เนียนกับแม่น้ำจอร์แดน และดินแดนใกล้เคียงต่างๆ นักเขียนกรีกโลราณเป็นผู้เร่ิมใช้ขื่อนี้ ต่อมาใช้เป้นชือของมณฑลซีเรียปาเลสตีนาของโรมัน และต่อมาอยุ่ในการครอยครองขอวจักวรริไบแซนไททน์และดินแดนของอิสลามตามลำดับ ภูมิภาคดังกล่าวประกอบด้วยภูมิภาคที่เรียกว่าแผ่นดินอิสราเอล แป่นดินศักดิ์สิทธิ์หรือแฟ่นดินแห่งพระสัญญานพระคัมภีร์ไบเบิลและป้นส่วนได้ของอาณาบริเวณที่ใหย่กว่าเช่น คานาอัน ซีเรีย อัชขาม และลิแวนด์
บริเวณที่เป็นรอยต่ของอิยิปต์ ซีเรียและอาราเบีย และเป็นที่กำเนิดของศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์ เป็นทางแพร่งของศาสนา วัฒนธรรม การพาณิชย์และการเมือง มีการผลัดเปลี่ยนมือกับตลอดประวัติศาสตร์
พรมแดนของภูมิภาคนี้เปลี่ยนแปลงคลอดประวัติศาสตร์ และนิยามในสัยใหม่ล่าสุดโดยความตกลงพรมแดนฝรั่งเศสอังกฤษ 1920 และรายงานทราส์จอรืแดน วัตนที่ 16 กัยายน 1922 ระหว่างสมัยใต้อาณัติ ปัจจุบัน ภูมิภาคดังกล่าวประกอบด้วยรัฐอิสราเอล และดินแดนปาเลสไตน์
หมายเหตุ แผ่นดินศักดิ์สิทธิหรือแผ่นดิอนแห่งพระสัญญา หรือแผ่นดินซึ่งพระเจ้าทรงสัญญาไว้ เป้นดินแดนซึ่งคัมภีร์ฮิบบรูระบุว่ พระเป็นเจ้ารงสัญญาว่าประทานให้แก่อับราฮัมและลูกหลานของเขา
คานาอัน คือภูมิภาคและอารยะรรมที่พูดภาษากลุ่มเซมิดิในลิแวนด์ตอนใต้ในตะวันออกใกล้โบราณเมื่อช่วงปลายสหัสวรรษที่ 2 ก่อนคริสต์ศักรารช คานาอันมีความสำคัญางภูมิศรัฐศาสตร์อย่างมากในยุคสัมฤทธิ์ตอนปลาย สมัยอามาร์นา (ศตวรรษที่ 14 ก่อนคริสตกาล) เนื่องจากป้นพื้นที่ที่เขตอิทธิพลของ อิยิปต์.ฮิดไทด์.มิดันนี และจักรวรรดิอัสซีเรียบรรจบกันหรือทับซ้อนกัน ข้อมูลเดกี่ยวกับคานาอันในปัจจุบันส่นมากมาจาการขุดต้นทางงดบราณคดีในพื้นที่ ชื่อ "คานาอัน" ที่ปรากฎทั่วไปคัมภีร์ไบเบิลในฐานะพื้นฐานทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้อกับ "แผ่นดินแห่งพระสัญญา" ส่วนชื่อเรียกว่า "ชาวคานาอัน" ทำหน้าที่เป็นคำที่เรียกครอบคลุมกลุ่มชาติพันธ์มีการใช้งานมากที่สุดในคัมภีร์ไบเบิล มาร์ สมิธ นักวิขาการคัมภีร์ไบเบิลอ้างการค้นพบทางโบราณคดี ดดยกล่าวแนว่า "วัฒนะรรมอิสราเอลส่นใหญ่ทับซ้อนและรับมาจากวัฒนธรรมคานาอัน..
ปาเลสไตน์ในอาณัติ เป็นน่วนภฺมรัฐศาสตร์ ภายใต้การดูแลของสหราช อาณาจักร ในส่วนที่เป้นเขตจักรวรรดิออตโตามันและซีเรียตอนใต้ ภายหลังจากสงครามดลกครั้งทีั่ 1
ก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที 1 ปาเลสไตน์เป็นดินแดนที่อยุ่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิออตโตมัน และระหว่างสงครามโลกครั้งที่ มีสัยญาหลายฉบับที่ยอปาเลสไตน์ใหกับฝ่ายต่างๆ กล่าวคื อตามข้อตกลง ซิกเคส-พิคอท Sykes-Picot Agreement ในเดือนพฤษภาคม 1916 ข้อตกลงดังกล่าวเป็นสัญญญร่วมระหว่าง อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัเซีย มีใจความสสำคัญคือปาเลสไตน์จะต้องอยุ่ภายใต้การควบคุมของฝรั่งเศสเมืองสิ้นสงคราม นอกจากสัญญาดังกล่วตา คำประกาศบัลฟอร์ ในดือนพฤศจิการยน 1917 ปาเลสไตน์ก็จะถูกสร้างให้ป็น้านเกิดเมืองนอนสำหรับชาวยิว และในจดหมายแลกเปลี่ยนระหวางฮุสเซนและแมคามาฮอน Husain-McMahon Correspondence ระหว่าง 1915-1916 ซึ่งเป็นจดหมายระหว่างอังกฤษกับผู้แทนอาหรับระบุข้อความว่า ปาเลสไตน์จะตกป็นของชาวอาหรับ ครั้งเมือสงครามยุติลงอังกฤษก็พยาวยามจะควบคุมดินแดนนี้ ส่วน่ายอื่นๆ ตามสัญญาดังกล่าวก็พยายามที่จะรักษาสิทธิของตน มีการปะทะกันทางการทูตระหวางอังกฤษและฝรั่งเศสซึ่งฝ่ายหลังกล่าวหาว่า อังฏกฝฟษไม่ซื่อสัตย์ในประเด็นปาเลสไตน์ ซีเรีย และโมซุลแต่ปัญหานี้ยุติลงในที่ประชุมสันติภาพที่ปารีส Paris peace Conference ในปี 1920 โดยที่ประชุมมีมติให้ปาเลสไตน์เป็นดินแดนในอาณัติของอังกฤษภายใต้สันนิบาตชาติ ดังนั้นจึงเหลงื่ออยุ่อีก 2 พวกที่ไมพอใจคำอนุมัติดังกล่าว นั้นคือ ไซออนนิสต์และอาหรับ การครอบครองของอังกฤษในปเลสไตน์ยากลำบากมาก อังกฤษประสบปัญหาหลายประการโดยเฉพาะความต้องการของยิวแลอาหรับแ้อังกฤษจะปกครองนอนถึง 30 แต่ก็ไม่สามารถแก้ปัยหาปาเลสไตน์ได้เลบย
นับตั้งแต่รเ่ิมชาวอาหรับเกี่ยวข้องเพียงเล็กน้อยกับการขัดขวางไซออนนิสต์อย่างน้อยก็น้อยกว่าฝรั่งเศส ผู้นำอาหรับแห่งซีเรย อามิร์ ไฟซาล มีความคิดว่าถ้าพระองค์เป็นใฝ่ายเดียวกับไซออนนิสต์แล้ว ฝฝร่งเหสศก็อาจละทิ้งการเรียกร้องอิทธิพในวีเรีย ไฟซาลตกลงกับ ดร.ไวซแมน ผู้นำชาวยิว โดยพระองค์จะเป็นตัวแทนยองอาหรับในการทำงานร่วมกับไซออนนิสต์เพื่อทำให้จุดมุ่งหมายบของ2 ฝ่ายปบรรลุเป้าหมาย อย่างไรก็ตาม การประชุมอาหรับคองเกรส ที่ดามัสกัสในซีเรียได้ฝดต้ตอบใจความตามข้อตกลงดังกล่าว โดยแย้งว่า ไเราได้พิจารณาการเรียกร้องของไซออนนิสต์เหมือนกับการข่มขู่ต่อชีวิตเศรษฐกิจ การเมือง และชาติของเรา พลเมืองยิวเพื่อขของเราจะสามารถชื่นชมสิทธิของเขต่อไป ส่วนเราก็ต้องแบกภาระความรับผิดชอบของเราต่อไป"
แต่ในดิอน กรกฏาคม 1920 กองทัพฝรั่งเศสได้บุกซีเรียยึดดามัสกัสและปลดรัฐาลอาหรับ พระเจ้าไฟซาลถูกขับไล่ชาวอาหรับในปาเลสไตน์จึงต้องแสวงหารัฐบุรุษคนใหม่
ขณะเดียวกันปัญหาต่างๆเร่ิมปรากฎ อาทิ การบริหารงานอยุ่ในความสับสนวุ่นวาย โดยเฉพาะปัญหาเรืองใครจะเป็นเจ้าของแผ่นดินเมื่อสิ้นสุดการปกครองของออตโตมัน ปาเลสไตน์ก็ประสบปัญหาการขาดบุคคลากรที่ทำงานบริหารบ้านเมือง เจ้าของที่ดินที่เป้นชาวต่างชาติก็ยังคงอยู่ในที่ดิน ดดยอ้างว่่าตนได้ซื้อที่ดินอย่างถูกต้อง ตั้งแต่สมัยที่ปาเลสไตน์เป็นดินแดนของของจักรวรรดิดออตโตมัน ซซซึ่งเป็นปัญหาที่อังกฤษประสบและยากแก่การแก้ไขตลอดยุคการปกครองของอังกฤษ
ที่มา : วิกิพีเดีย
http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390/hi390-part2-4.pdf