประดิษฐ์ตาข่ายวิเศษเอาไว้เพื่อมัดตัวทั้งคุ่ จนวันหนคึงอะโฟรไดต์ และเอรีสเผลอหลับนอนอด้วยกันและตื่นไม่ทันก่อนพระอาทิย์ขึ้น เทพอพอลโลมองเห็นจงบอกให้เฮเฟตัสรู เฮเฟตัสจึงนำตามข่ายามัดตัวคุ้ชู้ทั้งสองไว้ได้ในสภาพเปลื่อยเปล่า และพามาให้เทพสภาตัดสินคดี แต่เทพสภากลับตัดสินให้อะโฟรไดต์กับเอรีสไม่มีความผิด เนื่องจากพ่ายแพ้ต่อมนต์อำนาจของเข็มขัดที่เฮเฟตัสทำให้อะโฟรไดต์สวมใส่นั้นเองอะโฟรไดต์มีเทพบุตรและเทพธิดากับเอรีส 3 คน คื อนางเฮอร์ไม่โอนี อีรอส และแอนติรอสนอกจากเอรีแล้วอะโฟรไดต์ก้ยังแอบไปมีสัมพันะ์สวาทกับเทพองค์อื่นๆ อีก คือ
ไดโอนีซุส เฮอร์มีส และโพไซดอน และมีโอรสกับไดดอนีซุสชื่อเพรียปัส มีโอรสกับเฮอร์มีชื่อเฮอร์มโฟรไดต์ซ฿่งเป็ฯเทพกระเทย และมีโอรสกับโพไวดอนชื่อโรดัสกับฮีโรฟีลสนอกจากนี้อะโฟรไดต์ยังมีชุ้รักเป็นมนุษย์อีก 2 คน คือ อไคนิส กับแอนไคซีส เรื่องราวคาลวามรักที่อะโฟรไดต์ที่ต่อหนุ่มอโดนิสนั้นเกิดขึ้นเนื่องจากวันหนึ่งอะโฟรไดต์เดินหยอกเลบ่นอยุ่กับกามเทพอีรอสผุ้เป็นเทพบุตรยู่ในป่า บังเอิญถุกศรซึ่งอีรอสถืออยู่สะกิดเอาที่อก ด้วยอำนาจของศรรักทำให้อะโฟรไดต์หลงรัก อโนิสหนุ่มนักล่าสัตว์ที่ผ่านมาพอดี
แต่ความรักกับหนุ่มอโนีสนั้นมีปัญหาต้องแย่งชิงกับเทพีเพอร์ซีโฟเน่ายาของฮาเดสเทพโลกันต์ ศึกชิงหนุ่มของสองเทพี ล่วงรุ้ไปถึงมหาเทพซุส มหาเทพจึงตัดสินให้อโนิสอยู่กับเพอร์ซโฟเน่ 4 เพือน อยู่กับอะโฟรไดต์ที่ 4 เดือน และอีก 4 เดือนให้อโดนิสเลือกอยุ่กับใครก็ได้ซคึ่งอโดนิสก็เลือกที่จะอยุ่กับอะโฟรไดต์ อะโฟรไดต์ลงมาจากสวรรค์เพื่อติดตามใกล้ชอิอโดนิส คอยแนะนำตักเตือนอโดนิสให้ระวังอันตรายเวลาเข้าป่าล่าสัตว์ แต่วัดหนึ่งอะโฟรไดต์มีธุระต้องจากอโนิสไป ระหว่างที่อโดนิสเข้าป่าล่าสัตว์ตามลำพัง เอรีสที่คอยตามมาหึงหวงอะโฟรไดต์ชู่รักอยุ่ก็แปลงกายเป็นหมุป่ามาขวิดอโดนสถึงแก่ความhttps://sites.google.com/site/chattarikajomfoo/xarythrrm-krik-boran/6-theph-pkrnam-krik
ตายอะโฟรไดต์กลับมาพบร่างหนุ่มสุดที่รักตายจากไปก็เศร้าโศกเสียใจเป็นอันมาก หยาดน้ำตาของเทพีแห่งความงามหยดลงต้องหยดเลือดสีแดงของอโดนิส ก่อให้เกิดดอกไม้ที่เป็นอนุสร์แห่งความรัก เรียกว่า ดอกอโดนิส อะโฟรไดต์เป็นชู้กับมนุษย์อีกคนเป็นกษัตริย์ชื่อ แอนไคซีส แต่เรพาะแอนไคซิสเมาจึงเผลอปากเปิดเผยความสัมพันะ์ของเขาซึงเป็นมนุษย์กับเทพีสวรรค์ มหาเทพซุส จึงข้างสายฟ้ามาลงโทษ โยคดที่อะโฟรไดที่เอาเข็มขัดรับสายฟ้านั้นไว้ได้ แต่แอนไคซีก็ตกใจจนไม่สามารถลุกขึ้นยืนได้อีกเลยอะโฟรไดต์มีโอรสกับแอนไคซีส มีร่างเป้นครึ่งเทพครึ่งมนุษย์นามว่า อีิเนียส ซึ่งต่อมาได้ไปเข้าร่วมสงครามกรงุทรอย และย้ายไปอยู่อิตาลี เป็นต้นกระกูลของชาวโรมันอะโฟรไดต์นั้นมีส่วนสำคัญอย่งมากในสงครามกรุงทรอยเนื่องจากเมือมีการแย่งชิงตำแหน่งเทพีที่สวนทีุ่ดในสวรรค์ระหว่างอะโฟร์ไดต์ เฮร่า และอาธีน่า มหาเทพซุสไม่อาจตัดสินให้ใครชนะได้เนื่องจากคนหนึ่งเป็นมเหสี คนอนึ่งเป้นธิดา และอีกคนหนึ่งเป็นลูกสะใภ้ มหาเทพจึงแนะให้สามเทพีไปหาเด็กเลี้ยแกะชื่อปารีสให้เป็ฯผุ้ตัดสิน...
นิยายว่าด้วยกำเนินของพระนางมากกว่าหนึ่งเรื่อง เฉกเช่นพระเจ้ากรีกโบราณหลายพระองค์ เทออกกอเนียของ ฮีซิอัตระบุว่า พระองค์ประสูติเมื่อดคนัสตัดอวัยะเพศของยูเรนัสแล้วโยนลงทะเล จานั้นพระองค์กำเนินจากฟองสมุทร
ด้วยพระสิริโฉมงดงามของพระองค์ พระเจ้าองค์อื่นจึงเกรงว่าการชิงพระนางมาขัดขวางสัจติภาพในหมู่พวกตนและนำไปสู่สงคราม ฉะนั้นซุสจึงเสอสมรสพระนางกับฮิฟิสตัส ซึ่งงด้วยความอัปลักษณ์และผิดรูปของพระองค์ ไม่ถุกมองว่าเป็นภัยคุกคามแอโฟรไดที่ มีชู้รักมากมาย ทั้งพระเจ้า ชเ่น เอรีส และมุนษย์ เช่น แองไคซีส พระองค์มีบทบาทในตำนานเอียรอสและไซคี ภายหลังเป็นทั้งบู้รักของอโดนีส และผุ้ทดแทนมารดาของพระองค์กล่าวกันว่าเทพชั้นรองจำนวนมากเป็นโอรสธิดาของแอโฟรไดที
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B9%82%E0%B8%9F%E0%B8%A3%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B8%97%E0%B8%B5
แอรโฟรไดทียังรุ้จักกันในพระนามไคธีเรีย(นายหญิงแห่งไคธีรา) และ ไซปริส (นายหญิงแห่งไซปรัส) ซึ่งตั้งตามชื่อแหล่งลัทธิสองแห่ง ไคธีรา และไซปรัส ซึ่งอ้างว่าเป็นที่ประสูติของพระนาง กล่าวกันว่าเมอร์เทิล นกพิราบ นกกระจอก ม้าและหงส์ ศักดิ์สิทธิ์ต่อพระนาง ขาวกรีกโบราณระบุพระองค์แอโฟรไดทีกับเทพีแฮธอร์ของอียิปต์โบราณ..
เทพีแห่งความงาม ความรัก และราคะกล่าวกันว่า อะโฟรไดต์ เป็นเทพธิดาที่มีความงาม 1 ใน 3 ของเทพธิดาที่งามที่สุดบนสรวงสวรรค์ คือ อะโฟรไดต์ เฮร่า และอาธีน่านั้นเป็นมเหสีของมหาเทพซุส เป็นเทพมารดา และเป็นเทพแห่งการแต่งงานเป็ฯเทพีขี้หึงเนืองจากต้องคอยไล่ตามมหาเทพซุสที่แอบไปมีชายลับจำนวนมาก อาธีน่า เป็นธิดาของมหาเทพซุส เป็นเทพีแห่งสติปัญญา มักจะอยู่เคียงข้างมหาเทพซุสเพื่อให้คำแนะนำต่างๆ
อะโฟรไดต์ เป็นเทพีที่เกิขากฟองคลื่น เป็นเทพธิดาแห่งความงาม ความรักและราคะ มีนิสัยชอบเช่วยเหลือผุึ้ที่่มีความรุกแต่บ่องครั้งก็จะซ้ำเติมและลงโทษให้ผุ้ที่มีความรัก แต่บ่อยครั้งก็จะซ้ำเติมและลงโทษให้ผุ้มีความรักต้องระทมทุกข์หนักเรพาะควารักมากย่ิงขึ้นไปอีกกำเนดอะโฟรไดต์นั้นมีหลายตำนาน ตำนานที่สอดคล้องกับชื่อที่แปลว่าฟองเคลื่นนั้นต้องนับเวลาย้อนหลังไปครั้งที่อุรานอสถุกโค่นอำนาจเมือโครนอสได้รับความช่วยเหลือจากจอมมารดาไกอาปลอปล่อยจากตุนรกทาร์ทะรัสและมอบเคียวให้เป็นอาวุธ โครนอสก็ย้อนกลัยมต่อสู้กับจอมบิดาอุรานอส และเอาชนะอูรานอสได้ โครนอสใช้เคียวตัวอัณฑะอุรานอสโยน
ขว้างทิ้งลงทะเลแถวเกาะไซเอรา ทำให้เกิดฟองคลื่อนขาวจำนวนมากในทะเล และเทพีอะโฟรไดต์ก็ได้ถือกำเนิดอยู่ในฟองคลื่นนั้นเทพลมทิศใต้ได้พัดพาฟองคลื่นนี้ไปขึ้นเกาะไซปรัสบางทีจึงเรียกเทพีอะโฟรไดต์ ว่าไซเธอเรีย หรือ ไซเพรียน ตามชื่อเกาะ เมื่อขึ้นเกาะไซปรัีสแล้วเทพแห่งฤดูกาล ได้นำอาภรณ์สวยงามมาให้อะโฟรไดต์ที่ใ่ หาต่างหุและมงกุฎทองคำมาให้และพาอะโฟรไดต์ขึ้นเขาโอลิมปัส การปรากฎกายบนสวรรค์เป็นครั้งแรกนี้เทพบุตรทั้หงหลาต่างก็พากันหลงเสน่ห์ความงามของอะโฟรไดต์และต่างอยากได้นางไว้เป็นชายากันถ้วนหน้า รวมทั้งมหาเทพซุสอ้วยแต่ซุสก็เล็งเห็นว่าสวรรค์คงจะปั่นป่วนเพราะเทพบุตรทั้งหลายคงจะตอสุ้กันเพ่อชิงกันเป้นเจ้าของอะโฟรไดต์เป็นแน่ ซุสจึงรีบประทานนางให้แก่เทพการช่วงขาพิการ เฮเฟตัส โดยอ้างว่าเป็นรางวัลที่เฮเฟตัสสร้างและตกแต่งสวรรค์โอลิมปัสให้สวยงาม
เฮเฟตัสผุ้ดชคดีพยายามเอาอกเอาใจเทพธิดาแสนสวยผุ้เป็นชายาดดยการประดิษฐ์เข็มขัดที่เมือสวมใส่เมื่อไรจะทำให้อะโฟรไดต์มีเสน่์ตรึงใจมากขึ้นจนผุ้พบเห้นไม่อาจหักห้ามใจรักได้อะโฟรไดต์นั้นคงทุนอยุ่กับเฮฟตัสเทพสวามีผุ้อีปลักษณ์เนื้อตัวดำเพราะทำงานถลุงเหล็กทั้งวันไม่ได้ เธอจึงแยกที่หลับที่นอนมาอยุ่ตามลำพังบนโอลิมปัสปล่อยให้เฮเฟตัสทำงานหนักเหาือนกรรมกรอยู่ในโรงงาน บนโลก
มนุษย์ตามลำพังต่อมา อะโฟรไดต์ก็ก่อเรื่องอื้อฉาวโดยการเป็นชู้กับเอรีสเทพแห่งสงครามจนเกิดเสีียงซุบซิบร้ำลือไปทั้งสวรรค์ ทำให้เฮเฟตัสประดิษฐ์ตาข่ายวิเศษเอาไว้เพื่อมัดตัวทั้งคุ่ จนวันหนคึงอะโฟรไดต์ และเอรีสเผลอหลับนอนอด้วยกันและตื่นไม่ทันก่อนพระอาทิย์ขึ้น เทพอพอลโลมองเห็นจงบอกให้เฮเฟตัสรู เฮเฟตัสจึงนำตามข่ายามัดตัวคุ้ชู้ทั้งสองไว้ได้ในสภาพเปลื่อยเปล่า และพามาให้เทพสภาตัดสินคดี แต่เทพสภากลับตัดสินให้อะโฟรไดต์กับเอรีสไม่มีความผิด เนื่องจากพ่ายแพ้ต่อมนต์อำนาจของเข็มขัดที่เฮเฟตัสทำให้อะโฟรไดต์สวมใส่นั้นเองอะโฟรไดต์มีเทพบุตรและเทพธิดากับเอรีส 3 คน คื อนางเฮอร์ไม่โอนี อีรอส และแอนติรอสนอกจากเอรีแล้วอะโฟรไดต์ก้ยังแอบไปมีสัมพันะ์สวาทกับเทพองค์อื่นๆ อีก คือ
ไดโอนีซุส เฮอร์มีส และโพไซดอน และมีโอรสกับไดดอนีซุสชื่อเพรียปัส มีโอรสกับเฮอร์มีชื่อเฮอร์มโฟรไดต์ซ฿่งเป็ฯเทพกระเทย และมีโอรสกับโพไวดอนชื่อโรดัสกับฮีโรฟีลสนอกจากนี้อะโฟรไดต์ยังมีชุ้รักเป็นมนุษย์อีก 2 คน คือ อไคนิส กับแอนไคซีส เรื่องราวคาลวามรักที่อะโฟรไดต์ที่ต่อหนุ่มอโดนิสนั้นเกิดขึ้นเนื่องจากวันหนึ่งอะโฟรไดต์เดินหยอกเลบ่นอยุ่กับกามเทพอีรอสผุ้เป็นเทพบุตรยู่ในป่า บังเอิญถุกศรซึ่งอีรอสถืออยู่สะกิดเอาที่อก ด้วยอำนาจของศรรักทำให้อะโฟรไดต์หลงรัก อโนิสหนุ่มนักล่าสัตว์ที่ผ่านมาพอดี
แต่ความรักกับหนุ่มอโนีสนั้นมีปัญหาต้องแย่งชิงกับเทพีเพอร์ซีโฟเน่ายาของฮาเดสเทพโลกันต์ ศึกชิงหนุ่มของสองเทพี ล่วงรุ้ไปถึงมหาเทพซุส มหาเทพจึงตัดสินให้อโนิสอยู่กับเพอร์ซโฟเน่ 4 เพือน อยู่กับอะโฟรไดต์ที่ 4 เดือน และอีก 4 เดือนให้อโดนิสเลือกอยุ่กับใครก็ได้ซคึ่งอโดนิสก็เลือกที่จะอยุ่กับอะโฟรไดต์ อะโฟรไดต์ลงมาจากสวรรค์เพื่อติดตามใกล้ชอิอโดนิส คอยแนะนำตักเตือนอโดนิสให้ระวังอันตรายเวลาเข้าป่าล่าสัตว์ แต่วัดหนึ่งอะโฟรไดต์มีธุระต้องจากอโนิสไป ระหว่างที่อโดนิสเข้าป่าล่าสัตว์ตามลำพัง เอรีสที่คอยตามมาหึงหวงอะโฟรไดต์ชู่รักอยุ่ก็แปลงกายเป็นหมุป่ามาขวิดอโดนสถึงแก่ความhttps://sites.google.com/site/chattarikajomfoo/xarythrrm-krik-boran/6-theph-pkrnam-krik
ตายอะโฟรไดต์กลับมาพบร่างหนุ่มสุดที่รักตายจากไปก็เศร้าโศกเสียใจเป็นอันมาก หยาดน้ำตาของเทพีแห่งความงามหยดลงต้องหยดเลือดสีแดงของอโดนิส ก่อให้เกิดดอกไม้ที่เป็นอนุสร์แห่งความรัก เรียกว่า ดอกอโดนิส อะโฟรไดต์เป็นชู้กับมนุษย์อีกคนเป็นกษัตริย์ชื่อ แอนไคซีส แต่เรพาะแอนไคซิสเมาจึงเผลอปากเปิดเผยความสัมพันะ์ของเขาซึงเป็นมนุษย์กับเทพีสวรรค์ มหาเทพซุส จึงข้างสายฟ้ามาลงโทษ โยคดที่อะโฟรไดที่เอาเข็มขัดรับสายฟ้านั้นไว้ได้ แต่แอนไคซีก็ตกใจจนไม่สามารถลุกขึ้นยืนได้อีกเลยอะโฟรไดต์มีโอรสกับแอนไคซีส มีร่างเป้นครึ่งเทพครึ่งมนุษย์นามว่า อีิเนียส ซึ่งต่อมาได้ไปเข้าร่วมสงครามกรงุทรอย และย้ายไปอยู่อิตาลี เป็นต้นกระกูลของชาวโรมันอะโฟรไดต์นั้นมีส่วนสำคัญอย่งมากในสงครามกรุงทรอยเนื่องจากเมือมีการแย่งชิงตำแหน่งเทพีที่สวนทีุ่ดในสวรรค์ระหว่างอะโฟร์ไดต์ เฮร่า และอาธีน่า มหาเทพซุสไม่อาจตัดสินให้ใครชนะได้เนื่องจากคนหนึ่งเป็นมเหสี คนอนึ่งเป้นธิดา และอีกคนหนึ่งเป็นลูกสะใภ้ มหาเทพจึงแนะให้สามเทพีไปหาเด็กเลี้ยแกะชื่อปารีสให้เป็ฯผุ้ตัดสิน...
วันจันทร์ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2561
Mythology (Athena)
เทพีแห่งสติปัญญาและสงคราม ในคณะเทพแห่งโอลิมเปียนั้นมีเทพีพรหมจารีอยุ่ 3 องค์ คือ เทพีเฮสเทีย เทพีอาธีน่า และเทพีอาร์ทีมีส องค์แรกเป็นพี่สาวของซุส ส่วนองค์หลังเป็นธิดาย้อนกลับไป
สมัยที่ซุสโค่นบัลลังก์โครนอส เทพบิดา และไอ้ขอให้มีทิสเทพีแห่งปัญญาผู้เป็ฯธิดาของเทพไททันโอเชียนัสกับทีธิสช่วยทำยาสำรอกบังคับให้โครนอสกลืนกินเพื่อคลายบรรดาพี่ ของซุสออกมาจากท้องได้สำเร็จ จากนั้นซุสก็ได้มีทิสเป็นชายาองค์แรก
แต่เมื่อมีทิสตั้งครรภ์ จอมมารดาไกอาก็พยากรณ์ว่าโอรสของซุสที่เกิดจากมีทิสจะเป็ฯผุ้โค่นลัลังก์ของซุสดุจเดียวกับที่ซุสเคยโค่นบัลลัก์ของโครนอส ซุสกลัวคำพยากรณ์นั้นจึงได้กลืนมิทิสผุ้เป็นชายาลงท้อง และเนื่องจากมีทิสเป็นเทพครองปัญญา เมื่อไปอยู่ในท้องซุสแล้วก็ได้คอยให้คำแนะนำต่างๆ แก่ซุสจากในท้องนั้นเองกาลเวลาผ่านมา วันหนึ่งหนึ่งซุสก็ผวดเศียรอย่างรุนแรง พระองค์จึงเรียกประชุมเทพสภาพเพื่อหาทางรักษาอาการปวดนั้น แต่ไม่มีเทพหรือเทพีองค์ใดรักษาอาการนี้ให้ได้ ซุสจึงตัดสินใจให้เทพองค์หนึ่งข่วยผ่าพระเศียรให้ยังไม่ทันที่รอยแผลยนพระเศียรของจอมเทพที่เกิดจากขวานจามจะแยกออกจากกันดี ก็ปรากฎร่างเทพีองค์หนึ่งผุดออกมาจากรพะเศียรของจอมเทพ เทพีองค์นั้นแต่งกายสวมเกราะแวววาว มือถือหาอและโลห์ ลักษณะพร้อมออกศึก กล่าววาจาประกาศชัยชนะก้องกัมปนาทท่ามกลางความสั่นสะเทือนและเสียงอึกทึกของพสุธาและมหาสมุทร
เทพีที่กำเนินขึ้นองค์นี้คือเทพีอาธีน่า เป็นเทพีแห่งการศึกษและขณะที่เทพีอาธีน่าปรากฎกายขึ้นนันความโฉดเขลาทั้งหลายที่ไม่ปรากฎรูปก็หลีกหนีไป จนหมดสิ้น เทพีอาธีน่าจึงเป้ฯเทพีครองปัญญา
ด้วยอีกอย่างหนึ่ง ซึ่งปัญญาแห่งอาธีน่านั้นคงจะไ้รับถ่ายทอดมาจากมีทิสผุ้เป็นเทพมารดานั่นเอง
ภายหลงการอุบัติของเทพีอาธีน่าไม่นาน หัวหน้าชนชาวฟินิเชีย ชื่อ ซีตรอบส์ ก็ได้พาบริวารอพยพเข้าไปในดินแดนประเทศกรซ และได้ตั้งบ้านเรือนขึ้นที่แคว้น อัตติกา นครใหม่แห่งนี้มีความสวยงามเป็นอันมาก จนเทพและเพทีท้งหลายต่างอยากจะให้ชื่อของตนได้เป็นนามของนครแห่งนี้เทพและเทพีต่างถกเถียงกันในเทพสภาว่าใครควรจะได้สิทธิ์ในการใชชื่อของตนเองเป็นช่อของนครแห่งนี้ หลังจากถกเถียงกันเนิ่นนา เทพและเทพีต่างก็ยอมสละสิทธิ์ เหลือเพียงอาธีน่าและโพไซดอนเพียง 2 องค์ที่ไ่มยอมกัน
เพื่อป้องกันปัญหาลุกลามให่ดต มหาเทพซุสจึงให้โพไซดอนและเทพีอาธีน่าเนรมิตส่ิงที่เป้นประโยชน์ให้นครใหม่ หากเทพสภาเห็นว่าสิ่งเนรมิตของใครมีประดยชน์มากกว่าเทพผุ้เนรมิตก็จะเป็นผุ้ได้รับชัยชนะโพไซดอนเนรมิตน้ำทะเลให้พวยพุ่งเป็นน้ำพุเป็นที่น่าอัศจรรย์แก่ขาวเมือง ่ส่วนเทพีอาธีน่าเนรมิตเพียงต้นมะกอกต้นเดียวเหล่าเทพและเทพีต่างโต้เถียงกันว่า ระหว่างน้ำพุกับต้นมะกอก อย่างไหนจะให้ประโยชน์แก่ชาวเมืองมากกว่ากันฝ่ายที่เข้าข้างโพไซดอนก็ว่าน้ำพุนั้นมีประโยชน์กว่าอีกทั้งน่าอัศจรรย์ในความส่วยงามและความแรงของสายร้ำ ไม่เหมือนต้นมะกอกทีไม่เห็นมีค่าอันใดส่วนฝ่ายที่เข้าข้างเทพีอาธีน่าก็แย้งว่าน้ำพุนั้นวยงามก็จริง แต่มีรสเค็ม ไม่อาจสร้างประโยชน์อันใดด้ ส่วนต้นมะกอกนั้นมีประโยชน์ทั้งผลที่กินได้ให้น้ำมัน และกิ่งก้านใช้ทำฟืนในฤดูหนาวผลการตัดสินของเหล่าเทพบุตและเทพธิดาปรากฎว่าเทพบุตรเลือกน้ำพุของโพไซดอน ส่วนเทพธิดาเลือกต้นมะกอกของเทพีอาธีน่า และนื่องจากเทพธิดามีจำนวนมากกว่าเทพบุตรอยุ่ 1องค์ ต้นมะกอกของเทพีอาธีน่าจึงชนะการแข่งขันเทพีอาะีน่าตั้งชื่อเมืองใหม่นัั้นว่า กรุงเอเธนส์ และต้นมะกอกก็กลายเป็นสัญญลักษณ์แห่งกรุงเอเธอนส์นับแต่นั้นมา
เทพีอาธีน่านั้นมีฝีมือในเื่องการถักทอย่ิงนัก ยากที่มุนษย์ เทพ หรือเทพีองค์ใดจะเทียบได้ แต่ก็มีดรุณีน้อยนางหนึ่งที่บังอาจคิดทาบรัศมีดรุณีน้อยผุ้มีรูปโฉมสะคราญตา ผุ้นั้นชื่อว่า อารัคนี เธอมีฝีมือในการปั่นด้ายและทอผ้าอันนาพิศวง และด้วยความหลงทนงในฝีมือทอผ้าของตน นางถึงกับบังอาจเปรียบเทีียบว่าแม้เทพีอาธีน่าลงมาแข่งด้วยก็อาจพ่ายแพ้นาง อารัคนี้โอ้อวดฝีมือตนเองอยุ่เนืองๆ จนเทพีอาธีน่ารำคาบ ต้องลงมาจากสวรรค์เพื่อลงโทษนางมนุษย์ผุ้นี้เพื่อไมให้ใครอื่นบังอาจดุถูกวงศ์เทพอีก
เทพีอาธีน่าจำแลงองค์เป็นหญิงชรา เดินเข้าไปในบ้านของอารัคนี และวนเธอคุย ชั่วประเดี๋ยวเดียวนางอารัคนีก็เร่ิมุยถึงฝีมือทอผ้าของตน และคุยข่มว่าฝีมือนางนั้นเหนือกว่าเทพีอาธีน่า เทพีอธีน่า ในร่างของหญิงชรากล่าวเตือนนางไม่ให้ล่วงเกินเทพเจ้า แต่อารัคนีไม่สนใจ ยังกล่่าวท้าทายให้เทพีอาธีน่าปรากฎกายมาเพื่อแข่งขันกัน
เทพีอาธีน่าจึลกลับคืนร่างและรับคำท้าของนาง เทพีและนางมนุษย์ผุ้โอหัง ต่างจัดแงตั้งหูก และต่างฝ่ายต่างทอลายผ้าอันวิจิตรขึ้น เทพีอาธีนาทอเป็นลวดลายเนื้อเรื่องตอนที่แข่งกบเทพโพไซดอนเพื่อตั้งชื่อกรุงเอเธนส์ ส่วนอารัคนีทอลายเป็นเรื่องซุสลักาพนางยูโรปา
ครั้นทอเสณ็จ ต่างฝ่ายต่างเาอลายผ้ามาเที่ยงเคยงกัน สาวเจ้าอารัคนีรุ้ทันทีว่าผ้าทอของนางแพ้หลุดลุ่ย ลายรูปโคโลดแล่นลุยไปในทะเลที่มีคลื่นซัดสาดเป็นฟองมีนางยูโรปาเกาะเขาอยู่ ไม่อาจเที่ยบได้กับลายรูปเหล่าเทพที่เหมือมีชีวิตของเทพีอาธีน่าได้
อารัคนีทั้งเจ็บทั้งอาย จึงเอาเชือกมาผูกคอหมายจะฆ่าตัวตาย เทพีอาธีน่าจึงรีบเปลียนร่างของนางให้กลายเป็นแมงมุมและสาปแช่งนางให้ต้องปั่นและทอใยเรื่อยไปไม่มีเวลาหยุด เป็นการเตือนมนุษย์ผุ้ทรนงไม่ให้หลงยกตนขึ้นเที่ยมเหล่าเทพอีก
เรื่องราวความรักของเทพีอาธีน่านั้นมีน้อย เนื่องจากรพะนางเป็นเทพีครองความยริสุทธิ์ จะมีก็เพียงครั้งหนึ่งที่เทพการช่างเฮเฟตัส มาสู่ของเทพีอาธีน่าต่อมมหาเทพ ซุส มหาเทพประทานอนุญาต แต่บอกให้เฮเฟตัสไปทาบทามถามความสัมครใจจาเทพีอาธีน่าเอง
เฮเฟตัสไปพูดขอเทพีอาธีน่าแต่งงานแต่พระนางไม่ยินดีด้วย เทพเฮเฟตัสจึงตรงเข้าไล่ปลุกปล้ำนาง ระหว่างนั้นเฮเฟตัสได้ปล่อยของไม่บริสทุธิ์ให้ตกลงมายังพืนโลก บังเกิดเป็นทารกขึ้นมาคนหนึ่งซึ่งเทพีอาธีน่าก็สงเคราะห์รับทารกนั้นไว้ บรรจุหีบให้งูเฝ้า และส่งมอบให้ธิดาสาวท้าวซีครอบส์ดูแล โดยห้ามเด็ดขามิให้เปิดหีบดู แต่ธดาสาวท้ายซีครอปส์ไม่เชื่อฟัง พยายามจะเปิดหีบ ครั้งเห็นงู เข้าก็ตกใจวิ่งหนีจนตกเขาตาย ทารกนั้นมีชื่อว่า อีริคโธเนียส ซึ่งต่อมาก็ได้้ครองกรุงเอเธนส์ส่วนเทพีอาธีน่านั้นก้ไม่ได้รับการเกี่ยวพาจากเทพองค์ใดอีกเลย
เทพีอาธีน่านั้นมีบทบาทสำคัญในฐานะเป็ฯที่ปรึกษาให้กับมหาเทพซุส พระนางทรงอยู่เคยงข้าเืพ่อคอยให้คำแนะนำแก่ซุสเทพบิดาอยุ่เกือบตลอดเวลา เมื่อรั้งที่ซุสตกใจเตลิดหนีอสูรร้ายไทฟอนไปนั้น ก็ได้เทพีอาธีน่าพูดเตือนสติจนซุสกลับมาต่อสู้กับไทฟอนจนได้รับชัยชนะ ส่วนในดกมนุษย์นั้น เทพีอาธีน่าก็มีบทบาทสำคัญในการช่วยเหลือวีรบุรุษหลายคน คือ ช่วยเฮอร์คิวลิสทำงาน 121 อย่างตามคำสั่งของเทพีเฮร่า ช่วยเพอร์ซีอุสสังหารนางอสูรเมดูซ่า ช่วยโอดีสซีอุสส ให้เดินทางกลับบ้านจากยุทธภูมิทรอยอย่างปลอดภัย ช่วยเตเลมาคัสบุตรชายของโอดีซีอุสให้ตามหาพ่อจนสำเร็จ และในสงครามทรอยนั้นเทพีอาธีน่าก็เป็นต้นเหตุหนึง่ของมหาสงคราม เื่องจากเป็นหนึ่งในสามทเพีที่แย่งชิงตำแหน่งเทพีที่งามที่สุดแห่งสรวงสวรรค์และเมื่อเกิดสงครามกรุงทรอย เทพีอธีน่าก็เข้าร่วมรบอยุ่กับฝ่ายกองทัพกรีก..https://sites.google.com/site/chattarikajomfoo/xarythrrm-krik-boran/6-theph-pkrnam-krik
สมัยที่ซุสโค่นบัลลังก์โครนอส เทพบิดา และไอ้ขอให้มีทิสเทพีแห่งปัญญาผู้เป็ฯธิดาของเทพไททันโอเชียนัสกับทีธิสช่วยทำยาสำรอกบังคับให้โครนอสกลืนกินเพื่อคลายบรรดาพี่ ของซุสออกมาจากท้องได้สำเร็จ จากนั้นซุสก็ได้มีทิสเป็นชายาองค์แรก
แต่เมื่อมีทิสตั้งครรภ์ จอมมารดาไกอาก็พยากรณ์ว่าโอรสของซุสที่เกิดจากมีทิสจะเป็ฯผุ้โค่นลัลังก์ของซุสดุจเดียวกับที่ซุสเคยโค่นบัลลัก์ของโครนอส ซุสกลัวคำพยากรณ์นั้นจึงได้กลืนมิทิสผุ้เป็นชายาลงท้อง และเนื่องจากมีทิสเป็นเทพครองปัญญา เมื่อไปอยู่ในท้องซุสแล้วก็ได้คอยให้คำแนะนำต่างๆ แก่ซุสจากในท้องนั้นเองกาลเวลาผ่านมา วันหนึ่งหนึ่งซุสก็ผวดเศียรอย่างรุนแรง พระองค์จึงเรียกประชุมเทพสภาพเพื่อหาทางรักษาอาการปวดนั้น แต่ไม่มีเทพหรือเทพีองค์ใดรักษาอาการนี้ให้ได้ ซุสจึงตัดสินใจให้เทพองค์หนึ่งข่วยผ่าพระเศียรให้ยังไม่ทันที่รอยแผลยนพระเศียรของจอมเทพที่เกิดจากขวานจามจะแยกออกจากกันดี ก็ปรากฎร่างเทพีองค์หนึ่งผุดออกมาจากรพะเศียรของจอมเทพ เทพีองค์นั้นแต่งกายสวมเกราะแวววาว มือถือหาอและโลห์ ลักษณะพร้อมออกศึก กล่าววาจาประกาศชัยชนะก้องกัมปนาทท่ามกลางความสั่นสะเทือนและเสียงอึกทึกของพสุธาและมหาสมุทร
เทพีที่กำเนินขึ้นองค์นี้คือเทพีอาธีน่า เป็นเทพีแห่งการศึกษและขณะที่เทพีอาธีน่าปรากฎกายขึ้นนันความโฉดเขลาทั้งหลายที่ไม่ปรากฎรูปก็หลีกหนีไป จนหมดสิ้น เทพีอาธีน่าจึงเป้ฯเทพีครองปัญญา
ด้วยอีกอย่างหนึ่ง ซึ่งปัญญาแห่งอาธีน่านั้นคงจะไ้รับถ่ายทอดมาจากมีทิสผุ้เป็นเทพมารดานั่นเอง
ภายหลงการอุบัติของเทพีอาธีน่าไม่นาน หัวหน้าชนชาวฟินิเชีย ชื่อ ซีตรอบส์ ก็ได้พาบริวารอพยพเข้าไปในดินแดนประเทศกรซ และได้ตั้งบ้านเรือนขึ้นที่แคว้น อัตติกา นครใหม่แห่งนี้มีความสวยงามเป็นอันมาก จนเทพและเพทีท้งหลายต่างอยากจะให้ชื่อของตนได้เป็นนามของนครแห่งนี้เทพและเทพีต่างถกเถียงกันในเทพสภาว่าใครควรจะได้สิทธิ์ในการใชชื่อของตนเองเป็นช่อของนครแห่งนี้ หลังจากถกเถียงกันเนิ่นนา เทพและเทพีต่างก็ยอมสละสิทธิ์ เหลือเพียงอาธีน่าและโพไซดอนเพียง 2 องค์ที่ไ่มยอมกัน
เพื่อป้องกันปัญหาลุกลามให่ดต มหาเทพซุสจึงให้โพไซดอนและเทพีอาธีน่าเนรมิตส่ิงที่เป้นประโยชน์ให้นครใหม่ หากเทพสภาเห็นว่าสิ่งเนรมิตของใครมีประดยชน์มากกว่าเทพผุ้เนรมิตก็จะเป็นผุ้ได้รับชัยชนะโพไซดอนเนรมิตน้ำทะเลให้พวยพุ่งเป็นน้ำพุเป็นที่น่าอัศจรรย์แก่ขาวเมือง ่ส่วนเทพีอาธีน่าเนรมิตเพียงต้นมะกอกต้นเดียวเหล่าเทพและเทพีต่างโต้เถียงกันว่า ระหว่างน้ำพุกับต้นมะกอก อย่างไหนจะให้ประโยชน์แก่ชาวเมืองมากกว่ากันฝ่ายที่เข้าข้างโพไซดอนก็ว่าน้ำพุนั้นมีประโยชน์กว่าอีกทั้งน่าอัศจรรย์ในความส่วยงามและความแรงของสายร้ำ ไม่เหมือนต้นมะกอกทีไม่เห็นมีค่าอันใดส่วนฝ่ายที่เข้าข้างเทพีอาธีน่าก็แย้งว่าน้ำพุนั้นวยงามก็จริง แต่มีรสเค็ม ไม่อาจสร้างประโยชน์อันใดด้ ส่วนต้นมะกอกนั้นมีประโยชน์ทั้งผลที่กินได้ให้น้ำมัน และกิ่งก้านใช้ทำฟืนในฤดูหนาวผลการตัดสินของเหล่าเทพบุตและเทพธิดาปรากฎว่าเทพบุตรเลือกน้ำพุของโพไซดอน ส่วนเทพธิดาเลือกต้นมะกอกของเทพีอาธีน่า และนื่องจากเทพธิดามีจำนวนมากกว่าเทพบุตรอยุ่ 1องค์ ต้นมะกอกของเทพีอาธีน่าจึงชนะการแข่งขันเทพีอาะีน่าตั้งชื่อเมืองใหม่นัั้นว่า กรุงเอเธนส์ และต้นมะกอกก็กลายเป็นสัญญลักษณ์แห่งกรุงเอเธอนส์นับแต่นั้นมา
เทพีอาธีน่าจำแลงองค์เป็นหญิงชรา เดินเข้าไปในบ้านของอารัคนี และวนเธอคุย ชั่วประเดี๋ยวเดียวนางอารัคนีก็เร่ิมุยถึงฝีมือทอผ้าของตน และคุยข่มว่าฝีมือนางนั้นเหนือกว่าเทพีอาธีน่า เทพีอธีน่า ในร่างของหญิงชรากล่าวเตือนนางไม่ให้ล่วงเกินเทพเจ้า แต่อารัคนีไม่สนใจ ยังกล่่าวท้าทายให้เทพีอาธีน่าปรากฎกายมาเพื่อแข่งขันกัน
เทพีอาธีน่าจึลกลับคืนร่างและรับคำท้าของนาง เทพีและนางมนุษย์ผุ้โอหัง ต่างจัดแงตั้งหูก และต่างฝ่ายต่างทอลายผ้าอันวิจิตรขึ้น เทพีอาธีนาทอเป็นลวดลายเนื้อเรื่องตอนที่แข่งกบเทพโพไซดอนเพื่อตั้งชื่อกรุงเอเธนส์ ส่วนอารัคนีทอลายเป็นเรื่องซุสลักาพนางยูโรปา
ครั้นทอเสณ็จ ต่างฝ่ายต่างเาอลายผ้ามาเที่ยงเคยงกัน สาวเจ้าอารัคนีรุ้ทันทีว่าผ้าทอของนางแพ้หลุดลุ่ย ลายรูปโคโลดแล่นลุยไปในทะเลที่มีคลื่นซัดสาดเป็นฟองมีนางยูโรปาเกาะเขาอยู่ ไม่อาจเที่ยบได้กับลายรูปเหล่าเทพที่เหมือมีชีวิตของเทพีอาธีน่าได้
อารัคนีทั้งเจ็บทั้งอาย จึงเอาเชือกมาผูกคอหมายจะฆ่าตัวตาย เทพีอาธีน่าจึงรีบเปลียนร่างของนางให้กลายเป็นแมงมุมและสาปแช่งนางให้ต้องปั่นและทอใยเรื่อยไปไม่มีเวลาหยุด เป็นการเตือนมนุษย์ผุ้ทรนงไม่ให้หลงยกตนขึ้นเที่ยมเหล่าเทพอีก
เรื่องราวความรักของเทพีอาธีน่านั้นมีน้อย เนื่องจากรพะนางเป็นเทพีครองความยริสุทธิ์ จะมีก็เพียงครั้งหนึ่งที่เทพการช่างเฮเฟตัส มาสู่ของเทพีอาธีน่าต่อมมหาเทพ ซุส มหาเทพประทานอนุญาต แต่บอกให้เฮเฟตัสไปทาบทามถามความสัมครใจจาเทพีอาธีน่าเอง
เฮเฟตัสไปพูดขอเทพีอาธีน่าแต่งงานแต่พระนางไม่ยินดีด้วย เทพเฮเฟตัสจึงตรงเข้าไล่ปลุกปล้ำนาง ระหว่างนั้นเฮเฟตัสได้ปล่อยของไม่บริสทุธิ์ให้ตกลงมายังพืนโลก บังเกิดเป็นทารกขึ้นมาคนหนึ่งซึ่งเทพีอาธีน่าก็สงเคราะห์รับทารกนั้นไว้ บรรจุหีบให้งูเฝ้า และส่งมอบให้ธิดาสาวท้าวซีครอบส์ดูแล โดยห้ามเด็ดขามิให้เปิดหีบดู แต่ธดาสาวท้ายซีครอปส์ไม่เชื่อฟัง พยายามจะเปิดหีบ ครั้งเห็นงู เข้าก็ตกใจวิ่งหนีจนตกเขาตาย ทารกนั้นมีชื่อว่า อีริคโธเนียส ซึ่งต่อมาก็ได้้ครองกรุงเอเธนส์ส่วนเทพีอาธีน่านั้นก้ไม่ได้รับการเกี่ยวพาจากเทพองค์ใดอีกเลย
เทพีอาธีน่านั้นมีบทบาทสำคัญในฐานะเป็ฯที่ปรึกษาให้กับมหาเทพซุส พระนางทรงอยู่เคยงข้าเืพ่อคอยให้คำแนะนำแก่ซุสเทพบิดาอยุ่เกือบตลอดเวลา เมื่อรั้งที่ซุสตกใจเตลิดหนีอสูรร้ายไทฟอนไปนั้น ก็ได้เทพีอาธีน่าพูดเตือนสติจนซุสกลับมาต่อสู้กับไทฟอนจนได้รับชัยชนะ ส่วนในดกมนุษย์นั้น เทพีอาธีน่าก็มีบทบาทสำคัญในการช่วยเหลือวีรบุรุษหลายคน คือ ช่วยเฮอร์คิวลิสทำงาน 121 อย่างตามคำสั่งของเทพีเฮร่า ช่วยเพอร์ซีอุสสังหารนางอสูรเมดูซ่า ช่วยโอดีสซีอุสส ให้เดินทางกลับบ้านจากยุทธภูมิทรอยอย่างปลอดภัย ช่วยเตเลมาคัสบุตรชายของโอดีซีอุสให้ตามหาพ่อจนสำเร็จ และในสงครามทรอยนั้นเทพีอาธีน่าก็เป็นต้นเหตุหนึง่ของมหาสงคราม เื่องจากเป็นหนึ่งในสามทเพีที่แย่งชิงตำแหน่งเทพีที่งามที่สุดแห่งสรวงสวรรค์และเมื่อเกิดสงครามกรุงทรอย เทพีอธีน่าก็เข้าร่วมรบอยุ่กับฝ่ายกองทัพกรีก..https://sites.google.com/site/chattarikajomfoo/xarythrrm-krik-boran/6-theph-pkrnam-krik
วันอาทิตย์ที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2561
Mythology (Hermes)
เฮอร์มีส เป็นชื่อเทพเจ้าในปกรฌัม เรียกชื่อในตำนานเทพเจ้าโรมันว่า เมอร์คิวรี เป้นเทพผู้
คุ้มครองเหล่านักเดนทาง คนเลี้ยงแกะ โจรผุ้เร่รอน กวี นักกี(ฬา นักประดิษฐ์และพ่อค้า อาจเรียกได้ว่า เฮร์มีส เป็นเทพแห่งการสื่อสาร พระองค์เป็นบุตรของเทพซุส เกิดแต่นางเมยา มีของวิเศษคือหมวกและรองเท้ามีปีก เรียกว่า เพตตะซัส ซึ่งเป็นของขวัญที่ได้รับจากเทพบิดา เพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นเทพสื่สาร
บุตรของเทพเฮร์มีส ได้แก่ เทพแพน เทพเฮอร์มาโฟรไดท้ส และเทพออโตไลคัส เมอร์คิวรี่ รหือ เฮอร์มีส เป็นเทพที่มีผุู้้จักมาก เนื่องจากรูปของท่าน ปรากฎคุ้นตาคนมากว่าเทพองค์อื่นๆ คนมันำรูปเทพองค์นี้หรืออย่างน้อย ก็ของวิเศษอย่างหนึ่งอย่างใด เช่น รองเท้ามีปีก มาแสดงเป็นเครื่องหมายถึงความเร็ซ นอกจากรองเท้า หมวก และไม้ถืออันศักดิ์สิทะิ์ก็มีปีกเช่กัน เมอร์คิวรี่ไปไหนมาไหนได้เร็วถึงขนาดว่ากันว่า "ไปเร็วเพียงความคิด"
หมวก และรองเท้ามีปีกของเอร์มีสนั้น เรียกว่ เพตตะซัส และทะเลเรีย เป็นของที่ได้รบประทานจาก ซุส ซึ่งโปรดให้ท่านเป็นเทพสื่อสารประจำพระองค์ส่วนไม้ถือศักดิ์สิทธิ์เรียกว่ กะดูเซียส เดิมเป็นของเทพอพลอโล ใช้ต้อนวัวควายในครอบครอง ครั้งหนึ่งเฮร์มีสขโมยวัวของ อพอลโลไปซ่อน อพอลโลรู้ระแคะระคาย ดังนั้นจึงมาทวงถามให้เฮอร์มีสคืนวัวที่ขโมยไป เอร์มีสในตอนนั้นยังเยาว์อยุ่แท้ๆ กลบบ้อนถามอย่างน้าตาเฉยว่า วัวอะไร ที่ไหนกัน ไม่เคยเห็นและไม่เคยได้ยิน อพอลโลก็ไปฟ้อง เทพบิดา ซุส ไกล่เกลี่ยให้เฮอร์มีสคือนวัวให้เจ้าของ อพอลโลได้วัวคืนแล้ว ก็ไม่ถือโกรธเทพผุ้นอง แม้ว่าวัวจะขาดจำนวนไป 2 ตัว เพราะเฮอร์มีสเอาไปทำเครื่องสังเวยเสียแล้วก็ตาม อพอลโลเห็ฯเฮร์มีส มีพิณคันหนึ่ง เรียกว่า ไลร์ เป็นของเฮร์มีส ประดิษฐ์ขึ้นเอง ด้วยกระดองเต่า ก็อย่ากได้ จึงเอาไม่กะดูเซียสแลก ไม้ถือกะดูเซียส จึงเป้นของเฮอร์มีส ด้วยเหตุฉะนี้ และถือกันว่า เป็นสัญลักษณ์ ของเฮร์มีสตั้งแต่ครั้งนั้นเป็นต้นมา
ไม้กระดูเซียนนี้ แต่เดิมเป็นไม้ถือมีปีกเพียงอย่างเดียว ต่อมาเฮร์มีสถือไปพบงู 2 ตัว กำลังต่อสู้กัน จึงเอาไม่ทิ่ม เข้าในระหว่างกลาง เพื่อ้กามความวิวาท งูก็เลื้อยขึ้นมาพันอยุ่ดับไม้โดยหันหัวเข้าหากัน ตั้งแต่นั้นมา งูนี้ก็พันอยู่กับไม่ถือกะดุเซียส ตลอดมา และไม่ถือกะดูเซียส ก็กลายเป็นสัญลักษรของความเป็นกลางด้ย ภายหลงได้ใช้เป็น สํยลักษณ์ของวงการแพทย์มาจนบัดนี้
เฮร์มีส ไม่เพีงแต่จะเป็นเทพสือสารของซุสเท่านั้ หากยังเป็นเทพครองการเดินทาง การพาณิชยื และตลาดเป้นที่บูชาของพวกหัวขโมย และมีหน้าที่เป็นมคคุเทศก์คอยนำวิญญาณคนตาย ไปสู่ยมดลกด้วย จนไ้รับนามกร อีกชื่อหนึ่งว่า เฮอร์มีสไซดคปอมปัส สรุปว่าการสื่อสาร และการเป็นคนกลางในกิจการทุกอย่างกเป็ฯภาระของท่าน หรืออยุในความสอดส่องของเท่านทั้งสิ้น ส่วนกาที่เป็นที่นับถือบุชาของพวกขโมยก็คงเนื่องจากขโมยวัว ของอพอลโลนั่นเอง
สิ่งที่น่าแปลกประการหนึ่งในตัวของเฮอร์มีส ก็คือ แม้ว่าจะเป็นโอรสของซุส กับนางเมยา ซึ่งเป็นอนุ แต่ทว่า ทรงเป้นโอรสองค์เดียวของซุสที่ราชินีขีหึง เทวีฮีร่า ไม่เกลียดชัว กลับเรียกหาให้เฮร์มีสอยู่ใกล้ๆ ด้วยเสียอีกทั้ง นี้ อาจเป็นเรพาะบุคลิก และนิสัยของเทพเอร์มีัส ทีชอบช่วยเหลือทุกคน ไม่วาจะเป็นทวยเทพด้วยกัน หรือมนุษย์ธรรมดา
เอร์มีสก็เช่นเดียวกัย เทพบุตรองค์อื่นๆ ตรงที่ไม่ยกย่องเทวีหรือสตรีนางใดเป้นชายา แต่สมัครรักใคร่ไปเรือยๆ นับไม่ถ้วน ว่ากันว่าการที่ขอบเสด็จลงไปในแดนยมโลกบ่อยๆ นั้นเป็นเพราะหลงเสน่ห์ของเทวีเพอร์เซโฟนี ผุ้เป็นชาย ของฮาเดส จ้าวแดนยมโลก ยามขึ้นมาสู่ผืนดินเฮร์มีส ก็รักกับสตรีมนุาย์มาหน้า ที่เป็นที่กล่าวขานได้แก่ อคาคัลลิส ผุ้เป็นธิดาขงท้าวไม่นอส แห่งครต เมื่อขึ้นไปสู่สวรรค์โอลิมปัส ก็เกิดจิตพิศวาสกบเทวีในทำนองรักข้ามรุ่น โดยเฉพาะกบ เฮเคดี และ อโฟร์ไดท์..https://sites.google.com/site/chattarikajomfoo/xarythrrm-krik-boran/6-theph-pkrnam-krik
คุ้มครองเหล่านักเดนทาง คนเลี้ยงแกะ โจรผุ้เร่รอน กวี นักกี(ฬา นักประดิษฐ์และพ่อค้า อาจเรียกได้ว่า เฮร์มีส เป็นเทพแห่งการสื่อสาร พระองค์เป็นบุตรของเทพซุส เกิดแต่นางเมยา มีของวิเศษคือหมวกและรองเท้ามีปีก เรียกว่า เพตตะซัส ซึ่งเป็นของขวัญที่ได้รับจากเทพบิดา เพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นเทพสื่สาร
บุตรของเทพเฮร์มีส ได้แก่ เทพแพน เทพเฮอร์มาโฟรไดท้ส และเทพออโตไลคัส เมอร์คิวรี่ รหือ เฮอร์มีส เป็นเทพที่มีผุู้้จักมาก เนื่องจากรูปของท่าน ปรากฎคุ้นตาคนมากว่าเทพองค์อื่นๆ คนมันำรูปเทพองค์นี้หรืออย่างน้อย ก็ของวิเศษอย่างหนึ่งอย่างใด เช่น รองเท้ามีปีก มาแสดงเป็นเครื่องหมายถึงความเร็ซ นอกจากรองเท้า หมวก และไม้ถืออันศักดิ์สิทะิ์ก็มีปีกเช่กัน เมอร์คิวรี่ไปไหนมาไหนได้เร็วถึงขนาดว่ากันว่า "ไปเร็วเพียงความคิด"
หมวก และรองเท้ามีปีกของเอร์มีสนั้น เรียกว่ เพตตะซัส และทะเลเรีย เป็นของที่ได้รบประทานจาก ซุส ซึ่งโปรดให้ท่านเป็นเทพสื่อสารประจำพระองค์ส่วนไม้ถือศักดิ์สิทธิ์เรียกว่ กะดูเซียส เดิมเป็นของเทพอพลอโล ใช้ต้อนวัวควายในครอบครอง ครั้งหนึ่งเฮร์มีสขโมยวัวของ อพอลโลไปซ่อน อพอลโลรู้ระแคะระคาย ดังนั้นจึงมาทวงถามให้เฮอร์มีสคืนวัวที่ขโมยไป เอร์มีสในตอนนั้นยังเยาว์อยุ่แท้ๆ กลบบ้อนถามอย่างน้าตาเฉยว่า วัวอะไร ที่ไหนกัน ไม่เคยเห็นและไม่เคยได้ยิน อพอลโลก็ไปฟ้อง เทพบิดา ซุส ไกล่เกลี่ยให้เฮอร์มีสคือนวัวให้เจ้าของ อพอลโลได้วัวคืนแล้ว ก็ไม่ถือโกรธเทพผุ้นอง แม้ว่าวัวจะขาดจำนวนไป 2 ตัว เพราะเฮอร์มีสเอาไปทำเครื่องสังเวยเสียแล้วก็ตาม อพอลโลเห็ฯเฮร์มีส มีพิณคันหนึ่ง เรียกว่า ไลร์ เป็นของเฮร์มีส ประดิษฐ์ขึ้นเอง ด้วยกระดองเต่า ก็อย่ากได้ จึงเอาไม่กะดูเซียสแลก ไม้ถือกะดูเซียส จึงเป้นของเฮอร์มีส ด้วยเหตุฉะนี้ และถือกันว่า เป็นสัญลักษณ์ ของเฮร์มีสตั้งแต่ครั้งนั้นเป็นต้นมา
ไม้กระดูเซียนนี้ แต่เดิมเป็นไม้ถือมีปีกเพียงอย่างเดียว ต่อมาเฮร์มีสถือไปพบงู 2 ตัว กำลังต่อสู้กัน จึงเอาไม่ทิ่ม เข้าในระหว่างกลาง เพื่อ้กามความวิวาท งูก็เลื้อยขึ้นมาพันอยุ่ดับไม้โดยหันหัวเข้าหากัน ตั้งแต่นั้นมา งูนี้ก็พันอยู่กับไม่ถือกะดุเซียส ตลอดมา และไม่ถือกะดูเซียส ก็กลายเป็นสัญลักษรของความเป็นกลางด้ย ภายหลงได้ใช้เป็น สํยลักษณ์ของวงการแพทย์มาจนบัดนี้
เฮร์มีส ไม่เพีงแต่จะเป็นเทพสือสารของซุสเท่านั้ หากยังเป็นเทพครองการเดินทาง การพาณิชยื และตลาดเป้นที่บูชาของพวกหัวขโมย และมีหน้าที่เป็นมคคุเทศก์คอยนำวิญญาณคนตาย ไปสู่ยมดลกด้วย จนไ้รับนามกร อีกชื่อหนึ่งว่า เฮอร์มีสไซดคปอมปัส สรุปว่าการสื่อสาร และการเป็นคนกลางในกิจการทุกอย่างกเป็ฯภาระของท่าน หรืออยุในความสอดส่องของเท่านทั้งสิ้น ส่วนกาที่เป็นที่นับถือบุชาของพวกขโมยก็คงเนื่องจากขโมยวัว ของอพอลโลนั่นเอง
สิ่งที่น่าแปลกประการหนึ่งในตัวของเฮอร์มีส ก็คือ แม้ว่าจะเป็นโอรสของซุส กับนางเมยา ซึ่งเป็นอนุ แต่ทว่า ทรงเป้นโอรสองค์เดียวของซุสที่ราชินีขีหึง เทวีฮีร่า ไม่เกลียดชัว กลับเรียกหาให้เฮร์มีสอยู่ใกล้ๆ ด้วยเสียอีกทั้ง นี้ อาจเป็นเรพาะบุคลิก และนิสัยของเทพเอร์มีัส ทีชอบช่วยเหลือทุกคน ไม่วาจะเป็นทวยเทพด้วยกัน หรือมนุษย์ธรรมดา
เอร์มีสก็เช่นเดียวกัย เทพบุตรองค์อื่นๆ ตรงที่ไม่ยกย่องเทวีหรือสตรีนางใดเป้นชายา แต่สมัครรักใคร่ไปเรือยๆ นับไม่ถ้วน ว่ากันว่าการที่ขอบเสด็จลงไปในแดนยมโลกบ่อยๆ นั้นเป็นเพราะหลงเสน่ห์ของเทวีเพอร์เซโฟนี ผุ้เป็นชาย ของฮาเดส จ้าวแดนยมโลก ยามขึ้นมาสู่ผืนดินเฮร์มีส ก็รักกับสตรีมนุาย์มาหน้า ที่เป็นที่กล่าวขานได้แก่ อคาคัลลิส ผุ้เป็นธิดาขงท้าวไม่นอส แห่งครต เมื่อขึ้นไปสู่สวรรค์โอลิมปัส ก็เกิดจิตพิศวาสกบเทวีในทำนองรักข้ามรุ่น โดยเฉพาะกบ เฮเคดี และ อโฟร์ไดท์..https://sites.google.com/site/chattarikajomfoo/xarythrrm-krik-boran/6-theph-pkrnam-krik
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...