Mythology (Dionysus)

              ไดอะไนซัส เป็นเทพเจ้าแห่งการเก็บเกี่ยวองุ่น การทำไวน์และไวน์ ความบ้าคลั่งทางพิธีกรรม
และปิติศานติ์ ในเทพปกรฌัมกรีก
               พระนามของพระองค์ในแผ่นจารึกอักษรไลเนียร์บี แสดงว่าชาวกรีกไม่ซีเนียนอาจมีการบูชาพระองค์ตั้งแต่ประมาณ 1500-1100 ปีก่อนคริสตกาล ร่องรอยลัทธิประเภทไดอะไนเซียพบได้ในปารยธรรมไม่นวนบนเกาะครีต จุดกำเนิดของพระองค์ไม่แน่ชัด และลัทธิของพระองค์มีกลายรูปแบบ แหล่งข้อมูลโบราณบางแหล่งอธิบายว่าเป็นขอวชาวเทรซ บางแหล่งก็อธิบายว่าเป็นของชาวกรีก ในบางลัทธิพระอค์มาจากทางตะวันออกโดยเป็นเรพะจ้าเอเชีย ในลัทธิอืนพระองค์มาจากเอธิโอเปียทางใต้
              พระองค์เป็นเทพเจ้าแห่งการสำแดงอย่างเทพเจ้า และ "ความเป็นต่างประเทศ" ของพระองค์ที่เป็นพระเจ้าที่มาจากต่างแดนอาจสืบทอดและสำคัญต่อลัทธิขอพระองค์
             
พระองคเป็นพระเจ้าหลักและได้รับความนิยมในเทพปกรฌัมและศาสนากรีก และรวมอยู่ในรายพระนามเทวสภาโอลิปัสบ้าง ไดอะไนซัสเป็นพระเจ้าพระองค์สุดท้ายที่ได้รับการยอมรับเช้าสู่ยอดเขาโอลิมปัส พระองค์เป็นพระเจ้าองค์ที่มีพระชามายุ้อยที่่สุดและเป็นพรองค์เีดยวที่ประสูติแก่มารดาที่เป็นมนุษย์ เทศกาลของพระองค์เป้นแรงผลักดันเบื้องหลังการพัฒนาการละครกรีก พระองค์เป็ตัวอย่าของพระเจ้าที่กำลังสวรรคต (dying god)
              พระองค์มีอีกพระนามหนึ่งว่า แบคัส ซึ่งเป็นพระนามที่ชาวโรมันรับไป ช่อกระจุกแยกแขนง ของพรองค์บางครั้งมีถาไม้เลื้อยพันและมีน้ำฝึ้งไหลเป็นหยด ซึ่งเป้นไม้ถือที่มีประดยชน์ แต่ัยังเป็นอาวุธได้ด้วย และสามารถใช้ทำลายผุ้ที่ต่อต้านลัทธิของพระองค์และเสรีภาพซึ่งพระองค์เป้นตัวแทน พระองค์ยังทรงถุกเรียกว่ ผุ้ปลดปล่อย ที่ปลดปล่อยส่วนลึกของตนเองโดยทำให้คลั่ง หรือให้มีความสุขอย่างล้นเหลือหรือด้วยเหล้าองุ่น นักวิชาการถกเถียงกันเรื่องความสัมพันะ์ระหว่างไดอะไนซัสกับ "คตินิยมเกี่ยวกับวิญญาณ" และความสามารถในการติดต่อระหว่าผุ้ยังมีชีวิตอยู่และผุ้ที่ตายไปhttps://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%99%E0%B8%8B%E0%B8%B1%E0%B8%AA
แล้ว...
               แบกดัส รหือ ไดโอนีซัส ตามชื่อกรีก ำด้รับการยกย่องเป็นเทพองค์หนึ่งในคณะเทพโอลิมเปียน และเป็นที่นับถือของชนทั้งหลายในฐานะเทพผุ้พบและครองผลองุ่น ต่อมาเป็นเทพครองน้ำองุ่นตลอดจรความเมาเนื่องจากการดื่มน้ำองุ่นด้วย
               ไดโอนิซัส เป็นบุตรของซุส กับนาง สีมิลี ธดาของแคดมัสผุ้สร้างเมืองธีบส์ กับนางเฮาร์ไม่โอนี การกำเนิดของเทพไดโอนิซัสนับว่าน่าสงสารทีเดียว เหตุเพราะความหึงหวงของเจ้ามแ่ฮีร่า กล่าวคือ เมื่อเทพซุส ไปเกิดมีความปฎิพัทธ์พิศวาสนางสีมิลี จึงได้จำแลงองค์เป็นมานพลงมาแทะโลมและสมสู่ด้วย ถึง แม้ว่านางจะได้รับแต่คำบอกเล่าของมานพ โดยไม่มีอะไรพิสูจน์ว่ามานพนั้นคือเทพไท้ซุส นางก็พอใจและปิติยินดีไม่ติดใจ สงสัยอันใด ไม่ช้าเรื่องพิศวาสระหว่างซุสกับนางสีมิลีก็แพร่งพรายไปถึงเจาแม่ฮีร่าผุ้หึงหวง เจ้าแม่มุงมั่นจะให้เรื่องนี้ ยุติทันที จึคงจำแลงองค์เป็นนางพี่เลี้ยงแ่ของสีมิลีเข้าไปในห้องของนาง และชวนคุย พอได้มีโอกาสก็ซักเรื่องเกี่ยวโยงไปถึง เรื่องความรักของนาง และออกอุบายให้นางหลงเชื้อเกี่ยวกับ
ประวัติอันนาสงสัยของมานพผุ้นั้นว่าจะเป็นซุสจำแลงมจริงหรือไม่ โดยให้มานพน้้นปรากฎกายให้เห็นในลักษณะของเทพเจ้า ซึ่งนางสิมีลีก็หลงเชื่อในที่สุดและตกลงใจที่จะกระทำตามที่พี่เลี้ยงแก่แนะนำ เมื่อซุสเสด็จลงมาอีก นางสีมิลีจึงหว่านล้อมให้ไท้เธอสาบาน โดยอ้างแม่น้ำสติกซ์เป็นทิพยพยานว่าไท้เธอจะโปรด ประทานฉันทานุมัติตามคำขอของนางประการหนึ่ง ครั้นไท้เธอสาบานแล้วนางก็ทูลความประสงค์ของนางให้ทราบ ซุสถึงกับตกตะลึงดวยคิดไม่ถึงว่านางจะทูลของในข้อฉกรรจ์ถึงเพียงนี้ ไท้เธอตระหนักดีว่า ถ้าไท้เธอสำแดงองค์ให้ปรากฎตามจริง ก็จะทำให้นางสีมิลีผุ้เป็นปุถุชนไม่อาจมีชีวิตได้ แต่อย่างไรก็ดี ซุสก็มีพันธะที่จะต้องปกิบัติตามสาบานอย่าง เคร่งครัด ไม่มีทางจะบ่ายเบี่ยงได้ ด้วยการละเมิดคำสาบานซึ่งอ้างแม่น้ำสติกซ์อันศักดิ์สิทธิ์เป้ฯทิพยพยานนั้นย่อมบังเกิดผล ร้ายกับเทพผุ้สาบานทุกองค์เหมือนกันหมด ไม่มีข้อยกเว้น แม้แต่กับซุสเอง ซุสเนนรมิตองค์ฝให้ปรากฎ
ตามลักษณะประกอบด้วยทิพยาภิสังขารอันเป็นจริง พอนางสีมิลีได้เห็นภาพของซุส ด้วยตาอันพร่าพราว นางก็ถึงแ่ล้มกลิ้งด้วยไม่อาจทนต่อทิพยอำนาจของซุสได้ และในชั่วพริบตาก็บังเกิดไฟลุกขึ้นเผา ผลาญนางให้วอดวายหลายเป็นจุณไป ในขณะนั้นนางสีมิลีทรงครรภ์อยู่ แม้ซุสไม่อาจช่วยชีวิตของนางไว้ได้ แต่ก็ยังสามารถ ช่วยบุตรได้ซุสฉวยทารกออกจากไฟ ไว้ในต้นชานุมณฑ,ของของไท้เธอเอง ทารกคงอยุ่ในที่นั้นต่อจากที่ได้อยู่ในครรภ์ มารดามาแล้ว จนครบกำหนดคลอด ซส จึงเอาทารกออก มอบให้นางอัปสรพวกหนึ่งเรียกว่า ไนสยาดีส เป็นผุ้อนุบาล นางอัปสรพวกนี้เอาใจใส่อนุบาลทารกอย่างทุนุถนอมเป็น อย่างดี ซุสจึงโปรดเนรมิตให้กลายเป็นหลุ่มดาวหน่ง เรียกว่า ไฮยาดีส ส่วนทารกน้อยผุ้ที่ถุกนางอัปสรเลี้ยงดุ มีชื่อว่าไดโอนิซัส หรือแบกดัส นั้น แม้ว่ากำเนิดแม้จริงของไดโอนิซัสจะเ็นกึ่งมุษย์กึ่งเทพ แต่ก็ได้รับการยอมรับให้เป็นเทพอย่าง สมบุรณื มีความเป้นอมฤตภาพเช่นเีดยวกับเหล่าเทพสภาพอื่นๆ บนสวรรค์ชั้นโอลิมปัส แต่ไดโอนิซัสรักที่จะ เดินทางท่องเที่ยวไปบนผืนดินอันกว้างขวางมากกว่า ไปทางไหน ก็นำความชุ่มชื้นแห้งสุราเมรัยติดไปด้วย คนที่มองเห็นคุณความดีของเะอพาอันเคารพนับถือ ส่วนคนที่ดูถูกเหยียดหยามมักถูกลงโทษ ในฐานะที่เพี่ง จะดำรงตำแหน่งเทพ ไดโอนิซัสไม่ปรสบความสำเร็จในการทำให้ คนนับถือสักเท่าใดนักครั้นเวลาผ่านไป และคุณกับโทษของเธอเป็นที่ประจักษ์ชัดขึ้นมนุษย์ ส่วนใหย๋จึงพากันเคารพนับถือ และสร้างวิหารถวายแด่เมรัยเทพเป็นการใหญ่
         
ไดโอนิซัส ทำให้พื้ดิสะพรั่งไปด้วยวุ่นรสเลิศทีรงคุรปรธยชน์มากหลา ทำให้ผุ้คนอิ่มหนำ แมละชื่นบาน แต่มีลหายครั้งที่ไดโอนิซัสทำคนหลายเป็นวิกลจริตอย่างน่าสมเพช ในจำนวนนี้มีสตรีกลุ่ม หนึ่งซึ่งเรียกว่า เมนาดส์ ซึ่งถูกพิษของเมรัย ทำให้เป็นบ้าหมดสติไปทุกคน ต่างกระโด โลดเต้นร้องรำทำเพลงไปตามป่าเขชาลำเนาไพร อย่างขาดสติ บางครั้งก็มาห้อมล้อมติดสอยห้อยตามไดโอนิซัส ไปด้วย ต่อมาในยุคโรมันเมื่อไดโอนิซัสได้รับชือเป้ฯภาษาละติน แบกคัส คณะนนางสติไม่ สมบุรณ์เหล่าสติรีก็ไม่รับชื่อใหม่ว่า แบกคันทัส จึงออกจะเป้นภาพที่ประหลาดมากที่ชาย หนุ่มรูปางามคนหนึ่งจะเดินทางไปไหนๆ โดยแวดล้อมด้วยผุ้หญิงบ้า
             เรื่องราวความรักของไดโอนิซัสก็มีล้าง แต่เป็นรักที่ลงเอยด้สวยความเศร้าสลด คือเธอไปพบ
และช่วยเหลือนาง อาริแอดนี ธิดาเจ้ากรุงครีตไว้ได้ อารีแอดนี ะิดาของท้ยช้าวาว ไมนอส แห่งนครครีต ซึ่งเลี้ยงอสูรร้ายชื่อ มอโนทอร์เอาไว้ใต้ดิน เมือ่วิรีบุรุษ ธีลิอัสเดินทางไปครีตเื่อเป็นเหยื่อแก่มิดนทอร์ นวลอนงค์ ก็เกิดมีใจปฎฎพัทธ์กับเจ้าชราย หนุ่ม จึงหาทางช่วยเลหือและพาหนีออกาเกาะครตได้สำเร็จ แต่ทว่านางถูกทอดท้องไว้เดียวดายบนเกาะร้างแห่งหนึ่ง  ไดโอนิซัส ไปพบเข้าจึงเกิดความสงารและรักนาง แต่รักได้ไม่นาน อารีแอดนี้ก็ตายลง ไดโอนิซัสสุดเสียใจนัก จึงไม่มีรักใหม่อีกเลย ตัวของไดโอนิซัสเองก็มีชีวิตแสนเศร้าพอๆ กับรักของเธอเอง ใดรคิดบ้างว่า เทพที่มีกายเป็นอมฤตภาพก็มีโอกาสตายได้เช่นกัน นักกวีขาวกรีกโบราณเขาเขียนขึ้นตามความเป็นจริงของต้นองุ่น
             กล่าวคื อเมื่อถึงฤดุเกฐอุง่นชาวบ้านจะฟันเอากิ่งที่มีองุ่นติดเต็มไปหมด เหลือว้แต่จต้นโดดเดียว มองดุแล้วน่า สะพรึงกลัว เพราะมีแต่ลำต้นลุ่นๆ ปราศจากก่ิงก้านสาขา แต่ไม่นานเมื่อเวลาผ่านไป ต้นองุ่นก็ค่อยๆ ฟื้นตัวกลับแตกแยก ก่ิงก้านและใบสวยงาม ต่อจากนั้นก็ผลิดอกออกผลของมัน แต่ไม่นานาหนัก เทพไดโอนิซัสก็จับฟื้นคืนชีพขึ้นมาใหม่ ก็ ในเวลาที่เธอฟื้นจากความตายนี้แหละ ที่ใครๆ ทั้ง
เทวดาและมนุษย์ต่างก็ชื่นชมยินดี และจัดงานรื่นเร่ิงฉลองรับขวัญกัน เอิกเกริก และจาการตายนี้เองไดโอนิซัสได้ช่วยเหลือมารดาที่เธอไม่เคยเห็นหน้ามาก่อนจากหัตถ์ของยมเทพ และนำ ขึ้นสถิตอยุ่บนสวรรค์ชั้นโอลิมปัสได้อย่างปลอดภัย
             เรื่องมันมีอยุ๋ว่า... เทพไดโอนิซัส ได้ติดตาหามารดาในปรโลกเมื่อพบเแล้้วเธอก็ของนางคืน มาจากยมเทพฮาเดส แต่มัจจุราชไม่ยินยอม จนเกิดการโต้เถียงกันว่าใครจะเหนือกว่าใคร ไดโอนิซัส บอกคำเดียวว่า ตนนั้นเหนือกว่ามัจจุราช เพราะเธอสามารถตายแล้วคืนชีพได้อีก ไม่เคยมีเทพองค์ใดกระทำได้อย่างเธอเลยเทพฮาเดสเห็นจริงตามนั้น  ก็ยอมมอบนางสิมิลีให้บุตรชายพาออกจากแดนบาดาลไป เทพไดฮนิซัสจึงพามารดาขึ้นสวรรค์บนโอลิมปัส ที่นั้นเหล่าเทพ น้อยใหญ่ต่างต้นรับนางสิมิลีเป็นอย่างดี โดยที่นางเป็นอมตคนเดียว ที่อยุ่ทมกลางอมตเทพ ทั้งปวง และฮีร่าเทวีก็ทำอะไรมิได้อีก
            ไดโอนิซัส หรือ ไดโอนอส หรือ แบคชัส ในเทพนิยายกรีกและดรมัน นอกจากถือว่าเป็นเทพเจ้าแหงไวน์แล้ว ยังรวมถึงเทพผุ้นำความเจริญะารยธรรม ผุ้สร้างกฎระเบียบและผุ้รักสันติ และรวมทั้งความอดมสมบูรณ์ทางการเกษตร และเรือยอไถึงการละคร
             ในตำนานกรีก บ้างก็ว่า ไดโอนิซัส เป็นบุตรของเทพ ซุส และนาง สิมีลี บ้างก็ว่าเป็นบุตรแห่ง ซุส และเพอร์เซบโพนี่ วัวตัวผุ้ งูใหญ่ ต้นไอวี่และไวน์ถูกนำมาเป็นสัญลักษณ์แห่งเทพ และนอกจากนี้มักจะออกมาในภาพของเทพผุ้ขี่เสือดาว เป็นพาหนุ สวนใส่อาภรณ์หนัะงเสือดาว หรือในภาพของเทพผุ้รงราชรถ ที่ชักลากโดยเสือดำ ในบางแห่งขนานนามเทพผุ้นี้ในนาม เทพแห่งเล่าหญิงเลวและคนป่าเถือน ก็มี..
sites.google.com/site/chattarikajomfoo/xarythrrm-krik-boran/6-theph-pkrnam-krik
         

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)