วันจันทร์ที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Palestine : British Mandate of Palestine

           ปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองของอังกฤษ

           - รัฐบาลพลเรือน เซอร์ เฮอร์เบิร์ด แซมวบ ข้าหลวงใหญ่คนแรกองรฐบาลอาณัติ ซึ่งเป็นฝ่่ายพลเรือน ได้เปิดให้มีการซื้อขายที่ดินได้ การซื้อที่ดินครั้งแรกกระทโดยมูลนิธิยิวและบริษัทพัฒนาปาเลสไตน์ ที่ดิน ที่ซื้อเป็นพื้นที่รอบหมู่บ้านอาหรับ 7 แห่งในเมืองแกลิลี และท่านเซอร์ยังกลายป็นผู฿้สนับสนุนไซออนนิสต์คนสำคัญในอังกฤษระหว่างเกิดสงครา ได้จดโควต้าการอพยพของชาวยิว กว่าหมื่ือนหกพันคนนปีแรก ซึ่งกอ่นหน้านั้นมีการปะทะกันระหว่างยิวและอาหรัในปาเลสไตน์ ต่อมาปี 1921 ชาวอาหรับขับไล่าวยิวและฝโจมตีหมู่ย้านของชาวยิวการอพยพต้องหยุดชะงัก ชาวอาหรับเกรงว่าเมื่อประชากรยิวเพื่อมขึ้น ในไม่ช้าประเทศยิวจะต้องถุกก่อตั้งขึ้น แต่ในเดื อนต่อมาการอพยพก็ดำเนินต่อไป ปี 1921 ปัญหาปาเลสไตน์ที่เห็นชัดก็คือ รัฐบาลอาณัติของอังกฤษต้องยอมรับถึงความรุนแกรงและยุติการอพยพชัวคราว ในปี 1922 ข้าหลวงใหญ่ขอร้องกระทราวอาณานิคมให้กหนดความหมายที่แน่นอนของคำว่า "เนชั่นแนลโฮม" ซึ่งปรากฎอยุ่ในคำประกาศบัลฟอร์ เซอร์ วินสตัน เชอร์ชิลล์ ซึ่งเป็นรัฐมนตรีกระทรวงอาณานิคมสในขณะนั้นได้ตอบว่าคำประกาศ บัลฟอร์จะยังคงเป็นนโยบายสำคัญของอังกฤษ โดยไม่ได้กำหนดความหมายที่แน่นอนขงคำว่า "เนชั่นแนลโฮม"

         -  ในปี 1922 รัฐบาลอังกฤษตัดสินใจแยกทรานส์จอร์แดนออกจากปาเลสไตน์โดยถูกต้องตามกฎหมาย โดยให้เหตุผลว่า ทรานส์จอร์แดนไม่อยุู่ในคำประกาศบัลฟอร์ และยิวก็ไม่มสิทธิซื้อที่ดินนี้นด้วย การตัดสินใจของอังกฤษสรางความไม่พอใจแก่ทั้งยิวและอาหรับ ไซออนนิสต์กล่าวว่าทรานส์จอร์แดนมีความสำคัญต่อการก่อตั้งประเท ศบ้านเกิดเมืองนอนขงพวกเขา (ถ้าพิจารณาทางด้านประวัติศาสตร์ ทรานส์จอร์แดนมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อปาเลสไตน์) ฝ่ายอาหรับโต้แย้งว่าการกระทำของอังกฤษมีแนวโน้มที่จะทำให้ฐานะของประชาชนที่อาศัยอยู่ในปาเลสไตน์อ่อนแอลง และกล่าวว่าการกระทำของอังกฤษมีผลทำให้การปกครองตนเองและเอกราชของอังกฤษต้องก้าวหน้าช้ากว่าเดิม

            - การจัดตั้งสภาปาเลสไตน์ ในขณะเดียวกันในปาเลสไตน์ ข้อหลวงใหญ่พยายามจัดจั้งรัฐบาลซึ่งจยะประกอบด้วยทั้งยิวและอาหรับ แต่ก็ล้มเหลว สใน ปี 1923 ข้อหบลวงใหญ่ได้แนะนำให้อาหรับจัดตั้องีค์การอาหรับ เพื่อเป็นตัวแทนของอาหรับและจะได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมของรัฐบาล เหมือนกับฝ่ายยิว แต่อาหรับปฏิเสธ ซึ่งเท่ากับเป็นการปิดโอกาสตัวเองจากการมีส่วนร่วมต่อกิจกรรมต่างๆ ภายในปาเลสไตน์ แม้ในปีต่อๆ มาอาหรับก็ปฏิเสธครั้งแล้วครั้งเล่า โดยอาหรับมีควา คิดว่าถ้าพวกเขายอมรับความในกิจกรรมต่างๆ ของปาเลสไตน์ก็เท่ากับเป็นการยินยอมให้มีการก่อตั้งประเทศยิวได้เร็วขึ้น ดั

            - ความสงบระหว่างปี 1925-1928 อย่างไรก็ตาม ชข่วเวลาดังกล่าวปฏิกิริยาของอาหรับดูจะมองยิวในแง่ดี ทั้งนี้เป็นเพราะปัจจัยหลายประการ อาทิ การเกิดภาวะเศษฐกิจตกต่ำ ประชาชนต่างสนใจกับความเป็นอยุ่ในปัจจุบัน ละเท้ิงความกังวลเกี่ยวกับอนาคต ความไม่พอใจของอาหรับไม่เพิ่มขึ้น มีแนวโน้มที่จะลดลง ในช่วงเวลาดังกล่าวไม่มีการประชุมปาเลสไตน์ อาหรับ คองเกรส และไม่มีการต้อต้านการอพยพของยิว อาหรับสังเกตเห็นว่า แม้ยิวจะแตกออกเป็น 2 ฝ่าย คือ ยิวที่เป็นไซออนนิสต์ คือ พวกที่ต้องการกลับสู่ปาเลสไตน์ และยิวที่ไม่เป็นไซออนนิสต์ คือ พวกที่ไม่ต้องการกลับสุ่ปาเปลสไตน์ แต่อาหรับก็ทราบดีว่ามีแนวโน้มว่าทั้ง 2 ฝ่ายสามารถสมานรอยร้าวได้ และยังสามารถนำไปสุ่การขขยายตัวขององค์การให้กว้างขวางกว่าเดิมได้อีก

              - การจบาจล 1929 การจลาจลเร่ิมเมืองยิวจำนวนหนึ่งได้เดินขบวนไปที่เวลิง วอลล์ ในเยรูซาเลมพวกเขาชักธงไซออนนิสต์ขึ้น และร้องเพลงชาติไซออนนิสต์ ฝ่ายอาหรับไม่พอใจการกะทำดังกล่าว จึงเกิดการต้อสู้กันขึ้น ความรุนแรงเกิดขึ้นนานถึง 2 สัปกาห์ จำนวนชาวยิวเสียชีวิตกว่า 472 คน อาหรับ 288 คน คณะกรรมการทีไปสำรวจปาเลสไตน์พบว่า "ชาวอาหรับมองดูว่าการอพยพของยิวเป็นการข่มขู่ีวิตพวกเขา ทั้งในปัจจุบันและอนาคต...สินค้ายิวก็แพง แต่การแทรกแซงของยิวก็เป็นสิ่งเลวร้าย..ยิงจะต้องถูกขขับไล่ออกจาแผ่นดินนี้"

                      ในปี 1930 รัฐบาลอังกฤษจได้จัตั้งคณะกรรมการพิเศษภายมต้การนำของ เซอร์ จอห์น โฮบ ซิมสัน เพื่อสำรวจหาสาเหตุสำคัญของความไม่สงบที่ผ่านมา รายงานของคณะกรรมการได้อ้างถึงการอพยพใหญ่ของยิวว่าเป็นสาเหตุสำคัญและเสนอให้มีการจำกัดการอพยพในปีต่อๆ มา




                 -  บันทึกสีขาวของพาสฟิลด์ ค.ศ. 1930 ภายหลังจากที่อังกฤษรับรายงานองคณะกรรมการพิเศษดังกล่าวแล้วำด็ได้ออกบันทึกสีขาว ซึ่งมีสาระสำคัญคือให้จำกัดการอพยพชาวยิวมาสนสู่ปาเลสไตน์ และให้ชาวอาหรับที่ไม่มีที่ดินได้มีโอาสจับจองที่ดินของรัฐบาลมากกวว่ายิวด้วยเหตุึนี้เอง ความรุนแรงจึงเกิดขึ้นดดยปฏิกิริยาโต้ตอบของผุ้นำไซออนนิสต์ทั่วโลกซึ่งประท้วงกระทรวงอาณานิคมของอังกฤษ และนายเชม ไวซ์แมน ประธานขององค์การยิวได้ลาออกจากตำแหน่ง แรมซี่ย์ แมคโดนัลด์ นายักรัฐมนตรีอังกฤษพยายามอธิบายถึงคำจำกัดความของ พาสฟิลด์ ไวท์ เพเพอร์ โดยเขียนจดหมายไปถงไวซ์แมนผ ผู้นำยิว ระหว่างปี 1931 ในจดหมายดังกล่าวนามแมคโดนัลด์ ปฏิเสธการเลิกล้มความตั้งใจที่พัฒนาบ้านเกิดเมืองนนของยิงและยังสัญญาว่าการอพยพของยิวจะยังคงดำเนินต่อไป ส่วนชาวอาหรับ ที่ได้ยอมสละทรัพย์สินของตนให้แก่ชาวยิว จึงจะได้รับที่ดินของรัฐบาล จากคำกล่าวของนายแมคโดนัลด์เท่ากับเป็นการปฏิเสธบันทึกสีขาวฉบับนั้น 

                       ความไม่พอใจเกิดขึ้นทันที่ในหมู่ชาวอาหรับ ฝ่ายอาหรับเรียกบันทึกของพาสฟิลด์ว่าเป็นเอกสารสีดำ นับเป็นครั้งแรกที่อาหรับแสดงความเป็นศัตรู่โดยตรงต่อรับบาลอังกฤษมากว่าต่อยิว ผลที่เกิดขึ้นทั้นทีก็คือ การที่อาหรับคว่ำบาตร ปฏิเสธการทำงานร่วมกับกลุ่มชนยิวในกิจการของจุงหวัด

                       อาหรับเสียเปรียบเพราะไม่มีผุ้แทนที่มีเสียงใรัฐบาล ไม่มีองค์การทางการเมืองที่สสำคัญ ดังที่กล่าวข้างต้น นอกจากนี้อาหรับยังแตกแยกออกเป็นกลุ่มต่างๆ ที่เป็นศัตรูกันอีกด้วย ทำให้การเรียกร้องต่อรัฐบาลประสบปัญหามากมาย ความมุ่งหมายของอาหรับคือเอกรรช การยุติการอพยพ และการจำกัดการขายที่ดิน แต่อาหรับก็ไม่สามารถที่จะกระต้นรัฐบาลการะทำการใดๆ เพิื่อให้จุดมุ่ดมุ่งหมายของตนสำเร็ผลได้ ..


              ที่มา  /http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390/hi390-part2-4.pdf


วันอาทิตย์ที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Palestine

            ปาเลสไตน์ เป็นชื่อสามัญของภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ในเอเชียตะวันตกระหว่างทะเลเมดิเรตอร์เร
เนียนกับแม่น้ำจอร์แดน และดินแดนใกล้เคียงต่างๆ นักเขียนกรีกโลราณเป็นผู้เร่ิมใช้ขื่อนี้ ต่อมาใช้เป้นชือของมณฑลซีเรียปาเลสตีนาของโรมัน และต่อมาอยุ่ในการครอยครองขอวจักวรริไบแซนไททน์และดินแดนของอิสลามตามลำดับ ภูมิภาคดังกล่าวประกอบด้วยภูมิภาคที่เรียกว่าแผ่นดินอิสราเอล แป่นดินศักดิ์สิทธิ์หรือแฟ่นดินแห่งพระสัญญานพระคัมภีร์ไบเบิลและป้นส่วนได้ของอาณาบริเวณที่ใหย่กว่าเช่น คานาอัน ซีเรีย อัชขาม และลิแวนด์

            บริเวณที่เป็นรอยต่ของอิยิปต์ ซีเรียและอาราเบีย และเป็นที่กำเนิดของศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์ เป็นทางแพร่งของศาสนา วัฒนธรรม การพาณิชย์และการเมือง มีการผลัดเปลี่ยนมือกับตลอดประวัติศาสตร์

              พรมแดนของภูมิภาคนี้เปลี่ยนแปลงคลอดประวัติศาสตร์ และนิยามในสัยใหม่ล่าสุดโดยความตกลงพรมแดนฝรั่งเศสอังกฤษ 1920 และรายงานทราส์จอรืแดน วัตนที่ 16 กัยายน 1922 ระหว่างสมัยใต้อาณัติ ปัจจุบัน ภูมิภาคดังกล่าวประกอบด้วยรัฐอิสราเอล และดินแดนปาเลสไตน์

            หมายเหตุ แผ่นดินศักดิ์สิทธิหรือแผ่นดิอนแห่งพระสัญญา หรือแผ่นดินซึ่งพระเจ้าทรงสัญญาไว้ เป้นดินแดนซึ่งคัมภีร์ฮิบบรูระบุว่ พระเป็นเจ้ารงสัญญาว่าประทานให้แก่อับราฮัมและลูกหลานของเขา
                                คานาอัน คือภูมิภาคและอารยะรรมที่พูดภาษากลุ่มเซมิดิในลิแวนด์ตอนใต้ในตะวันออกใกล้โบราณเมื่อช่วงปลายสหัสวรรษที่ 2 ก่อนคริสต์ศักรารช คานาอันมีความสำคัญางภูมิศรัฐศาสตร์อย่างมากในยุคสัมฤทธิ์ตอนปลาย สมัยอามาร์นา (ศตวรรษที่ 14 ก่อนคริสตกาล) เนื่องจากป้นพื้นที่ที่เขตอิทธิพลของ อิยิปต์.ฮิดไทด์.มิดันนี และจักรวรรดิอัสซีเรียบรรจบกันหรือทับซ้อนกัน ข้อมูลเดกี่ยวกับคานาอันในปัจจุบันส่นมากมาจาการขุดต้นทางงดบราณคดีในพื้นที่ ชื่อ "คานาอัน" ที่ปรากฎทั่วไปคัมภีร์ไบเบิลในฐานะพื้นฐานทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้อกับ "แผ่นดินแห่งพระสัญญา" ส่วนชื่อเรียกว่า "ชาวคานาอัน" ทำหน้าที่เป็นคำที่เรียกครอบคลุมกลุ่มชาติพันธ์มีการใช้งานมากที่สุดในคัมภีร์ไบเบิล มาร์ สมิธ นักวิขาการคัมภีร์ไบเบิลอ้างการค้นพบทางโบราณคดี ดดยกล่าวแนว่า "วัฒนะรรมอิสราเอลส่นใหญ่ทับซ้อนและรับมาจากวัฒนธรรมคานาอัน..

                                  ลิแวนด์ หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า อัซชาม ตามหความหายตั้งเดิมหมายถึงบริเวณ เมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก แต่ในความหายยทางภูมิศาสตร์หมายถึงบริเวณอันกว้างใหญ่ในเอเฐียตะวันตกทางฝั่งตะวันออกของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน โดยมีเทือกเขาทอรัส เป้นเขตแดนทางตอนเหนือ ทะเลทรายอาหรับทางใต้ และทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางตะวันตก ขณที่ทางตะวันออกเป็นเทือกเขาแซกรอส  ลิแดวด์เดิมมีความหายอย่างหลาวๆ หมายถึง "ดินแดนเมดิเตอร์เรเนียนทางตะวันออกของอิตาลี" มากจากภาษาฝรั่งเสสกลางที่แปลว่า"ตะวันออก"ในประวัติศาสตร์ การค้ำขายระว่างยุโรปตะวันตกกับจักรวรรดิออดโตมันเป็นเศรษฐกิจอันสำคํญของบริเวณนี้ คำว่าลิแวนด์โดยทั่วไปไม่มีความหมายทางวัฒนธรรมมากกว่าที่จะเป้ฯพื้นที่ทางภมิศาสตร์ที่ใดที่หนึ่งที่เฉพาะเจาะจงและความหายของคำกํเปลี่ยนแปลงไปเรืี่อยๆ ตลอดมาในประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และทัศนคติในการอ้างอิง ประเทศที่ตั้งอยู่บริเวณลิแวนด์ ได้แก่ ประเทศจอร์แดน ประเทศเลบานอน ประทเศอิสราเอล ปาเลสไตน์ ประเทศซีเรีย

            ปาเลสไตน์ในอาณัติ เป็นน่วนภฺมรัฐศาสตร์ ภายใต้การดูแลของสหราช อาณาจักร ในส่วนที่เป้นเขตจักรวรรดิออตโตามันและซีเรียตอนใต้ ภายหลังจากสงครามดลกครั้งทีั่ 1 

            ก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที 1 ปาเลสไตน์เป็นดินแดนที่อยุ่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิออตโตมัน และระหว่างสงครามโลกครั้งที่ มีสัยญาหลายฉบับที่ยอปาเลสไตน์ใหกับฝ่ายต่างๆ กล่าวคื อตามข้อตกลง ซิกเคส-พิคอท Sykes-Picot Agreement ในเดือนพฤษภาคม 1916 ข้อตกลงดังกล่าวเป็นสัญญญร่วมระหว่าง อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัเซีย มีใจความสสำคัญคือปาเลสไตน์จะต้องอยุ่ภายใต้การควบคุมของฝรั่งเศสเมืองสิ้นสงคราม นอกจากสัญญาดังกล่วตา คำประกาศบัลฟอร์ ในดือนพฤศจิการยน 1917 ปาเลสไตน์ก็จะถูกสร้างให้ป็น้านเกิดเมืองนอนสำหรับชาวยิว และในจดหมายแลกเปลี่ยนระหวางฮุสเซนและแมคามาฮอน Husain-McMahon Correspondence ระหว่าง 1915-1916 ซึ่งเป็นจดหมายระหว่างอังกฤษกับผู้แทนอาหรับระบุข้อความว่า ปาเลสไตน์จะตกป็นของชาวอาหรับ ครั้งเมือสงครามยุติลงอังกฤษก็พยาวยามจะควบคุมดินแดนนี้ ส่วน่ายอื่นๆ ตามสัญญาดังกล่าวก็พยายามที่จะรักษาสิทธิของตน มีการปะทะกันทางการทูตระหวางอังกฤษและฝรั่งเศสซึ่งฝ่ายหลังกล่าวหาว่า อังฏกฝฟษไม่ซื่อสัตย์ในประเด็นปาเลสไตน์ ซีเรีย และโมซุลแต่ปัญหานี้ยุติลงในที่ประชุมสันติภาพที่ปารีส Paris peace Conference ในปี 1920 โดยที่ประชุมมีมติให้ปาเลสไตน์เป็นดินแดนในอาณัติของอังกฤษภายใต้สันนิบาตชาติ ดังนั้นจึงเหลงื่ออยุ่อีก 2 พวกที่ไมพอใจคำอนุมัติดังกล่าว นั้นคือ ไซออนนิสต์และอาหรับ การครอบครองของอังกฤษในปเลสไตน์ยากลำบากมาก อังกฤษประสบปัญหาหลายประการโดยเฉพาะความต้องการของยิวแลอาหรับแ้อังกฤษจะปกครองนอนถึง 30 แต่ก็ไม่สามารถแก้ปัยหาปาเลสไตน์ได้เลบย


              นับตั้งแต่รเ่ิมชาวอาหรับเกี่ยวข้องเพียงเล็กน้อยกับการขัดขวางไซออนนิสต์อย่างน้อยก็น้อยกว่าฝรั่งเศส ผู้นำอาหรับแห่งซีเรย อามิร์ ไฟซาล มีความคิดว่าถ้าพระองค์เป็นใฝ่ายเดียวกับไซออนนิสต์แล้ว ฝฝร่งเหสศก็อาจละทิ้งการเรียกร้องอิทธิพในวีเรีย ไฟซาลตกลงกับ ดร.ไวซแมน ผู้นำชาวยิว โดยพระองค์จะเป็นตัวแทนยองอาหรับในการทำงานร่วมกับไซออนนิสต์เพื่อทำให้จุดมุ่งหมายบของ2 ฝ่ายปบรรลุเป้าหมาย อย่างไรก็ตาม การประชุมอาหรับคองเกรส ที่ดามัสกัสในซีเรียได้ฝดต้ตอบใจความตามข้อตกลงดังกล่าว โดยแย้งว่า ไเราได้พิจารณาการเรียกร้องของไซออนนิสต์เหมือนกับการข่มขู่ต่อชีวิตเศรษฐกิจ การเมือง และชาติของเรา พลเมืองยิวเพื่อขของเราจะสามารถชื่นชมสิทธิของเขต่อไป ส่วนเราก็ต้องแบกภาระความรับผิดชอบของเราต่อไป"

             แต่ในดิอน กรกฏาคม 1920 กองทัพฝรั่งเศสได้บุกซีเรียยึดดามัสกัสและปลดรัฐาลอาหรับ พระเจ้าไฟซาลถูกขับไล่ชาวอาหรับในปาเลสไตน์จึงต้องแสวงหารัฐบุรุษคนใหม่ 

             ขณะเดียวกันปัญหาต่างๆเร่ิมปรากฎ อาทิ การบริหารงานอยุ่ในความสับสนวุ่นวาย โดยเฉพาะปัญหาเรืองใครจะเป็นเจ้าของแผ่นดินเมื่อสิ้นสุดการปกครองของออตโตมัน ปาเลสไตน์ก็ประสบปัญหาการขาดบุคคลากรที่ทำงานบริหารบ้านเมือง เจ้าของที่ดินที่เป้นชาวต่างชาติก็ยังคงอยู่ในที่ดิน ดดยอ้างว่่าตนได้ซื้อที่ดินอย่างถูกต้อง ตั้งแต่สมัยที่ปาเลสไตน์เป็นดินแดนของของจักรวรรดิดออตโตมัน ซซซึ่งเป็นปัญหาที่อังกฤษประสบและยากแก่การแก้ไขตลอดยุคการปกครองของอังกฤษ


                                                   ที่มา : วิกิพีเดีย

                                                            http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390/hi390-part2-4.pdf

              

                     

วันเสาร์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Middle East and Imperialism II

           คายสมุทรอาหรับ หรือ คาบสมุทรในภูมิาคเอเชียตะวันตกเแียงใต้ และอยู่ระหว่างทวีปเอเชียกับทวีป
แอฟริกา พื้นที่ส่วนมากเป็นทะเลทราย พื้นที่ส่วนนี้เป็นดินแดนสำคัญของตะวันออกกลาง เนืองจากเต็มไปด้วยทรัพยากรน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ชายฝั่งตะวันตกของคาบสมุทรอาหรับติดกับะเลแดง (ส่วนหนึ่งของมหาสุทรอินเดีย) ทาตะวันออกเฉียงเหนือติดอ่าวโอมาและอ่าวเปอร์เซีย 

            นอกจากนี้คาบสมุทรอาหรับยังเป็นถ่ินกำเนิดศาสนาอิสลาม และสิ้นสุดการเป็นเวทีสำคัญของอิสลามในสมัยของกาหลับองค์ที่ 4 คือ อาลี เมือเมืองหลวงของจักวรรดิอาหรับอิสลามย้ายจาก เมดินะในคาบสมุทรไปสู่เมืงคูฟะ (ปัจจุบันอยุ่ในอิรัก) นอกคาบสมุทร แต่คาบสมุทรอาหรับที่มีเมืองสำคัญคือเมกกะก็ยังป็นจุดมุ่หมายของนักแสวงบุญ และเมืองเมดินะซึ่งเป็นรัฐอิสลามแห่งแรกก็ยังคงมีความสำคัญต่อความรุ้สึกทางด้านศาสนาของชาวมุสลิม

             ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่เป็นทะเลทรายไม่มีแม่น้ำไหลผ่านมหาอำนาจต่างๆ จึงมีมีความตั้งใจจะครองดินแดนนี้อย่างจริงจัง อังกฤษสนใจคาบสมุทรนี้เพียงวต้องการให้บุคคลที่อังกฤษสนับสนุนคือ ชารีฟแห่งเมกกะ เพื่อว่าชาวอาหรับจะทำสงครามกับพวกเติร์กได้ทั้งในดินแอนเฮจัช ทางทิสตะวันตกของคาบสมุทร ในจอร์แดนและในซีเรียได้ นอกจากนั้น อังกฤษยังได้เซ็นสัญญาตกลงสนับสนุนให้อิบน์ ซาอุด เป็นสุลต่านของแควเ้นเนจด์ ในคาบสมุทรและยัมอบเงินให้พระองค์ จำนวน 5000 ปอนด์ต่อเดือนอีกด้วย

              คาบสมุทรอาหรับภายใต้อิทธิพลอังกฤษ

              ในเวลาเีดยวกันอังกฤษก็กำลังเจรจากับชารีพ ฮุนเซน แห่งจอร์แดน เพื่ออนุญาตให้ชาวอาหรับของระองค์เข้าร่วมสงคราม จากจดหมายโต้ตอบระหว่างฮุสเซนและแมคมาฮอน หรือ ฮุสเซน-แมคมาาฮอน เคอรเรสปอนเดนซ์ อังกฤษทำเช่นนี้เพราะต้องการจำกัดการทำงานของพระองค์จการเข้าแทรกแซงเจ้าอาหรับอื่นๆ ที่มีสัญญากับอังกฤษ ด้วยเหตุนี้เองอังกฤษจึงปฏิเสธที่จะพิจารณายอมรับการเรียกร้องชองอูสเซนที่จะเป็นกณัตริย์ของอาหรับ ขณะเดียวกัน กองทัพอาหรับภายใต้การนำของโอรสของฮุสเซน นามไฟซาล ก็ยึดได้ ดามัสกัส และซ๊เรีย อย่างไรก็ตามในคาบสมุทรอาหรับ อิบน์ ซาอุด แห่งแคว้นเนจด์ได้รับชัยชนะเหนือเดินแดนเฮจัช ทั้งหมด ในปี 1925 และยึดได้ทั้งเมืองตาอีฟ และเมกกะ และยังได้จิดดาห์อีกด้วย มีผลบทำใ้พระเจ้าอาลี แห่งเฮจัช ซึ่งเป็นโอรสองค์โตของฮุสเซนถูกขับไล่ในปี 1927 อังกฤษทำสัญญาจดดาห์ กับ อิบน์ ซาอุด โดยยอมรับว่า อิบน์ ซาอุค เป็นกษัตริยืแห่งเฮจัช และในการตอบแทนอิบน์ ซาอุด จึงยอมรับวา ไฟซาล โอรสอีกองค์ของฮุสเซนเป็นกษัตริย์ของอิรัก อับดูลลาห์เป็นกษัตริย์แห่งทรานส์จอร์แดน และอังกฤษมีฐานะพิเศษคือเป็นผู้ให้ความคุ้มครองอาณาจักรต่างๆ ของหัวหน้าเผ่าในอ่าวเปอร์เซีย

           โดยทั่วไปคาบสทุรอาหรับจะอยู่อย่างสันติ ระหว่รงปี 1927-1961 นอกจาการสงครมาเล็กๆ ระหว่างซาอุดิอาระเบียกับเยเมนในปี 1936 เท่านั้น แต่ในปี 1961 เกิดรัฐประหารในเยเมนเป้นครั้แรกและนำไปสู่สงครามกลางเมือง และในที่สุดกำไปสู่"สครามกลางเมืองพร้อมกับการแทรกแซงจากภายนอก" นั้นคือ กองทัพอียิปต์ขึ้นฝั่งที่เยเมนและชาวซาอุดิอาระเบียไก็ได้ให้คใวามช่วยเหลือขาวเยเมนผุ้จงรักภักดี

            มีเพียงอังกฤษและออตโตมันเท่านั้นที่ีเข้าำปเกี่ยวข้องกับคาบสุมุทรกระทั้งสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 1 เมือผลประโยชน์ในน้ำมันทำให้อเมริกาเข้ามา ด้วยความสนใจเดิมอังกฤษต้องการใช้ภูมิภาคนี้เป็นเส้นทางไปสู่อินเดีย แต่เมืองมีการขุดพบน้ำมสันทำให้ความสนใจของอังกฤษมีมากขึ้น โดยเฎาะบริเวณอ่าเปอร์เซีย ถือว่าเป็นการเชื่อมเส้ทางยูเฟรติสเมดิเตอรเรเนียน และการคมนาคมที่สะด้วยรวดเร็ว

            "เชค"หรือหัวหน้าเผ่าผู้ปกครองอาณจักรตื่างๆ ของคาบสมุทรก็ล้วนอยุ่ภายใต้ความคุ้มครองและอิทธิพลอังกฤษ โดยเฉพาะถอาณาจักรบริเวณอ่าวเปรอ์เซีย อาณาจักรต่างๆ ต่างทำสัญาที่จะไม่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลต่างชาติใดนอกจากผ่านอังกฤษก่อน โดยเฉพาะคูเวตนั้นนับจากกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 ก็กลายเป็นท่าเรือที่สำคัญในอ่าวเปอร์เซีย ดิ

              พฤศติกายน 1914 เจ้าผุ้ตรองคูเวตได้รับการพิจารรายอมรับจากอังกฤษวาเป็นอิสระดดยอุยุภายใต้การค้ัุมครองของอังกฤษ และใน เมษายน 1915  เจ้าผุ้ครองแห่งแคว้นอาซีร์ ก็ได้รับการยอมรับเช่นเดียวกัน ดินแดนต่างๆ ซึ่งถูกรวมอยุ่ในคาบสทุทรอาหรับฝั่งตะวันตกในนแคว้นเฮจัช ที่ซ฿่ง ชารีฟ ฮุสเซน เร่ิมการปฏิวัติอาหรับแต่ดินแดนเหล่านี้มีความเกี่ยวข้องกับรัฐบาลอินเดีย และเนืองจากฐานะที่สำคัญของดินแดนเหล่านี้ดังกล่าวจึงทำให้อังกฤษมีข้อผุกมันตนเองต่อฮุสเซนผุ้เร่ิมการปฏิวัติอาหรับในดินแดนดังกล่าว

             คาบสมทุรอาหรับภาคตะวันตกเฉพียงใต้ 

             มีความแตกต่างทั้งทางด้านภูมิศาสตร์ละวัฒนะรรมากส่วนอื่นๆ ของคาบสมทุร เป็นดินแดนปกคลุมด้วยภูเขาที่ขยายไปทางทิศตะวันตก ซึ่งได้รับอิทธิพลด้านวัฒนะรรมอย่างลึกซึ้งจากทั้งเอธิโอเปีย อิหร่าน และอินเดีย ซึ่งการเดินทางจากทั้งสามประเทศนี้สามารถไปถภึงดินแดนภาคนี้ได้ดดยทางทะเลในสมัยโบราษณ คาบสมุทรอาหรับทิศศตะวันตกฉียงใต้นี้สนับสนุนประชาชนที่ไม่ใช่อหรับหรืออย่างน้อยก็ไม่ได้รับอารยธรรมอาหรับจากภาคเหนือ ประชาชนพวกไมเนียน และเซเบียน ในดินแดนนี้ได้สร้างอารยธรรมด้านเกษตรกรรม ี่ทันสมัยและการค้าซึ่งขึ้นอยุ่กับการส่งสินค้าออกจำพวกกำยาน ซึ่งได้ทิ้งร่องรอยที่สำคัญสำหรับนักโบราณคดีแม้จะเลือนลางแต่ก็ยังอยุ่ในความทรงจำ ประเทศสำคัญแห่งหนึ่งในดินแดนนี้คอืเยเมนซึ่งได้รับอิทธิพลจากยิวมาก่อนการขึ้นจมาม่ีอำนาจของอาหรับอิสลาม กระทั้งปี 1948-1949 ที่เกิดสงครามระหว่างอาหรับ-อิสราเอล เยเมนก็ได้กลายเป้นสภานที่ที่สำคัญของการเจริยเติบดตของชุมชนที่ยังล้าหลัง..การที่เยเมนรักษาความเป็นตัวเองได้เป็นเพราะเยเมนมีปรการธรรมชาิตคือภูเขาเป็นปกป้องนั้นเอง และที่สำคัญเมืองเอเดน ซึงเป็นจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญที่จะเดินทางไปอินเดีย และเป็นจุดเติมน้ำมัน เรอื จึงมีหลายประเทศต้องการจะยึดครอง อย่างไรก็ตามเอเดนเป็นเมืองในอารักขาของอังกฤษ  เยเมนเป็นรัฐที่ใหญ่อันดับ 2 ของคาบสมุทรอาหรับรองจากซาอุดิอาระเบีย 

       


   ผลกระทบที่แท้จริงที่ตะวันตกน้ำมาสู่คาบสทุรอาหรับด้วยจุดประสงค์เพียงอย่างเดียวคือ น้ำมัน ในการตอบแทนที่อนุญาตให้บริษัทยุดรปขุดน้ำมันในทะเลทรายได้นั้นคาบสมทุรก็อาจกลายเป็นอาหรับที่มีวัฒนะรรมตะวันตกกลายเป็นเมืองที่มีเครื่องปรับอากาศ ทางรถไฟ โรงเรียน และโรงพยาบาล ประชาชนยังมันงงกับความร้ำรวยที่มาอย่างรวดเร็วแต่ถึงอย่างไรดินแดนนี้ก็เสียมากว่าได้ เพราะการขาดสความรุ้ความสามารถที่จัดการเกีี่ยวกับรายได้จากความร้ำรวย คุเวต กเองก็มิได้เรียรู้ที่จะลงทุนผลิตน้ำทั้งในและต่างประเทศ ถึงกระนั้นคูเวตก็เป็นประเทศที่ข่วยสร้างเงินทุนเพื่อการพัฒนาภูิมภาคตะวันออกกลางทังหมด


              ที่มา : วิกิพีเดีย

                        http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390(47)/hi390(47)-2-3.pdf

วันศุกร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Middle East and Imperialism

            หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 อาณาจักรออตโตมันล่มสลายจาการแพ้สงคราม ดินแดนต่าง๐ ถูกแบ่งออกโดยชาติมหาอำนาจ และปกครงในฐานะดิแดนภายใต้อาณัติ ซึ่งออตโตมันกินพื้นที่ทั้งทวีปแอฟริการและตะวันออกกลาง ในปี  1955 มีประชากกรกว่า 300 ล้านคน และที่นาสนใจคือความขัดแย้งระหว่างตะวันออกกลางและยุโรป มีมานากว่าศตวรรษ นับแต่สงครามครูเสด จนถึงการก่อตัวของอิสลาม ยุโรปได้เข้าไปข้องเกี่ยวอย่าต่อเนหื่อง โดยส่วนใหญ่ความสนใจของยุโรปต่อภฺูมิภาคนี้เป็นเรื่องยุทธศาสตร์ แต่หลังจารกการค้นพบน้ำมันดินแดนนี้ ตะวันออกกลางจึงกลายเป็นดินแดนที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจเป็นอยางมาก 

            กลังการพ่ายแพ้สงครามขงออตโตมัน ใจกลางของดินแดนกลายมาเป็นตุรกี ดินแดนอาหรับทีเคยถูกปกครองแบ่งออกเป็น 6 รัฐภายใต้การตกเป็นอาณานิคม 



            

                   เลบานอนและซีเรียตกอยู่ภายใต้การครอบครองของสหรัชอาณาจักรใน๘ระที่รัฐอาหรับสุองรัฐคือ ซาอุดิอาระเบีย เยเมนเหนือ และอกีสองประเทศที่มิใช่อาหรับคือ ตุรกีและอิหร่านได้รับเอกราช..(รูปภาพแลข้อมูลจาก : https://www.matichonweekly.com/column/article_1964)

             สงครามโลกครั้งที่ 1 คือเหตุการที่มีความสำคัญมากต่อดินแดนตะวันออกกลางเนื่องจากผลกระทบของสงครามนำไปสู่การก่อตั้งระบบรัฐสมัยใหม่ modren stase system ในภูมิภาคและเป็นรากฐราานของระบบการเมืองและความสัมพันธ์ระหวางประเทศในโลกอาหรับ หนึ่งในความสำคัญในการจัดตั้งรัฐสมัยใหม่ในตะวันออกกลาง คือ การจัดตั้งดินแดนำต้อาณัติ mandate state ซึ่งเป็นรากฐานสำคัญที่จะทำให้เข้าใจระบบการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจและสังคมในรัฐตะวันออกกลางยุคต่อมา

              การปกครองของฝรั่งเศสในซีเรียและเลบานอน ผรังเศสพบกัยคามเป็นศัตรูอยางรุนแรงจากชาวซีเรียมุสลิม ฝรั่งเศสตระหนักดีว่าไม่สามารถจะได้รับควาามเป็นมิตรจากประชาชน ฝรั่งเศสจึงหันความสนใจไปสู่เลบานอน พยายามสร้ัางครามเป็นมิตรกับประชาชนเลบานอน เพื่อความมั่นคงของฝรั่งเศสในตะวันออกกลางฝรั่งเศสประการแผนการณ์ขยายเลบานอนให้กว้างใหญ่กว่าขึ้น คือแปน เกรทเตอร์ เลยานอน เป็นการรวมดินแดนส่วนหนึ่งองซีเรียภาคมต้เจ้าำว้ในเลยบานอน อย่างไรก็ตาม แม้แผนการณ์ดังกลาวจะทำให้ชาวเลบานอนบางกลุ่มพอใจฝรั่งเศสมากกว่าเดิม แต่แผนดังกลาวก็ทำให้เกิดการแบ่งแยกระหว่างกลุ่มทางศาสนาในเลบานอนเอง และระหว่างคริสเตียนเลบานอนกับซีเรียมุสลิมมากย่ิง้ั้น การแบ่งแยกที่เกิดขึ้นเป้นสาเหตุทำให้เกิดสงครามกลางเมืองเลบานอนใน ปี 1958 กระทั่งปัจจุบันการแบ่งแยกดังกล่าวยังคงเป็นสาเหตุแห่งความปวดร้าวของประชาชน แม้แผนจะประสบผลสำเร็จ แต่ไม่เป็นที่น่าพอใจ เพราะการรวมดินแดนที่ใหญ่กว่าเข้ามาั้นประชาชซึ่งเป็นชาวมุสลิมจำนวนมาก ทำให้ชวเลบานอนแท้ๆ ซึ่งเป็นรัฐคริสเตียนตกอยุ่ในฐานะที่ไม่ปลอดภัยนัก

            ซีเรีย ก็ถูกแบ่งเป็นส่วนๆด้วยเช่นกัน  ซึ่งจากการปกครองและควาามพยายามในการแบ่งตลอดจน


การควบคุมท้องถ่ิน ฝรั่งเศสต้องสิ้นปลืองค่าใช่้จ่ายเป้นจำนวนมาก ภายในเวลา 1 ปี ฝรั่งเศสจึงรวมดินแดนทั้งสามแห่งเหล่านี้เป็นสหพันธรัฐอยางไรก็ตามฝรั่งเศสก็พบกับการข่มขู่ที่รุนแรงจากประชาชนเกือบตลอเวลาในปี 1920 ดามัสกัสถูกบุกรุก และถูกวางระเบิด ใน ปี 1925,1926,และ 1945 จนกระทั่งฝรั่งเศสออกกฎอัยการศึกเกือบตลอดเวลา ตั้งแต่เร่ิมต้นการปคกรองจนกระทั่งใกล้ๆ จะสิ้นสุดระบบอาณัติ นดยบายเกี่ยวกับการแบ่งระหว่างกลุ่มศาสนาและระหว่างท้องถ่ินไม่มีการกำหนดอยาแนนอนและจริงจังความำม่พอใจในกลุ่มศาสนาแต่ละกลุ่มจึงเกิดขึ้น

            การปกครองของอังกฤษในอิรัก  ข้าราชการชาวอังกฤษ เซอร์ อาร์โนลด์ วิลสัน เป็นบุคคลมีความ
สามารถ มีการศึกษาดิี ได้เขียนบันทึกความทรงจำสองฉบับ เกี่ยวดกับปีแห่งความยากลำบากในอิรัก วิลสันมีอำนาจเหนือดินแดนบริเวณอ่าวเปอร์เซีย เขามีจุดมุ่งหมายแบ่งประเทศออกไปตามกลุ่มชนต่างๆ คือ กลุ่มแรกได้แก่ พวกเบดูอินและเคิร์ดส พวกแรกนี้เป็นพวกเร่ร่อนที่ค่อนข้ามมีศีลธรรมสูง กลุ่มที่สอง ได้แก่ พวกชาวนาซึ่งน่าสงสาร และสิ้นกวังเนื่องจากไม่ได้รับความช่วยเหลือ กลุ่มที่สามได้แก่ ชาวเมืองซึ่งเป็นนักษรศาสตร์ ชอบความหรุหราฟุ่มเฟือย เป็นพวกหลอกลวงและเป็นอันตราย วิลสันเห็นว่าถ้าปล่อยพวกชาวเมืองบริหารงานรัฐบาล พวกนี้จะปล้นความเป้นผุ้ดีของพวกเบดูอินไป ดังนั้นในความคิดของวิลสันพวกที่เหาะสมเข้าร่วมรัฐบาลควรเป้นชาวชนบทหรือเบดุอินมากกว่าชาวเมือง

            อังกฤษขาดกำลังสำหรับเสริมสร้างกองทหารในอิรักที่จะใช้ในการต่อสู้กับพวกเติร์ก องกฤษจึงพยายามสร้าางความเป้นระเบียบภายในอิรักด้วยการเลื่อนฐานนะของเชคหรือหวหนาเผ่า ให้อยู่ในสถานะ่สูงส่ง เพื่อว่าหัวหน้าเผ่าหล่านี้นจะมีความรับผิดชอบโดยตรงต่อรัฐบาล และตั้งข้าราชากรการเมืองตลอดทั่วเประทศให้มีหน้าที่ตรวจตราดุแลการทำงานของ "เชค" และลุกเผ่าด้วย ข้าราชการเหล่านใช้อำนาจในทางไม่ถูกับหัวหน้าเผ่า และตบตารัฐบาลกลางซึ่งจะทำให้พวกเขารักาาอำนาจไว้ได้นาน

             คำประกาศของอังกฤษในตอนสิ้นสงครามทำให้อิรักเป้นดินแกดนในอากณัติสร้างคามไมพอใจในหมู่ประชาชนอย่างกว้างขวาง ขณะเดียวกันความรุ้สกของประชาชนยังพอใจออตโตมันอยู่ และรัฐบาลซีเรียก็ได้ส่งนักชาตินิยมกลุ่มเล็กๆ  เขามาพยายามจะยูดโมซุลในอิรักในปี 1920 ปรพชาชนก่อความไม่สงบ เืพ่อต่อต้านรัฐบาลอังกฤษซึ่งมีสาเหตุจาการเก็บภาษีน้ำมัน ด้วยความไม่พอใจอยย่างแรงในเดือนมิถุนนายน 1920 จึงเกิดการจลาจลของชลเผ่าใหญ่ชาวอิรักซึ่งแผ่กระจายไปทั่วอิรักภาคใต้ ทางรถไฟถูกตัดขาด รถไฟตกราง กองกำลังของอังกฤษไม่สามารถระงับเหตุได้ มีชาวอังกฤษสุญหายกว่าพันหกร้อยคน อังกฤษต้องใช้จายเงินกว่า 40 ล้านปอนด์ ในการยุติจลาจล ภายหลังเหตุการจลาจล  เซอร์ อาร์โนลด์ วิลสัน ตกใจและกตะหนักว่า องกฤษไม่มีเงินมากพอที่ใช้จายในการปกครองออิรัก วิลสัน จึง ถอนตัวออกจากอิรักทันที

            ตุลาคม 1920 เซอร์ เพอร์ซี่ คอกซ์ เดินทางมาถึงอิรักพร้อมกับคณะกรรมพลเรือนชุดใหม่ และประการการจัดตั้งรัฐบาลชั่วคราวภายใตคณะรัฐมนตรีชาวอาหรับและที่ปรคกษาชาวอังกฤษ ขณะเดียวกันอังกฤษก้จะเป็นหัวหน้ารัฐบาลในฐานะที่อังกฤษเป็นประธานชี่วคราวของสภาบริหาร จจึงได้คัดเลือกผุ้นำทางศสนาที่มีอาวุโส และเป็นที่เคารพของประชาชนทั่วไปให้เป็นรัฐมนตรีจัดตั้งเป็นคณะรัฐาลปกครองประเทศ 

             อย่างไรก็ตาม อังกฤษตระหนักถึงความจำเป็นในการลดค่าใช้จ่ายและตระหนักดีว่ากการปกครองในระบอบอาณัติในอิรักนั้นไม่เป็นที่นิยม ดังนั้น เซอร์ซิลล์ จึงตัดสินใจทำสัญญากับอิรัก(เหมือนสัญญาที่อังกฤษทำกับอียิปต์) นั้นคือ แผนการยุติระบอบอาณัติซึ่งจะให้เอกราชแต่เพียงในนามแก่อิรัก ซึงวิธีนี้จะช่วยลดสงครามกลางเมืองและขจัดอันตรายที่เกิดจากความพม่พอใจของชาวอิรัก 

              อังกฤษปกครองอิรักในลักาณะากรปกครองทางอ้อม ขณที่ฝรั่งเสสช้นดยบายการปกครองทางตรง วิธีการปกครองของอังกฤษและฝรั่งเสสจึงแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดตลอดเวลาท ี่อังกฤษอยู่ในดอนแดนอาหรับตภาคตะวันออก อังกฤษพยายามแสวงหาวิธีที่จะทำให้ค่าใช้จ่ายในการปกครองลดน้อยลง พยายามใช้ความจำเป็นและใช้ให้คู่แข่งขันเป็นประโยชน์ต่ออังกฤษขณะที่ฝรั่งเสสใช้วิธีที่ "แพงกว่า" และมีเรืองขัดแย้งกับขบวนการชาตินิยมอาหรับฐานของฝรั่งเศสไม่เคยเข้มแข็งแลยในดินแดนอาหรับ ขณะที่อังกฤษประสบความสำเร็จอย่างน่าทึ่งแม้จะถูกต่อต้านก็ตาม อังกฤษสามารถลดจำนวนบุคลากชาวอังกฤษในรัฐบาลอิรัก กระทั่งปี 1927 อังกฤษสามารถควบคุมปรเทศด้วยข้าราชการพลเรือนจำนวนเล็กน้อยเท่านั้นและอังกฤษก็ไม่จำเป็นต้องใช้กองทัพอากาศที่ใหญ่โตเลย

                   ทรานจอร์แดน เป็นดินแดนอีกแห่งหนึ่งที่อังกฤษปกครองโดยปราศจากากรวชัดชวางอย่างรุแแรงจากประชาชนท้องถ่ิน เดิมที่เคยเป็นดินแดนหนึ่งของปาเลศไตน์ แต่อยู่ภายใต้รัฐบาลที่ปกครองแยกต่างหาก และกระทั่งปี 1923 ทรานส์จอร์แดนก็ถูกแยกออกจากปากเลสไตน์อย่างเป็นทางการ  อังกฤษประกาศว่า ทรานจอร์แดนไม่อยู่ภายใต้ประกาศบัลฟอร์ และชาวยิวไม่สิทธิที่จะซื้อที่ดินในทรานส์จอร์แดน ดังนั้นอังกฤษจึงได้รับการยกย่องจากประชาชนและไม่มีความรุนแรงเกิดขึ้น


                              แหล่งที่มา : http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390(47)/hi390(47)-2-2.pdf

                                                 https://deepsouthwatch.org/th/node/11711

            

วันพฤหัสบดีที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Politic and Religion




           "การเมือง การปกครองและศาสนาในรูปแบบที่มีการ พึ่งพาอาศัยเกื้อูลกันนั้นคืออการใช้อุดมการณ์ทางศาสนาเป็นแนวทางในการปกครองบริหารและ ศสนานั้นได้อาศัยการอุปถมป์และการคุ้มครองบางประการเพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบยัติ ภารกิจทางศาสนา แต่อย่างไรก็ตามอุดมการของศาสนาพุทธของไทยเป็นลักษณะที่มีความยืดหยุน แต่ไม่ถึงกลับอ่อนข้อ ศาสนาพุทธนั้นมีลักษณะที่สามารถอยุ่ร่วมได้ ไม่ว่าจะเป็นการปกครองในรูปแบบใด ทั้งระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ระบอบประชาธิไตย ขอเพียงปผุ้นำ ประเทศมีความเป็นธรรมตามอุดมคติของทางศาสนา ภายมค้ความสัมพันะ์ในลัษณะพึ่งพาอกัน ศาสนาไม่ได้อยุ่เนือกฎหมายและไม่ได้อยู่ภายใต้กฎหมายอย่างสิ้นเชิงแต่ศสนาต้องพึ่งพาระบบ การเมือง การปกครองในบางเรื่องในขณะเดียวกันการเมืองและการปกครองควรใช้หลักธรรมทางศานาเป็นแนวการปกครอง".....(แหล่งที่มา https://www.constitutionalcourt.or.th/occ_web/ewt_dl_link.php?nid=16557)



            " ประเทศมาเลเซียเป็นหนึ่งในประทเศที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุืศุง จงมีโครงสร้างทางสังคมที่เรียกว่า ไพหุสังคม" สัดส่วนประชาการมาเลเซียส่วนใหย่จะเป็นชาวมลายู ชาวจีน ชาวอินเดีย และชาติพะนธุ์อื่นๆ ตามลำดับ ดดยชาวมลายูซึ่งเป็นชนชาติส่วนใหย่มาเลเซ๊ยมีความผูกพันธ์กับศาสนาอิสลามอย่างแยกกันไม่ขาด มาเลเซียตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน มีการต่่อสู้และแยงชิงพื้นที่ทางสังคมและอัตลักษณ์มาดดยเสมอ ศาสนาอิสลามซึ่งเป็นศาสนาประจำชาติ ถูกทำให้เป็เครื่องมือทางการเมืองในกาารต่อรองผลประโยชน์และการสร้างอัตลักษณ์ แม้มาเลเซียไม่ใช้รัฐอิสลามเต็มรูปแบบแต่ก็ไม่อาจปฏิเสธได้ว่าศาสนาอิสลามคือตัวแปรสำคัญในการขับเคลื่อนการเมือง เศราฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของมาเเ,ีย "อิสลาม กการเมือง Political Islam คือกรอบแนวคิดหรือชุดความคิดของอิสลามที่เข้ามาีมีอิทธิพลต่การเมืองและกิจกรรมทางการเมือง ซึ่งเป็นการอะิบายปรากฎการณ์สมัยใหม่ที่ใช้ศาสนาอิสลามมากำหนดกรอบทางการเมือง....

               ....กระแสของอิสลามการเมืองได้ผันเปลี่ยนสู่ความเป้นใหม่มากขึ้น ซึ่งสถานการณ์โลกในขณะนั้นเกิดความหวาดกลัวต่อชนชาติมุสลิมเนื่องจากเหตุการก่อการร้าย 911 ในสหรัฐอเมริกา ในสมัยนั้นมาเลเซียจึงพยายามกำหนดรูปแบบของมุสลิมที่ไม่แข็.กร้าว นายกบาดาวีได้มีการจัดทำแนวคิดอิสลามสมัยใหม่ หรือ  Islam Hadhari ซึ่งแนวคิดดังกลบ่าวเป้นการนำเสนอความนำสมัยของโลกมุลิม ดดยท้ายที่สุดแนวคิดดังกล่าวได้รับการยอมรับและสามารถลบภาพความนรุนแรงของมุสลิมลงได้ อย่างไรก็ตามในเวลาต่อมา แนวคิดนี้ถูกมองว่าเป็นเครื่องมือในการลงดทษกลุ่มคนที่ไม่ใช่มุสลิม ทำให้ถูกยกเลิกไปในที่สุด แระแสอิสลามการมืองค่อยๆ แผ่วเบาลงในสมัยของนาย นาจิบ ราซัคจนถึงปัจจุบัน..."   (ที่มา : https://researchcafe.tsri.or.th/malaysian-society/)

                 "ศาสนากับอัตลักษณ์เชิงชาติพันธ์และความขัดแย้งระหว่างชนชั้น การผนวกเข้าด้วยกันเป็น ไบังซาโมโร"

                   .....เหตการสำคัญที่ทำให้ชาวมุสลิมเร่ิมตั้งคำถามต่อตำแหน่งแห่งนดที่ของตนเองในสังคมฟิลิปินส์ที่ครองอำนาจโดยชาวฟิลิปินส์คริเตียน คือ เหตุการที่เรียกว่ากานรสังหารหมู่จาบิดะห์ ไจาบิดะห์" เป็นชื่อโครงการหน่วนรบพิเศษที่รัฐบาลมาร์กาตตั้งขึ้น โดยมุ่งหมายไม่ให้ปรากฎความเชื่อมโยงกับกองทัพฟิลิปินส์ ว่ากันว่าเป็นหน่วนรบที่มาร์การมุ่งจะใช้เพื่อบุกโจมตีและอ้างสิทธิเหนือรัฐซาบาห์ ดินแดนที่เป็นของมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียว โดยกองกำลังทหารที่เกณฑ์มาฝึกเป็นชาวมุสลิมจากแถบมินดาเนาและซูลู  หนึ่งในผู้รอดชีวิตจากการสังหารหมู่กล่าวว่ ภายใต้สถานการณ์การฝึกที่ย่ำแย่และการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมทหารเกณฑืเร่ิมไม่พอใจและเรียกร้องที่จะกลับบ้าน การณ์กลับกลายเป็นว่านายทหารเกณฑ์อย่างน้อย 14 คน(หรืออาจมากถึง 28 คน) ถูกสังหารโดยปราศจาการไต่สวนในค่ายฝึกบนเกาะกอร์เรกิดอร์ในช่วง ปี 1968 เหตุุการณ์ดังกล่าวคล้ายเป็นการจุดชนวนความขัแย้งระหว่างขาวมุสลิมและรัฐบาลกลางที่นำฃกลางที่นำโดยชาวคริสเตียน นำปสู่การชุนมุนประท้วงอยางต่อเนื่องของนักศึกษาในมะลิลา และเชื่อได้ว่ามีส่นอย่างมากในปัญญาชนมุสลิมรุ่นใหม่เข้าไปามมีส่วนร่วกับ MIM ที่ก่อตั้งในปีเดียวกัน

                  ต้นปี 1969 กลุ่มแกนนำเครือข่ายส่วนหนึ่งที่ประกอบด้วย นูร์ มิสวารี และ ราซิค ลุคมัน นัการเมืองมุสลิมฝ่ายเดียวกับเปินดาตุน เห็นว่าควรมีการฝึกหน่วนรบแบบกองโจรขึ้น 

                   ช่วงต้นทศวรรษ 1970 ความยัดแย้งและความรุนแรงใรระดับท้องถ่ินระหว่างชาวมุสลิมและชาวคริสเตียนในภุมิภาคมินดาเนา ดดยเฉพาะอย่างยิ่งในแถบโตาบาโต ก็ผลักดันให้ชาวมุสลิมที่ไม่ใช่พวกชนชั้นนำเข้ามามีส่วนร่วมกับขบวนการแบ่งแยกดินแดนมากขึ้นเป็นลำดับ เรื่อยมาจนถึงการเกิดขึ้น ของชบวนการใต้ดิน "แนวร่วมปลดแปล่ยแห่งชาิตโมโร่" ซึ่งก่อตั้งดดย นูร์ มิสวารี

                  อย่างไรก็ตาม ควรกล่าวด้วยว่า ความขัดแย้งไม่ได้มีพื้นฐานมาจากศาสนาหรือชาติธุ์ในตัวเอง แต่มีคุณักษณะทางชนชั้นอยุ่มาก กล่าวคื้อ กลุ่มผุ้มีอิทธพลนอกกฎหมายชาวคริสต์็ก็มุ่งโจมตีชาวไร่ชาวนามุสลิม และในทางกลับกัน กลุ่มผุ้มีอิทธิพลนอกกฎหมายชาวมุสลิมก็มีการโจมตีชาวไร่ขาวนาชาวคริสต์เช่นกัน กระนั้นก็ตาม แม้ไม่มีหลักฐานว่ากองกำลังติดอาวุธชาวคริสต์เตียนที่โจมตีชาวบ้านมุสลิมนนั้นจะได้รับการสนับสนุนจากผุ้มีอำนาจรัฐ แต่เหตุกาณ์ความรุนแรงต่อชาวบ้านมุสลิมก็ชาวนให้ประชาชนเชื่อว่ารัฐบาลฟิลิปินส์เองเป็นผู้หนุนหลัง..... (ที่มา : https://www.the101.world/sea-history-of-losers-bangsamoro-2/)


            


วันพุธที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Society and Politic

               การรวมตัวเป็นผ่านชน : แบบอำนาจไม่กระชับกับอำนาจอยู่ที่ศุนย์กลาง มนุษย์เกิดมากว่า 2 ล้านปี หลังจากมีสภาพเป็นสัตว์สังคมไปแล้วย่อมมีการรวมตัวกันเป็นครอบครัว เป็นหมู่เป็นเหล่า การที่จะทราบว่าสมัยล้านปีก่อนมนุษย์มีการรวมตัวอย่างไรเป็นไปได้ยาก เป็นการสันนิษฐานประกอบเหตุผล อย่างไรก็ตาม อย่างไรก็ตามสนปัจจุบันมีความเข้าใจตรงกันว่ามีการรวมตัวในทางการเมืองเป็นในรูปเผ่าพันธุ์ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การรวมตัวเป็นหมู่เล่าซึ่งเป็นเผ่าพันธุ์แบบหลวมๆ และอำนาจไม่กระชับ และ เฟ่าพันธุ์


แบบอำนาจอยู่ศุนย์กลาง

              การรวมตัวขึ้นเป็นผ่าพันธุ์ยังหลงเหลือสืบเนหื่องมารจนถึงปัจจุบันนี้ในบางบริเวณของโลก เช่น ในบรรดาชนพื้นเมือง ของออสเตรเลีย ในป่าอเมซอนในอเมริกาใต้และในแอผริกา เป็นต้น

              - การรวมตัวแบบอำนาจจำกัด โดยอำนาจไม่อยู่ที่ศูนย์กลาง อาจแยกเป็นประเภทต่างๆ กัน แต่จะหล่าวถึง 2 ลักษณะ ได้แก่ การรวตัวเป็นหมู่เล่า และการรวมตัวเป็นเผ่าพันธ์ุ

                      การรวมตัวเป้นหมู่เหล่ามีโครงสร้างอย่างหลวมๆ โดยรวมเอาครอบครัวหลายครอบครัวเข้าด้วยกันในบริเวรตแห่งใดแห่งหนึง เผ่าชนแบบหมู่เหล่านี้มีความสัมพันธ์ระหว่างกันเองน้อย ส่วนใหญ่ความสัมพันธ์เป็นในรูปของการแต่งงานในหมู่พวกเดียวกัน อาทิ ชนเผ่าพื้นเมืองในออสเตรเลีย และอินเดียแดงอาปาเช๋ ไม่มีการแบ่งหน้าที่การงานอย่างชัดเจน คอื ทำมาหาเลี้ยงชีพคล้ายๆ กัน หัวหน้าของหมู่เล่ามีแต่ไม่มีอำนาจามาก


             - การรวมตัวเป็นเผ่าชน 

                  เผ่าชน คือ การรวมตัวสที่ยึดสายเลบือด คือ ความเกี่ยวพันในการเป็นวงศาคฯาญาติทั้งใกล้และไกล จุดสำคัญอยุ่ที่มีการรวมกันอย่งเป้นระเบียบหรือมีการลดหลั่นในทางอำนาจค่อนข้างชัดเจน มีการเแข่งขันกันในทางอิทธิพลระหว่างสายต่างๆ ของเครือญาติหรือระหว่างตระกูล

                   ความเป็นปู้นำและการบริหาร บุคคลที่เป็นผุ้นำของเผ่ามีหน้าที่หนักไปแในเรื่องพิธีรีต่องทางศาสนาเหรือในทางความเชื่อ บทบาทเกี่ยวกับระงับข้อพิพาทระวห่างตระกูลมีบ้าง ปัญหาการบริหารมักตกลงกันภายในตระกุูลต่างๆ ที่รวมตัวเป็นเผ่านั้นเป็นไปในรูปของการสมรสระหวางตระกูลบ้าง ปัญหาการบริหารมักตกลงกันภายในตระกูล ระหวางตระกูลต่างๆ ที่รวมตัวเป้นเผ่านั้นเป็นไปในรูปของการสมรสระหว่างตระกูลบ้าง เีก่ยวกัยการร่วมมือในการทำมาหาเลี้ยงชีพย้าง แต่ส่วนใหญ่แล้วควมสัมพันะ์เป็นไปในทางพิธีรีตอง

            - การรวมตัวเป็นผ่าแบบอำนาจอยุ่ที่ศุนยกลาง การวมตัวเป็นเผป่าดดยอำนาจของหัวหน้าเผป่ามีมาก เช่นชนเผ่าซูลู ในแอฟริกา

                     การเมืองแยกตัวออกมา จากความเป็นเครือญาติหรือสมาชิกของตระำกูล ตำแหน่งผุ้นำหรอตำแหน่งอื่นๆ ทางการเมืองมิได้ขึ้นอยุ่ในฐานะหรือสถานภาพในหมุ่เครือญาติ แต่มีลักษณะเป็นเอกเทศมากพอควร

                     การมีเจ้า เผ่าชนที่มีอำนาจอยุ่ในศูนย์กลาง รวมตัวเป็ฯอาณาจักรโดยหัวหน้าเผ่าเป็นเจ้า ระบบปกครองอาจเป็นแบบมีอำนาจอยุ่ที่ศุนย์กลางเต็มที่ หรือโดยที่อำนาจกระจายอยุ่กับหัวหน้าตระกูลต่างๆ ในกรณีหลัง เจ้าหรือกษัตริย์ต้องพึ่งพาหัวหน้าตระุลหรือกลุ่มอื่นๆ ในการดำเนินการต่างๆ 

                  - การวิวัฒนการสู่สภาวะการเมืองที่เด่นชีัดยิ่งขึค้น รูปแบบการวมตัวข้างต้น ยังไม่มีการแยกแยะสภาวะที่เป็นการเมือง ที่ชัดเจน การเป้นหัวหน้าหรือการมีบทบาทสำคัญในเผ่าหรือในหมู่+ยังขึ้นอยุ่กับสภานภาพในวงศ์ตระกุลมิใช่น้อย นอกจากนี้ การเป็นผุ้นำยงมีบทบาท เกี่ยนวกับพิธีรีตอง หรือทางศาสนาปะปนอยุ่มาก เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น คือ กิจการรมที่เีก่ยวกับการเมืองมีากขึ้น มีศุนย์กลางด้านต่างๆ มากขึ้น


                        กิจกรรมที่เกี่นยวกับการเมืองโดยตรมมีมากขึ้น ในยุคก่อน ุ้มีบทบาทางการเมืองมักเป้นผุ้อยุ่ในตำแหน่งที่ดีของวงศ์กระกูลที่ใหญ่หรือสำคัญ มักเป็นผุ้รู้ทางพิธีหรือในเรื่องความเชื่อเกี่ยวกับสิ่งศกักิ์สิทธิ ต่อมาผุ้ที่เป็นหัวหน้าได้เป็นหัวหน้าเพราะความสามารถส่วนตัวมากขึ้น ฐานะในวงศ์ตระกูลอาจไม่ใช่ปัจจัยที่สำคัญก็ได้แต่มีอำนาจหรือบทบาทางการเมือเหนือผุ้อยุ่ในตำแหน่งได้ การตัดสินใจดำเนินการต่างๆ เร่ิมทีความเป้นเอกเทศ หรือเป็นสาธารณะมากขึ้น 

                       มีศูนย์กลางในด้านต่างๆ มากขึ้น

                       กิจกรรมาที่เร่ิมเป็นเฉพาะ "การเมือง" หรือเฉฑาะ "ศาสนา" หรือเฉพาะ "วัฒนธรรม" สะท้อนภาพออกมาในรูป รูปลักาณะ หรือ "ศูนย์กลาง"ของกิจกรรม เช่น มีการออกจัดทำระเบียบปฏิบัติอย่างเป็นทางการในทางการเมืองในรูปของกฎหมาย อนึ่งมีการสร้างศุนย์พิธีกรรม หรือศาสนาสถานขึ้นเืพ่ประดยชน์ทืางจิตใจของบุคคล นอกจากนี้ มีการแบ่งบริเวณออกเป็น "เมือง" และ "ชนบท" การวิวัฒนาการที่กล่าวถึงนี้กินเวลานานมาก และการเปลี่ยนแปลงมิได้สมำ่เสมอ จาการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวลแะอื่นๆ ต่อมาได้เกิดการรวมตัวแบบเป็น "นครรัฐ"ขึ้นมา

               ที่มา  /http://old-book.ru.ac.th/e-book/s/SO477/so477-4.pdf

            

วันอังคารที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Religion and Society

          

              ศาสนาในสังคม ความสัมพันธ์ระหว่างศาสนากับสังคมนั้น ขึ้นอยู่กับแกนกลางของสังคม คือตัว
บุคคลหรือสมาชิกของสังคนั้นเอง ซึ่งถือว่าทำหน้ราที่เป็นตัวเชื่ีอมโยงให้สังคมและศาสนาสัมพันธ์กัน บุคคลอยู่ใต้อิทธิพลของศาสนาในด้ารการประพฤติปฏิบัติตามหลักศาสนา ซึ่งแสดงออกมาให้เป็นปรากฎในรูปพฤติกรรมทางศาสนา และในทำนองเดียวกัน บุคคลนั้นๆ ก็เป็นหน่วยหนึ่งของสังคม ซึ่งอาจจะเร่ิมจากตัวบุคคลในครอบครัว จนถึงรวมกันเป็นกลุ่มก้อนอันจัดเป็นสังคมก็ได้ ฉะนั้นศาสนาและสังคม จะสัมพันธ์กันมากน้อยเพีนงไรนั้น จึงขึ้นอยู่กับบุคลลอันเถือเป็นหน่วยหนึ่งทั้งของศาสนาและสังคม ฉะนั้น ศาสนาและสังคมจึงมีความสัมพันะืกัน โดยมีแก่กลางคือตัวบุคคลเป็นสำคัญ 

            อิทธิพลของศาสนาต่อสังคม เป็นที่ทราบแล้วว่าสังคมนัน เป้นเรื่องของการอยุ่ร่วมกัน ทั้งดดยทางะรรมชาติ และโดยการสมัครใจอันขึ้นอยู่กับวิธีการ อันเรื่องของการอยู่ร่วมกันนั้น ก็ต้องมีหลักอันถือเป็นกฎเกณฑ์สำหรับกำกับสังคมให้เป้นไปด้วยความเป้นระเบียบเรียบร้อย และสงบสุของสังคมและหมุ่คณะ เร่ิมตั้งแต่อาศัยกฎธรรมชาติซึ่งได้แก่ขนบธรรมเนียม จารีต แระเพณีต่างๆ ที่มีดดยะรรมชาติ รวมทั้งความสัมพันธ์กับระบบะรรมชาติด้วย อันเป็นเคตรื่องควบคุม กำกับความเป้นไปของสังคม  กระทังสังคาสมได้วิวัฒนาการขึ้นมา ความสัมพันะ์ได้ขยายกว้างออกไปจากเดิม ควมขัดแย้งและความไม่เป็นระเบียบในสังคมก็ได้มีขึ้น จึงจำเป้นอยู่เองที่จะต้งอมีกฎออกมาเพื่อใช้ควบคุม สังคมให้รัดกุมยิ่งขึ้นเพียงใดก็ตาม ความเป็นระเบียบเรยบร้อยและความเป็นไปต่างๆ ของสังคม ก็ยังมีการขันกันภายในสังอยุ่ 

            แม้สังคมจะได้วิวัฒนกรไปมากเพียไร และได้มกฎออกมาสำหรับควบคุมสังคมให้รัดกุมย่ิงขึ้นเพียงได็ตาม ความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความเป็นไปต่างๆ ของสังคม ท็ยังมีการขัดกันภายในสังคมอยุ่  กฎต่างๆ ที่ออกมานั้นสามารถบังคับสังคมโดยเฉาพมทางกายหรือภายนอกเท่านั้น ยังไม่สามารถควบคุมได้เท่าศาสนา และจากการไม่เป็นระเบียบของสังคมนี้เอง เป็นเหตุในศาสนาเข้ามามีอทธิพลในังคม และสังคมเป้นไปด้วยความเรียบร้อย ดดยยอมรับอิทธิพลของศาสนานั้นๆ 

           อิทํพลของศาสราต่อสังคมนั้น จะปราฏำออกมาโดยสังคมได้รับอิทธิพลจากศาสนาวิธีใดวิธีหนึ่ง ทั้งโดยทรง อาทิได้รับอิทธพลจากสษสนาจากการศึกษาอบรมและโดยอ้อม เช่น ทำตัวให้เข้ากับสภาวะของศาสนา เป็นต้น 

             มีคำกล่าวของนักนิติศาสตร์และนักะรรมศาสตร์ชาวตะวันตกท่านหนึ่งว่า "ไม่มีแผ่นดินแอสระในประเทศใดที่กฎหมายไม่มีอำนาจสูงสุด แต่ถึงกระนั้นก็ดี กฎหมาย็เป็นเครื่องปกครองคนได้ไม่สนิทเท่าศาสนา เพราะกฎหมายเป็นเครื่องป้องกันคนมิให้ผิดได้เฉพาะแต่ทางกายกับวาจาเท่านั้น แต่ศาสราย่อมเป็นเครื่องรักษาคนไว้ไม่ให้ทำชั่วได้ทั้งกายวาจา และทางใจ ด้วยที่เีดยว ฉะนั้น ปวงชนที่ยึดมั่นอยู่ในศานาเมื่อจะยึดถือเอาศาสนาเป้นเครื่องปกครองคนดดยเคร่งครัดแล้ว จะต้องไม่กระทความชั่วอันเป็นการล่วงละเมิดกฎหมาย และผิดศีละรรมต่อศาสนาของคนในที่ทั้งปวง" ข้อนี้ แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของศศาสนาที่มีต่อสังคม อันสามรถช่วยให้สังคมดำเนินไปด้วยความเป็นระเบียบเรยบร้อย ซึ่งจะก่อให้เกิดความสงบในสังคม 


            ความสัมพันธ์ระหว่างศาสนาและสังคม ตามแนว Joachim Wach  ได้กำหนดไว้ อธิบายดังนี้

            ศาสนาในสังคม

            1 โดยการให้นิยามคำว่า ไสังคมวิทยาศาสนาไ น้น เป็นการสึกษาถึงอัตรสัมพันธ์ของศาสนาและสังคาม ทีมีอยู่ต่อกัน จะเป็นในรูปใดก็ตาม เราถื่อว่าสิ่งเล้าหรือแรงกระตุ้นต่างๆ ก็ดี แนวความคิดก็ดี และสถาบันต่างๆ ทางศาสนาก็ดี ถือว่าต่างมีอิทธิพลต่อศาสนาและในทางกลับกันสังคมก็ได้รับอิทธิพลจากสาสนาด้วย ไม่ว่่าจะเป็นอำนาจทางสังคมกระบวนการทางสังคม และการกระจายทางสังคม อันมีรายละเอียดตามความสัมพันธ์ตามลำดับดังนี้

            ศาสนา มีความสัมพันธ์กับบุคคล ตั้งแต่บุคคลแต่ละคน ซึ่งอาจจะเริ่มต้นจากครอบครัวขยายออกสู่ชุมชน และประเทศชาติเป็นต้น เพราะถือว่าความสัมพันธ์นั้นเร่ิมจากสิ่งที่อยุ่ใกล้ตัวเองก่อน แล้วค่อยๆ ขยายออกมาจากครอบครัว 

             ในการจัดระบบทางสังคม ได้รับอทิธพลจากทางศาสนาเป็นส่วนมาก เช่น การจัดรูปแบบการปกครอง รูปแบบสังคม เป็นต้น

              ศาสนามีอิทธิพลสามารถขจัดปัญหาเรื่องชนชั้นได้ ตามความเชื่อถือทางศาสนในทุกสังคม ซึ่งสมาชิกแต่ละคนที่มาร่วมอยุ่ในสังคมเดียวกันนั้น แม้จะมาจากบุคคลที่มีฐานะและชาติชั้นวรรณะต่างกันอยางก็ตาม สามารถรวมกนได้ เพราะอาศัยศาสนาเป็นศุนย์กลาง

               หลักอันหนึ่งของศาสนาที่เป็นศูนย์รวมของสังคม ก้คือการมีพิธีกรรม ในการประกอบพฺะีกรรมประจำสังคมนั้น ต้องอาศัยศาสนาตามที่สังคมนั้นยึดถือปฏิวัติกันมาทั้งนี้เืพ่อช่วยให้เกิดความศักดิ์สิทธิในพิธีกรรมนั้นๆ 

               อิทธิพลอันยั่งยืนอีกอย่างหนึ่งของศาสนาในสังคมก็คือ ช่วยควบคุมสังคมให้เป็นไปด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย อันเป็นเหตุให้สังคมมีความเป้นอยู่อย่างปกติสุข

               2 ศาสนากับความสัมพันะ์ทางด้สนสภาบันทาสังคมอื่นๆ 

               ศาสนากับการปกครอง ความสัมพันธ์ในข้อนี้ถือเป็นการค้ำจุนค่านิยมของสัคมให้ดำเนินไปด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย เช่น การออกพระราชบัญญัติควบคุมสังคม เป็นต้น จำเป็นต้องใช้หลักธรรมทางศาสนา หรือหลักจริยะรรมในการบริหารราชการ มาช่วยค้ำจุนในสถาบันทางสังคมนั้นๆ  นอกจากนี้ยังมีศาสนากับการศึกษา ซึ่งทั้งสองอย่างเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม การบวนการเรียนรู้ทางสังคมวิทยา ศาสนากับเศรษฐกิจ เช่นการดำรงชีพตามหลักศาสนา การพอดีในการใช้จ่ายเป็นต้น ศาสนกับครอบครัว เช่นคำสอนเกี่ยวกับการครองเรือนต่างๆ 


              สังคมในศาสนา

              เป้นการจัดรูปแบบของสังคมอยางหนึ่งในด้านการบริหารและปฏิบัติตามพิธีการทางศาสนา อันจัดชนกลุ่มหนั่งที่สังกัดในศาสนา เหรือป็นสาสนิกของศาสนาที่ทำเน้าที่เพื่อสังคม

             ในการจัดรูปแบบของสังคมในศาสนานั้น เพื่อความสะดววกในการบริหารศาสนาและการประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อถือ จึงมีการจัดแดบ่งออกเป็นนิกายต่างๆ ตามความเชื่อถือขงอแต่ละบุคคลในสงคม ตามนิกายที่ตนสังกัด

              การจัดแบ่งโครงสร้างของาสนาออกเป็นนิกายต่างๆ ตามลักษณะความเชื่อถือในศษสนาของสังคมนั้นๆ ซึ่งมีหลายประการด้วยกัน แต่เมือสรุปแล้วทุกนิกายในแต่ละศาสนาจะมีโครงสร้างของศาสนาอันประกอบดวบ กิจกรรมทั้งในทุกระบบของศาสนาน ซ่ึ่งรวมถึงตัวศาสนา นิกาย และสถานที่ประกอบพิธกรรมทางศาสนาด้วย ดดยถือการประกอบพิํธีร่วมกัน ในโบสถ์ อาทิ ในคริสต์สาสนานิยกายต่างๆ การประกอบศาสนกิจนั้นสอดคล้องกับความเป็นระเบียบของสังคมและภาวะเศรษฐกิจด้วย การนำคำสอนของศาสนาไปสู่ชุมชน หรือไปสุ่สังคมภายนอก อันเป็นการประสานประโยชน์ระหว่างศาสนากับรัฐ ระบบนัี้ได้แก่พวกพระ. การแบ่งออกเป็นนิกาย เพื่อค่านิยมของหมู่คณะ เป็นการนำระบบต่างๆ มาดัดแปลงแก้ไขให้ดีขึ้น ให้เหมาะสมกับสังคม  เพื่อแยกกิจการของศาสนาออกจากิจการของบ้านเมืองโดยเด็ดขาดเพื่อให้เป็นอิสระ. ระบบที่ยึดถือคำสังสอนของพระผุ้เป็นเจ้ายิ่งกว่านิกายอื่น และไม่ยอมดดแปลงแก้ไข, และรูปแบบที่เชื่อในหลักปรัญาไม่สนใจว่าใครจะเข้าจะออกจากศาสนา

                                                    แหล่งที่มา http://old-book.ru.ac.th/e-book/s/SO376(54)/SO376-7.pdf


              

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...