" ประเทศมาเลเซียเป็นหนึ่งในประทเศที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุืศุง จงมีโครงสร้างทางสังคมที่เรียกว่า ไพหุสังคม" สัดส่วนประชาการมาเลเซียส่วนใหย่จะเป็นชาวมลายู ชาวจีน ชาวอินเดีย และชาติพะนธุ์อื่นๆ ตามลำดับ ดดยชาวมลายูซึ่งเป็นชนชาติส่วนใหย่มาเลเซ๊ยมีความผูกพันธ์กับศาสนาอิสลามอย่างแยกกันไม่ขาด มาเลเซียตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน มีการต่่อสู้และแยงชิงพื้นที่ทางสังคมและอัตลักษณ์มาดดยเสมอ ศาสนาอิสลามซึ่งเป็นศาสนาประจำชาติ ถูกทำให้เป็เครื่องมือทางการเมืองในกาารต่อรองผลประโยชน์และการสร้างอัตลักษณ์ แม้มาเลเซียไม่ใช้รัฐอิสลามเต็มรูปแบบแต่ก็ไม่อาจปฏิเสธได้ว่าศาสนาอิสลามคือตัวแปรสำคัญในการขับเคลื่อนการเมือง เศราฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของมาเเ,ีย "อิสลาม กการเมือง Political Islam คือกรอบแนวคิดหรือชุดความคิดของอิสลามที่เข้ามาีมีอิทธิพลต่การเมืองและกิจกรรมทางการเมือง ซึ่งเป็นการอะิบายปรากฎการณ์สมัยใหม่ที่ใช้ศาสนาอิสลามมากำหนดกรอบทางการเมือง....
....กระแสของอิสลามการเมืองได้ผันเปลี่ยนสู่ความเป้นใหม่มากขึ้น ซึ่งสถานการณ์โลกในขณะนั้นเกิดความหวาดกลัวต่อชนชาติมุสลิมเนื่องจากเหตุการก่อการร้าย 911 ในสหรัฐอเมริกา ในสมัยนั้นมาเลเซียจึงพยายามกำหนดรูปแบบของมุสลิมที่ไม่แข็.กร้าว นายกบาดาวีได้มีการจัดทำแนวคิดอิสลามสมัยใหม่ หรือ Islam Hadhari ซึ่งแนวคิดดังกลบ่าวเป้นการนำเสนอความนำสมัยของโลกมุลิม ดดยท้ายที่สุดแนวคิดดังกล่าวได้รับการยอมรับและสามารถลบภาพความนรุนแรงของมุสลิมลงได้ อย่างไรก็ตามในเวลาต่อมา แนวคิดนี้ถูกมองว่าเป็นเครื่องมือในการลงดทษกลุ่มคนที่ไม่ใช่มุสลิม ทำให้ถูกยกเลิกไปในที่สุด แระแสอิสลามการมืองค่อยๆ แผ่วเบาลงในสมัยของนาย นาจิบ ราซัคจนถึงปัจจุบัน..." (ที่มา : https://researchcafe.tsri.or.th/malaysian-society/)
"ศาสนากับอัตลักษณ์เชิงชาติพันธ์และความขัดแย้งระหว่างชนชั้น การผนวกเข้าด้วยกันเป็น ไบังซาโมโร"
.....เหตการสำคัญที่ทำให้ชาวมุสลิมเร่ิมตั้งคำถามต่อตำแหน่งแห่งนดที่ของตนเองในสังคมฟิลิปินส์ที่ครองอำนาจโดยชาวฟิลิปินส์คริเตียน คือ เหตุการที่เรียกว่ากานรสังหารหมู่จาบิดะห์ ไจาบิดะห์" เป็นชื่อโครงการหน่วนรบพิเศษที่รัฐบาลมาร์กาตตั้งขึ้น โดยมุ่งหมายไม่ให้ปรากฎความเชื่อมโยงกับกองทัพฟิลิปินส์ ว่ากันว่าเป็นหน่วนรบที่มาร์การมุ่งจะใช้เพื่อบุกโจมตีและอ้างสิทธิเหนือรัฐซาบาห์ ดินแดนที่เป็นของมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียว โดยกองกำลังทหารที่เกณฑ์มาฝึกเป็นชาวมุสลิมจากแถบมินดาเนาและซูลู หนึ่งในผู้รอดชีวิตจากการสังหารหมู่กล่าวว่ ภายใต้สถานการณ์การฝึกที่ย่ำแย่และการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมทหารเกณฑืเร่ิมไม่พอใจและเรียกร้องที่จะกลับบ้าน การณ์กลับกลายเป็นว่านายทหารเกณฑ์อย่างน้อย 14 คน(หรืออาจมากถึง 28 คน) ถูกสังหารโดยปราศจาการไต่สวนในค่ายฝึกบนเกาะกอร์เรกิดอร์ในช่วง ปี 1968 เหตุุการณ์ดังกล่าวคล้ายเป็นการจุดชนวนความขัแย้งระหว่างขาวมุสลิมและรัฐบาลกลางที่นำฃกลางที่นำโดยชาวคริสเตียน นำปสู่การชุนมุนประท้วงอยางต่อเนื่องของนักศึกษาในมะลิลา และเชื่อได้ว่ามีส่นอย่างมากในปัญญาชนมุสลิมรุ่นใหม่เข้าไปามมีส่วนร่วกับ MIM ที่ก่อตั้งในปีเดียวกัน
ต้นปี 1969 กลุ่มแกนนำเครือข่ายส่วนหนึ่งที่ประกอบด้วย นูร์ มิสวารี และ ราซิค ลุคมัน นัการเมืองมุสลิมฝ่ายเดียวกับเปินดาตุน เห็นว่าควรมีการฝึกหน่วนรบแบบกองโจรขึ้น
ช่วงต้นทศวรรษ 1970 ความยัดแย้งและความรุนแรงใรระดับท้องถ่ินระหว่างชาวมุสลิมและชาวคริสเตียนในภุมิภาคมินดาเนา ดดยเฉพาะอย่างยิ่งในแถบโตาบาโต ก็ผลักดันให้ชาวมุสลิมที่ไม่ใช่พวกชนชั้นนำเข้ามามีส่วนร่วมกับขบวนการแบ่งแยกดินแดนมากขึ้นเป็นลำดับ เรื่อยมาจนถึงการเกิดขึ้น ของชบวนการใต้ดิน "แนวร่วมปลดแปล่ยแห่งชาิตโมโร่" ซึ่งก่อตั้งดดย นูร์ มิสวารี
อย่างไรก็ตาม ควรกล่าวด้วยว่า ความขัดแย้งไม่ได้มีพื้นฐานมาจากศาสนาหรือชาติธุ์ในตัวเอง แต่มีคุณักษณะทางชนชั้นอยุ่มาก กล่าวคื้อ กลุ่มผุ้มีอิทธพลนอกกฎหมายชาวคริสต์็ก็มุ่งโจมตีชาวไร่ชาวนามุสลิม และในทางกลับกัน กลุ่มผุ้มีอิทธิพลนอกกฎหมายชาวมุสลิมก็มีการโจมตีชาวไร่ขาวนาชาวคริสต์เช่นกัน กระนั้นก็ตาม แม้ไม่มีหลักฐานว่ากองกำลังติดอาวุธชาวคริสต์เตียนที่โจมตีชาวบ้านมุสลิมนนั้นจะได้รับการสนับสนุนจากผุ้มีอำนาจรัฐ แต่เหตุกาณ์ความรุนแรงต่อชาวบ้านมุสลิมก็ชาวนให้ประชาชนเชื่อว่ารัฐบาลฟิลิปินส์เองเป็นผู้หนุนหลัง..... (ที่มา : https://www.the101.world/sea-history-of-losers-bangsamoro-2/)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น