วันอาทิตย์ที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2567

League of Arab States


           หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2  ชี้ให้เห็นการเร่ิมต้นที่แท้จริงของเอกราช และการรักษาสิทธิของ
ตนเองในปะระเทศอาหรับทั้งหลาย  พร้อมกับการจากไปของกองำลังทหารอในดินแดนอาณัติ รัฐบาลแห่งชาติที่ก่อตั้งขึ้นใหม่มีอำนาจที่แท้จริงและมีความารับผิดชอบมากกว่าที่เคยมีมา

          เมื่ออกาหรับทั้งหลายได้รับเอกราชวัตถุประสงค์เกิมคือการต่อสู้แห่งชาติเพื่อความเป็นอันหนึ่งอันกเดียวกัน  การได้รับเอกราช และลัทธิชาตินิยมได้นำรัฐบาลอาหรับมุ่งความสนใจไปสู่ปัญญาเดียวกันันั้นคือ ปัญหาปาเลสไตน์  โดยความสนสจของอาหรับต่อปัญหาปาเลสไตน์มีมานานแล้ว ตั้งแต่ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2  

          ชาติอาหรับมีความไม่ไว้ใจกัน กองทัพขาดประสิทธิภาพมีเพียงจอร์แดนที่มีกองทัพที่เข้มแข็งแต่มีจำนวนน้อย เกิดการระสำ่ระสายจากเหตุลอบสังหารนายกอิยิปต์เหตุจาความไดม่พอใจในการบริหารประเทศที่ไม่มีประสิทธิภาพตามด้วยการจลาจล ทำให้อิสราเอลได้บุคเข้ายึดดินแดนภาคใต้ที่เคยเป็นดินแดนในอาณัติได้  อังกฤษจึงประกาศว่่าจะนำสัญญา ค.ศ. 1936 มาใช้เพื่อเข้าแทรกแซงอิยิปต์ในกรณีที่เกิดความไม่สงบ นอกจาว่าอิสราเลอจะถอนกำลังออกจากอิยิปต์ และเกิดความสงบขึ้นภายในประเทศ รัฐาบอียิปต์ม่ต้องการให้เกิดการแทรกแซงจึงแจ้งต่อ องค์การสหประชาติว่าพร้อมเจรจาพักรบ

             เกิดการวิพาก์วิจารณ์ถึงความพ่ายแพ้ของอาหรับอย่างกว้างขวาง หนึ่งในนั้น ชาวปาเลสไตน์ มูซา
อลามี หนึ่งในคนสำคัญในการก่อตั้งสันนิบาตอาหรับ ความว่่า

              "ในการเผชิญหน้ากับศัตรู อาหรับมิใช่ปรเทศเดียว แต่เป็นการรวมกันของประเทศเล็กๆ เป็นกลุ่มๆ ไม่ใช่ชาติ แต่ละประเทศก็กลัวกันเอง เผ้ามองซึคงกันและกันอย่างขุ่นเคือง สิ่งที่เกี่ยวข้องกับพวกเขาและเป็นสิ่งสำคัญในการกำหนดนโยบาย มิใช่เพื่อการรบชนะสงคราม และเพื่อการทำให้ปาเลสไตน์ปลอดภัยจากศัตรู แต่สิ่งที่พวกเขาต้องการซึ่งจะเกิดขึ้นภายหลังการต่อสู้นั้นคือ ใครจะเป็นคนสำคัญที่สุดในปาเลสไตน์หรือการผนวกปาเลสไตน์ไว้กับประเทศตนและที่สำคัญคือ ทำอย่างไรพวกเขาจึงจะทำให้ควาททะเยอทะยานของผุ้นำแต่ละคนบรรลุความสำเร็จได้อย่างแท้จริง แต่จุดมุ่งหมายที่พวกเขาประกาศออกมาก็คือ การช่วยให้ปาเลสไตน์พ้นภัยและยังพูดอีกว่าเมือปาเลสไตน์พ้นภัยแล้ว ประชาชนของปาเลสไตน์จะป็นผุ้กำหนดโชคชะตาของตนเอง นั้นเป็นการพูดโดยใช้ลิ้นเท่านั้น แต่ในใจของพวกอาหรับทั้งหลายปรารถนาที่จเะได้มันมาไว้กับตน และแล้วทุดคนต่างก็รับหาทางป้องกันไม่ให้อีกประเทสหนึ่งเข้าไปเป็นใหญ่  ปาเลสไตน์แม้ว่าจะไม่มีอะไรเหลือ นอกจากกองขยะและกระดูก"

               ความสัมพันธ์ระหวา่งประเทศอาหารับทั้งหลายที่มีต่อกันยังคงเป็นคำภามที่หาคำตอบไม่ได้โดยเฉพาะด้านการเมือง พื้นฐานทางอุด่มคติองอากรับก็แตกต่างกันจและในประเด็นที่มีความเคลื่อนไหวไปสู่สหันธรัฐซอาหรับหรือความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของอาหรับซึงกระทำมาแล้วตั้งแต่ปี 1919 เมือซารีฟ ฮุสเซนแห่งเมกกะได้ประกาศตนเป็นกษัตริย์ของชาวอาหรับ ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศอาหรับได้ก่อตั้งสันนิบาตอาหรับขึ้น แต่สนันนิบาตอาหรับมักจะเป็นสนามรบเท่าๆ กับเป็นคณะกรรมการความร่วมมือ ซึ่งมีผลกระทบต่อนโยบายสำคัญขงอสมาชิกสันนิขาต  สันนิบาติอากรับพยายามที่จะร่วมมือกันในการเข้าไปเกี่ยวข้องกับสงครามปาเลสไตน์แต่ีควาพยายามดังกลาวก็ล้มเหลว ความพยายามของสันนิบาตอาหรับในการสร้าง "อาหรับปาเลสไตน์" เป็นเพียงการทำให้ความแตกต่างอย่างลึกซึ่งระหว่างรพะจ้าฟารุคแห่งอียิปต์และพระเจ้าอับดุลลาห์แห่งจอร์แดนกลายเป็นประเด็นขึ้นมาเท่านั้น ด้วยเหตุนี้ ขณะที่พรเจ้าฟารุคถูกทืำรัฐประหารและอียิปต์ก็ได้รัฐบยาลของคนหนึ่มที่เป็นทหารและมีการปฏิรูป ขณะที่อิรักและซาอุดิอาระเบียยังคงอยุ่ภายมต้การควบคุมของสิ่งที่ชาวอียิปต์มองว่าเป็นระบการปกครองแบบเก่า ดังนั้นความสนับยสนุนที่จะได้รับอิยิปต์จึงขาดแคลนอย่างเห็นได้ชัด 

  ทอม ลอิเตล นักหนังสือพิมพ์และนักเศรษฐศาสตร์ของตะวันออกกลางได้เขียนไว้เมือ ตุลาคม 1955 ในการประชุมสันนิบาตอาหรับที่ีไคโรว่า " มีการประชุมาสนันิบาตอาหรับที่ไคโร ในบรรยากาศที่เป็นมิตรภายหลังการโต้เถียงอย่างรุนแรงระหว่างอิรักและอิยิปต์ระหว่าง 9 เดื่อนแรกของปี 1955 นนับเป็นการเพียงพอที่จะรับประกันความพอใจของรัฐบุรุษอาหรับ..ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของอาหรับไม่ได้คงอยู่ ฉันขอถามวา่แล้วมันเคยมีหรือไม่... สันนิบาตอาหรับเกิดจากความไม่สามารถที่จะรวมกับทางการเมืองอ ชาวอาหรับได้เยี่ยบย่ำความฝันของตนอย่างรุนแรง" 

             - ปัญหาพรมแดน ในความเป็นจริงตะวันออกกลางไม่เคยพบกับความสงบอย่างแท้จริง ทั้งที่มีการสงบศึกในฤดูใบไม่พลิ 19489 จากสงครามปาเลสไตน์คร้งแรก แต่พรมแดนของอิสราเอลมีลักษณเป็นแนววหน้ามากว่าเป็นพรมแดน ทุกๆวันจะมีปัญหาต่างๆ การจลาจล การโจมตีของหน่วตนคอมมานโด การส่งทหารไปป้องกัน การยิต่อสู้กัน และการยิงข้ามพรมแดนระหว่างซีเรีย-อิสราเอล จอร์แดน-อิสราเอล และอียิปต์-อิสราเอล ทั้งหมดนี้เป็นการปฏิบัติการอย่างธรรมดาซึ่งเกิดขึ้นทุกๆวัน เหตุกาณ์นับพันะรือ่งที่เกิดขึ้นระหว่าง ปี 1949-1955 สร้างปัญหาความยุ่งยากให้กับคณะกรรมการร่วมกันขององค์การสหประชาชาติ ซึ่งทำหน้าที่ดูแลการสงบศึกชั่วคราว

             เส้นแนวสงบศึกก็ถูกลากตามยถากรรมเพียงให้พอเหมาะกับแผนการณ์ทางทหารมากกว่าจะคำนึงถึงด้านเศรษฐกิจและสังคมหรือแม้แต่เกณฑ์ทางจุดยุทธศาสตร์นับว่าเป็นพรมแดน ที่เลวร้ายทีุ่ด ในบริเวณพรมแดนจะมีชาวอาหรับประมาณ 150,000 คน ซศึ่งไม่ใช่พวกที่อพยพเข้ามาแต่เป็นพวกที่ได้รับบาลเจ็บในสงครามปาเลสไตน์ คนเหล่านี้มีความรู้สึกโกรธ หิวโหย และผิดหวังในวิ๔ีชีวิตการเมืองของจอร์แดน ที่ซึ่่งพวกเขาส่วนใหญ่เขั้าไปอาศัยอยุ่

                  - ปัญหาผู้ลี้ภัยอาหรับ มีจำนวนนับล้านๆ คน กระจัดกระจายอยุ่ในประเทศอาหรับที่อยุ่รอบด้าน อาศัยอยู่ในค่ายผุ้ลี้ภัยโดยได้รับเงินบช่วยเหลือจากองค์การสหประชาชาติในอัตราคนละน้อยกว่า2 ดอลล่าร์ต่อเดือน องค์การสหประชาชาติให้การักษาพยาบาล อาหาร แต่พวกอาหรับเหล่านี้มีความรู้สึกตำ่ต้อย หมดหวังมีความทรงจำในอดีตและฝันถึงอนาคต จำนวนผุ้ลี้ภัยเพ่ิ่มมากขึ้นทุกปีๆ หนึ่งในผู้ลบี้ภัยเป็นผู้ฆ่าพรเจ้าอับดุลลาห์ รัฐบุรุษอาหรับแห่งจอร์แอน ความต่ำต้อย ความละอาย เป็นคำฟ้องของพวกเขาต่อรัฐบาลอาหรับทั้งหลายที่เคยสัญญาว่าจะปกป้องพวกเขา


                   - การโจมตีของอิสราเอล ซึ่งพร้อมจะโจมตีต่อเหตุการ์บริเวณพรมแดนที่กำลังดำเนินอยู่ ดังนั้นในปี 1954 กองทัพอิสราเอลโจมตีเมือง นิวห์หาลิน ในจอร์แดนและโจมตีฉนวนกาซา ในเดือน กุ่มภาพันธ์ 1955 ซึ่งเป็นฐานทัพทีั่สำคัญของอียิปต์ก็กลายเป็นเป้าของกองทัพอิสราเอล ชาวอียิปต์บาดเจ็บและตายกว่า 70 าคน  อียิปต์ตระหนักว่าต้องมีอาวุธที่ดีกว่านี้ ครั้งอียิปต์ไม่สามารถหาอาวุธจากตะวันตกตามต้องการ อิยิปต์จึงแสวงหาจากที่อื่น กันยายน 1955 นสเซอร์ ประกาศว่า เช็กโกสโลวาเกยจะจัดหาอาวุธจำนวนมากให้แก่อียิปต์

                 การประกาศดังกล่าวทำให้สหรัฐพิจารณาเห็นถึงอันตราย แต่สำหรับอาหรับโดยเฉพาะอียิปต์ยังคงรู้สึกถึงประวัติศาสตร์ที่ขมขื่นอันยาวนานในการมีความสัมพันธ์กับตะวันตก จึงพอใจเช็กโกสโลวาเกีย นัสเซอร์ ได้ทำในส่ิงที่ไม่มีใคีรคิดว่าจะเป็นไปได้ เขาใช้สงครามเย็นในการทำให้กิจกรรมของอาหรับเป็นเรื่องระหว่างชาติ ดังนั้นจึงปรากฎการชัดว่านัสเซอร์ ได้รับความช่วยเหลือจากทั้งโลกตะวันตกและโลกตะวันออก

                การต่อสู้บริเวณพรมแดนรุนแรงมากขึ้น กองกำลังอิสราเอลโจมตีฐานทัพซีเรีย โจมตีฐานทัพอียิปต์ และโจมตีกองรักษาด่านของซีเรีย ในเวลาไล่เลี่ยกัน จากการดจมตีเหล่านี้ทำให้อิสราเอลถูกตำหนิโดยคณะมนตรีความมั่นึคงแห่งชาติ ชาวอาหรับมองดูว่าอิสราเอลเป็นประเทศตะวันตก ส่วนประเทศอาหรับโดยเฉาพาะอียิปต์โฆษณาชวนเชื่อต่อต้านตะวันตกมากขึ้น ในจอร์แดนมีการเดินชบวนต่อต้านรัฐบาลเป็นฝ่ายตะวันและต่อต้านสัญญาแบกแดด รัฐบาลอ่อนแอและความรุนแรเพิ่มมากขึ้นจนกระทั่ง ปี 1956 ขจ้เาราชการชาวอังกฤษซึ่งเป็นผุ้บังคับบัญชากองทัพจอรืแดน ถูกปล่อยตัว ซึ่งเชอาจเป็นเพราะความเคลื่อนไหวโดยรัฐบาลจอร์แดน....


                           ที่มา : http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390/hi390-part2-5.pdf

วันเสาร์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2567

State of Israel

             วิกฤตการณ์ตะวันออกเริ่มตั้งแต่การตัดสินขององค์การสหปรชาชาติที่ใหแมีการแบ่งดินแดนปาเลสไตฯ์ออกเป็น 2 ส่วน สวนหนึ่งเพื่อให้เป็นที่ตั้งถิ่ฐานของชาวยิวและการก่อตั้งประเทศอิสราเอล ฝ่ายยิวยินยอมรับมติงกล่าวขององค์การสหประชาชาติ(มติ ค.ศ. 1947 แต่ฝ่ายอาหรับประกาศไม่ยอมรัีบ ฝ่ายอาหรับมีความเห็นว่า คำรตัดสินขององค์การสหประชาชาิตนันไม่ยุติธรรม ตั้งฝ่ายต่างอ้างสิทธิโดยใช้เหตุผลทาทงประวัติศาสตร์ ที่เคยได้ครอบครองดินแดนแห่งนี้ด้วยกันทั้งสองฝ่าย จึงกล่าวได้ว่ความขัดแย้งของทังสองฝ่ายจะนำไปสู่สงครามใหญ่

             สงครามนี้แบ่งออกเป็นสองระยะ ระยะแรกเป็นสคงามกลางเมืองในปาเลสไตน์ในอาณัติปี 1947- 1948 นับตั้งแต่สหประชาชาติลงมติให้แบ่งดินแดนปาเลสไตน์ออกเป็นรัฐเอกราชยิวและอาหรับ และเยรูซาเลมซึ่งอยุ่ภายใต้การบริหารของนานาชาติ (ข้อมติสมัชชาสหประชาชาติที่ 181

               อาหรับรวมตัวกันตามแบบ ปี 1936 อาหรับเริ่มโจมตีป้านเมืองของชาวยิวและยิวก็ตอบโต้ด้วยการโจมตีอาหรับ ปลายเดือนพฤศจิกายนสถานกาณ์ตึงเครียดและเลวร้ายลงอย่างรวดเร็ว มกราคม 1948 อาสาสมัครอาหรับจากประเทศเพื่อบ้านเร่ิมเข้าสู่ปาเลสไตน์ ผุ้นำอาหรับของการปฏิวัติปี 1936  ก็อยู่ในปาเลสไตน์อีกครั้งหนึ่งพร้อมด้วยอาศาสมัครจำนวน 5,000 คน แต่กระจัดกระจายกัน ถนนตามเมืองจต่างๆและหมู่บ้าถูกตัดขาด ข

               ขณะที่อกงทัพอังกฤษเร่ิมถอนตัวออก กองโจรอาหรับก็จู่โจมยบ้านเรือน ถนนจากเทลาวิฟไปเยรูซาเลมถูกตัดขาด ในไม่ช้าทั้งสองฝ่ายต่างจัดตั้งรัฐบาลเงาของตน ซึ่เหตุการณ์ในแต่ละวันนับจากเดือนธันวาคม 1947 ไปถึงเดือนพฤศจิกายน 1948 มีจคนเสียชีวิต ห้าพันคนตลอดทั้ง 5 เดือน ความเสียหายยประามหบายล้านดอลลาร์รถไฟถูกระเบิด มีการปล้นธนาคาร สำนักงานของรัฐบาลถูกโจมตีการจลาจลรุนแรง เกิดไฟไหม้การะปะทะกันระหว่างกองทัพและกลุ่มชนที่แข่ขันกัน 

             ประเทศอาหรับรอบด้านเตรียมพร้อมสำหรับสงตครมและประกาศว่าพวกเขาของขัดขวางจนตายต่อการตัดสินใจขององค์การสหประชาชาติ อย่างไรก็ตาม 

  ต้นเดือนเมษายน เหตุกาณ์ต่างๆ ดูเหมือนจะเข้าส๔่ภาวะที่ดีขึ้น กองทัพอังกฤษได้อถอนกำลังไปแล้ว ในวันที่ 20 มีนาคม เลขาธการของสันนิบาตอาหรับได้กล่าวสุทรพจว่าอาหรับจะยอมรับการพักรบชัวคราวและจะยอมเป็นดินแดนในภาวะทรัสตีที่ถูกจำกัดถ้าองค์การยิวจะตกลง แต่ประากฎว่าผู้นำยิว ปฏิเสธทันที ดังนั้นสถานกาณ์ทีท่ทำว่าจะดีขึ้นก็กลายเป็นการต่อสุ้อย่างรุนแรง ซึ่งดำเนินต่อไปเรื่อยๆ และทั่วปาเลสไตน์ เครื่องบินของยิวได้เข้าร่วมในการต่อสู้เป็นครั้งแรก ต่อมาผู้นำอาหรับซึ่งเป็นหัวหน้าของกางรักษาความปลอดภัยของอาหรับก็ถูกฆ่า ต่อมา อร์กัน พร้อมกับยความช่วยเหลือของฮากานาฮ์ก็เข้าดจมตีและยึดหมุ่ยบ้านเรียร์ เยซิน อิร์กันได้พยายามสร้างความน่ากลัวให้เกิดมากขึ้นในหมุ่ประชาชนอาหรับ มีการฆ่าหมู่ชาวบ้่านทั้งหมด และประกาศการกระทำของตนเอง อาหรับเร่ิมโจมตีบ้านเรือนยิวแลพื้นที่ของยิว แต่ก็พ่ายแพ้ ฮากานาฮ์เร่มตีโต้กองทัพอาหรับ นับจากนั้นกำลังของอาหรับก็เร่ิมพ่ายแพ้ ทั้งในความพยายามและการป้องกันตนเอง ฮากานาฮ์ยึดได้เมืองทิเบเรยส ต่อมาอิร์กัน และฮากานาฮ์ เข้าสู่เมืองไฮฟาได้ และขับไล่ประชาชนอาหรับออกไปจากเมือง ตันเดือนพฤษภาคม เมือง จัฟฟา ก็ถูกประกาศให้เป็นเมืองเปิดภายใต้การควบคุมของฮากานาฮ์และต่อมาฮากานาฮ์ก็ยึดเมืองแอคเค่ได้ จากความพ่ายแพ้ของฝ่ายอาหรับทำให้ชาวอาหรับจากมเมืองต่่างๆ ดังกลาวรีับหนีออกนอกประเทสทันที่ทันใด และแล้วในวันที่ 14 พฤษภาคม 1948 ทีเมือง เทลาวิฟ นายเดวิด เบน กูเรียน ก็ประกาศการกอ่ตั้งประเทศอิสราเอลขึ้น  ซึ่งจักรวรรดิบริติชกำหนดการถอนกำลังและสลำการอ้งสิทธิ์ทั้งปวงในปาเลสไตน์ในวันเีดยวกัน เมือทหารและกำลังพลบิติชคนสุดท้ายออกจากนครไฮฟา ผุ้นำยิวในปาเลสไตน์ประกาศสภาปนารัฐอิสราเอล และเป็นเวลาเดียวกันที่อกงทัพอาหรับและกำลัรบนอกประเทศของอาหรับที่อยุ่โดยรอบก็บุครองอิสราเอลทันที

               สงครามยิว อาหรับครั้งที่ เกิดขึ้นในทันที่ที่อิสราเอลประกาศเป็นประเทศ ในระยะแรกการรบดำเนินอยู่ประมาณ 4 สัปดาห์ องค์การสหประชาชาิตได้เข้าำกล่เหลี่ยย ดดยมีมติจากคณะมนตรีความมั่นคง มิถูนายน 1948 ให้ทั้งสองฝ่่ายทำการหยุดยิงพร้อมเสนอให้รวมปาเลสไตน์เข้ากับจอร์แดนและจัดตั้งเป็นสหพันธรัฐยิว-อาหรับ ซึ่งข้อเสนอดังกลาวนี้ทั้งยิวและอาหรับบต่างปฏิเสธอย่างสิ้นเชง ในเดือนธันวาคมของปีะเดียวกันการสู้รบจึงเกิดขึ้นอีก จาการสู้รบครั้งนี้อิสราเอลสามารถยดนครเยรูซาเลมได้ ทางด้านพรมแดนอียิปต์ก็รุกเข้าเขตนาเกฟ นอกจากนั้นยังสามารถยึดดินแดนบางส่วนของเลบานอนและซีเรยได้อีกอด้วย จาสภาพการดังกล่าว กุมภาพันธ์ 1949 อียิปต์จึงจำยอมเซ็นสัญญาสงบศึกกับอิสราเอล ตามด้วย เลบานอน ซีเรีย จอร์แดนและซาอุดิอาระเบีย เซ้นสัญญาสงบศึกกับอิสราเอลเช่นกัน

             ในช่วงสามปีหลังสงคราม ยิวกว่า เจ็ดแสนคนเข้าเมืองอิสราเอลจากทวีปยุโปรและดินแดนอาหรับ หนึ่งในสามออกหรือถูกขับออกจากประเทศในตะวันออกกลางผุ้ลี้ภายเหล่านี้ถูกกลืนเข้าสู่อิสราเอลในแผนหนึ่งล้าน


                   ที่มา : วิกิพีเดีย

                             nsion://efaidnbmnnnibpcajpcglclefindmkaj/http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI405(48)/hi405(48)-10.pdf

                            chrome-extension://efaidnbmnnnibpcajpcglclefindmkaj/http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390(47)/hi390(47)-2-4.pdf

                              

                             

วันศุกร์ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

UN Split Palestine 1947


            สหประชาชาติกับปัญหาปาเลสไตน์ ค.ศ. 1947 

                ในสภานการเช่นนี้ อังกฤษประสบควาามล้มเหลว ประกอบกับต้องจ่ายทั้งกำลังเงนและกำลังคนอย่างมาก ในที่สุดอังกฤษตัดสินใจนำปัญหานี้ไปสู่องค์การสหประชาาติ ภายหลังจากประชุมกันถึงปัญหานี้ใในสภาสามัญ ในวันที่18 กุมภาพันธ์ 1947  คณะมนตรีความมันคง และสมัชชาใหย่ จงรับปัญหาดังกล่าวไปพิจารณา และในเดือนพฤษภาคม ปีเดียวกัน สมัชชาใหญ่เสนอให้จัดตั้งคณะกรรมพิเศษสำหรับปาเลสไตน์ UNSCOP United Nation Special Committee on Palestine เพื่อเินทางไปศึกษาสถภานกาณ์ในปาเลสไตน์และหาข้อมูลเพื่อนำมาพิจารณาหาทางแก้ไขปัญาซึ่งข้อสนอนี้ไ้รับการเห้นด้วยจากทุกฝ่าย

               ในการเดินทางไปสำรวจครั้งนี้ อาหรับแสดงตนโดยปฏิเสธไม่เข้าร่วมในกาประชุมกับคณะกรรมการพิเศษ ตรงข้ามกับองค์การยิว ได้ให้ความร่วมมือกับ คณะกรรมการชุดนี้และยังหาเอกสารต่างๆ ให้ด้วย ภายหลังจากการศึกษาสภานการณ์ พบว่าผลการศึกแทบจะไม่มีความแตกต่างจากรายงานของคณะกรรมการชุดก่อน 

              ..ปาเลสไตน์มีมีพื้นที่ประมาณ 10,000 ตารางไมล์ เป็นประเทศเล็ก และเพียงครึ่งหนึ่งของพื้นที่เท่านั้นที่มีประชาชนอยุ่อาศัย ถึงแม้จะเป็นประเทศเกษตรกรรม ประชาชนประมาน 65% มีชีวิตอยุ่โดยกษตรกรรม แต่ประมาฯ 50% ของพืชประเภทข้าวที่ประชานบริโภคต้องสั่งเป้นสินค้าเข้า "ปาลเสไตน์จนกินไป" ในทรัพยากรทังหมดที่จำเป็นต่ออุตสาหกรรมสมัยใหม่ มีประชาชนอาหรับ 1,200,000 คน ยิว 600,000 คนหรือประมาณ 2:1 เนื่องจากอัตราการเกิดขงออาหรับสูงกว่ายิวมาก ในปี 1960  ถ้าการอพยพถูกห้าม จำนวนประชการจะเพิ่มขึ้นเอง โดยธรราชาติ ประชากรจะประมาณ 5;2  อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการก็พบว่าปัญหาการแบ่่งปาเลสไตน์มีปัญหาซับซ้อนมาก กล่าวคือ "ในเมืองจัฟฟา (รวมแทลาวิฟ) ไฮฟาและเยรูซาเลม มียิวมากกว่า 40% ของประชชนทั้งหมดของเมืองเหล่านั้น ในพื้นที่ภาคเหนือบริวณเมืองทิเบดเรียสและเบซาน มียิว ประมาณ 25%  และ 44% ของประชาชนทั้งหมด ส่วนที่เมืองเซเฟด และนาซาเรธ และตามชายฝั่งเมองทุลคาร์ม และแรมเล มียิวประมษณ 10% และ 25% ของประชาชนทั้งหมด ในขณะที่พื้นที่ตรงกลางของภาคใต้ของเยรูซาเลม มีัยิวไม่เกิน 5% ของประชาชนทั้งหมด"

             ดังนั้น ปัญหาที่เกี่ยวกับการแบ่งแยกนั้นยุ่งยากมาก แต่ขณะดียวกันความรีบร้อนในการยุติปัญหาก็มีมากกว่าปีก่อนๆ จำนวนผฝุ้อพยพที่ไม่ถูกกฎหมายมีมากถึงกว่า 17,000 ก็กำลังถูกกักขัง และชาปาเลสไตน์็ 820 คน ถูกจับ บรรยารกาศในปาเลสไตน์ตึงเครียดอย่างน่ากลัวตามถนนขงอเมืองเยรูซาเลมและพื้นที่สำคัญๆ มีลวดหนมามกั้น ถนนถูกปิด มีที่ตั้งปืน รถหุ้มเกราะมีอยุ่ทั่วไป และเพื่อความปลอดภัยของข้าราชการของรับบาลและกองทหาร จึงต้องอาศัยอยุ่ในเขตที่ปลอดภัย และทำงานภายในตึกที่ปิดมิดชิด และมียามเฝ้าตลอดเวลา



              จากกบทเรีียนารปกครองโดยอังกฤษพบว่า พลังทั้งหมดต้องอุทิศให้แก่ความปลอดภัยของประชาชนและการป้องกันตนเอง อังกฤษกล่าวว่า "ชุมชนใดที่มีจุดมุ่งหมายที่จะได้สิทธิทางการเมือดดยการใช้กำลังนั้น อังกฤษไม่ยอมรับ เนื่องจากต้นปี 1945 ที่ยิวได้เรียกร้องสิทธิอันนี้แล้วได้รับการสนับสนุนโดยกลุ่มการเมืองที่ผิดกฎหมาย รวมทั้งการฆาตกรรม..ไม่มีอะไรได้รับอนุญาติให้เป้็นประเทศยิว และไม่ีการอนุญาตให้มีการอพยพอยางอิสระเข้าสู่ปรเทศยิว" อังกฤษพบวิกฤติอยย่างหนัก

             ด้วยเหตุนี้UNSCOP จึงแนะนำว่าการปกครองในระบอบอาณัติของอังกฤษควรจะยุติลง ควรให้เอกราชแก่ปาเลสไตน์ และองค์การสหประชาชารติจะป็นผุ้รับผิดชอบต่อเอกราชดังกล่าว และยังแนะนำอีกว่า ชุมชนนานาชาติ(ยิวและอาหรับ)ควรได้รับความรีับผิดชอบต่อตเอง และช่วยผุ้ลี้ภัยยิง สองแสนห้าหมือนคนที่ยังอยุ่ในยุโรป เพื่อผ่อนเปบาความกดดันในปาเลสไตฯ ในที่สุด คณะกรรมการชุดพิเศษ แนะนำอีกว่าไม่ว่าจะมีการแบ่งกันอย่ารงไรในปาเลสไตน์ก็ควรจะรักษาความร่วมมือทางเศรษฐกิจไว้ เมพือมีการลงมติ เสียงส่วนใหญ่ UNSCOP ยอมรับแผนการณ์แบ่งแยกพร้อมกับความร่วมือทางเศษฐกิจ ดัดังนั้นถ้าแบ่งเป็นประเทศตามแผนการณ์แต่ละประเทศจะมีประชาชนดังนี้คือ

               1 ประเทอาหรับ มีอาหรับ 725,000 คน ยิว 10,000 คน และรวมคนอื่นๆ อีก

               2 ประเทศยิว มียิว 498,000 คน อาหรับ 407000 คน และรวมคนอื่นๆ อีก 

               3 เยรูซาเลม เขตระหว่างชาติ มียิว 100,000 คน อาหรับ 105,000 คน และรวมคนอืนๆ อีก 

               อย่างไรก็ตาม สมาชิกกล่มุนึ่ง ของคณะกรรมการพิเศษ ซึ่งเป็นผุ้แทนจากอินเดีย อิหรานและยูโกสลาเวีย เสนอว่ารควรมีการจัดตั้งสหพันธรัฐ เืพ่อหลักเลี่ยงการแบ่งแยก ซึ่งการแบงแยกได้เน้นให้เห็ชัดถึงความแตกต่างระหว่างยิวและอาหรับในตะวันอออกกลาง และเพื่อหลกเลี่ยงลบัทธิคอมมิวนิสต์ซึ่งเป็นอันตราย โดยที่สมาชิกเหล่านั้นมีความเห็นว่าการแ่งแยกไม่ว่าจะรูปแบบใด ก็ตาม ล้วนแต่นำมาซึ่งลัทธิคอมมิวนิสต์อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นอกจากนั้นสมาชิกเหล่านั้นบังคาดว่าประชาชนทั้งยิวและอาหรับที่กลายเป็นชนกลุ่มน้อยตามแยนกาณ์นั้นจะต้องขัดขวางอย่างแน่นอน ส่วนการก่อตั้งสหพันธรัฐ รัฐยิวและรัฐอาหรับจะมีอำนาจเต็มที่ใสนการปกครองตนเองภายใต้รัฐะรรมนูญของสหพันธรัฐ พรมแดนที่แนะนำก้มีความแตกต่างเพียงเล็กน้อยจากที่เสนอโดยสมาชิกกลุ่มหใญ่

             ที่องค์การสหประชาชาิผุ้แทนโซเวียต นายอังกเตร โกรมิโก แสดงความคิดเห็นรัสเซียต่อปัญหาปาเลสไตน์ โดยย้ำถึงความล้มเหลวของระบอบอาณัตในการปกครองปาเลสไตน์ เขเห็นด้วยกัยรายงานและข้อเสนอแนะของผุ้สังเตกกาณณ์ทุกคน นับตั้งแต่คณะกรรมการของอังกฤษชุดแรกที่ส่งไปสำรวจปัญหา เขาจึงสนับสนุน "ความหวังของยิวในการก่อตั้งประเทศของตน" และยังมีความเห็นอกเห็นใจชาวอาหรับไม่น้อย

               รัฐบาลอังกฤษประกาศถึงความต้้งใจจะเคลื่อนทัพของตนออาจากปาเลสไตน์และพื้อนที่บริวเณคลองสุเอซ ลึกไปถึงแอฟริกากลาง จนถึงเคนยา ในการตีพิมพ์ข้อสเนอของ UNSCOP ผลก็คือรัฐบาลาอังกฤษพร้อมที่จะถอนตนเองออกจาปาเลสไตน์ อย่างไรก็ตาม การกระทำเช่นั้นของอังกฤษอาจทำให้เกิดการต้อสุ้อย่างนองเลือดกระทั่งอังกฤษอาจถูกสาปแช่ง

                ชาวยิวพอใจต่อแผนการแบ่งแยก ม้วาจะไม่ได้พื้นทีี่ทั้งหมดในปาเลสไตน์ แต่กก็ได้มากกว่าอหารีับ นับเป็นขั้นต้นของเอกราช อาหรับมีความรู้สึกดังสูญเสียทุกอย่าง ปละประกาศว่าพวกตนจะต้อต้านข้อเสนอของ UNSCOP โดยากรใช้กำลัง

               เมื่อสถานะการตึงเครียดและความโกรธแค้นอขงฝ่ายอาหรับ ได้ทำให้ชุมชนที่แข่งขันกัยอยู่แล้วกำลังเครียมพร้อมสำหรับสงครามที่ต่างก็คาดว่าจะต้องเกิดขึ้นอย่างแนนอน 



                สหประชาชาติ เสียงส่วนใหญ่สนับสนุนการแบ่งแยกและตัดสินใจวาการปครองของอังกฤษควรยุติลงในวันที 1 พฏษภาคม 1948 และประเทศยิวและประเทศอาหรับควรถูกก่อตั้งขึ้นในวันที่ 1 กรกฎาคม ผุ้แทนอังกฤษประกาศว่ากองทัพอังกฤษจะถอนออก ในวันที่ 1 สิงหาคม และอังกฤษจะไม่เข้าไปมีส่วนร่วมในความพยายามใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการแบ่งแยก ครั้นเมือมีการประชุมของสมัชชาใหญ่ในวันที 26  เซอร์ อเล็กซานเดอร์ คาโดกัน ประกาศวาอังกฤษต้องการยืนยันอย่างแนนอนว่าการแบ่งแยกจะต้องไม่เกี่ยวข้องกับกำลังของอังกฤษ

                สภานการในตะวันออกกลาง นอกปาเลนไตน์ ความไม่พอใจอาหรับเพื่อบ้านที่มีต่อไซออนนิสต์ถึงขึคสุด พวกเขาพร้อมที่จะต่อต้านมนทุกรูแปบบการเดินขบวนอย่างน่ากลีัวได้ระเบิดขึ้นตา จุดต่างๆ มากมายทั่วตะวันออกกลางตามเมืองต่างๆ เช่น เอเดน ลิเบีย และแบกแดด ชาวอาหรับมีความโกรธแค้นต่อชุมชนยิวในปากิลสไตที่อยุ่ห่างไกล แต่พวกเขาไม่สามารถโจมตีชาวยิวเลห่านั้นได้ ผลก็คือชาวยิวผุ้อาศัยอยู่ในดินแดนอาหรับเหล่านั้นและผุ้ไม่เกี่ยวข้องกับไซออนนิสต์ ต้องุถูกโจมตีดดยอาหรับที่กำลังโกรธแค้น ทำให้กลุ่มชาวยิวหล่าันอยุ่ในความกลัวและในที่สุดก็นำไปสู่การอพยพออกจาดินแดนอาหรับไม่วาจากอิรักและเยเมน ผลคือความกดดันต่อการอพยพเข้าสู่ปาเลสไตน์มากขึ้นเป็นลำดับ 

                 ภายหลังจากที่อภฺปรายกันยาวนานที่องค์การสหประชาชาติ และหลังจากมีการศึกษาโดยคณะอนุกรรมการต่างๆ แล้ว และมีการเลปี่ยนแปลงเล็กน้อยเกี่ยวกับพรมแดนของการแบ่งวในที่สุดในวันที่ 29 พฤศจิการยน ข้อเสนอของการแบ่งแยกก็ผ่านโดบยคะแนนเสียง 33:13 และอีก 10 ไม่ออกเสียง


                          ที่มา : /http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390/hi390-part2-4.pdf

วันพฤหัสบดีที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Palestine under WW2

             ปาเลสไตน์ระหว่างสงครามโลกครั้งีที่ 2 

             ขณะเดียวกัน สถานการณ์ในยุโรปแสงสว่างกำลังริหรี่ ท้งนี้เพราะในวันที่ 1 กันยายน 1939 สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้เกิดขึ้นการเดินทัพของเยอรมันเข้าสู่โปแลนด์ขณะที่สมาชิกขงชุมชนทั้ง 2 กลุ่มสับสนุนรัฐบาลอังกฤต่อต้านเยอรมนี ชาวยิวกว่า 21,000 คน และอาหรับกว่า 8,000 คนได้ให้ความช่วยเหลือกองทัพอังกฤษ แต่ขณะเดียวกันทั้งยิวและอาหรับก็ยังคงเป็นศัตรูกับรัฐบาลท้องถ่ินขงออังกฤษ การเดินขบวนโจมตีรัฐบาลอย่างรุนแรงไม่เคยหยุดหย่อนตลอดเวลาที่เกิดสงคราม

(WWII: https://draft.blogger.com/blog/post/edit/57583117367728393/3275470437818583157)

             ปี 1942 อังกฤษได้ชัยชนะหนอเยอรมัน ในการรบที่ เอล อะลาเมน แต่ส่งที่เกิดขึ้นในปาเลสไตน์คือ การแสดงความเป็นศัตรูของประชาชนเพิ่มขึ้นมาก สมาชุกกลุ่ม สเติร์น แก๊ง Stem Gana ของชาวยิวได้แะทะกับตำรวจ ในปี 1944 ชุมชนยิวพยายามฆ่าข้าหลวงใหญ่ สิ่งก่อสร้างต่างๆ ของรับบาลถูกโจมตี ผุ้บังคับบัญชาการในกองทัพอังกฤษในตะวันออกลางได้กล่าวตำหนิชุมชนเหล่านั้นว่า "พวกหัวรุนแรงกำลังขัดขวางต่อความพยายามของอังกฤษและกำลังช่วยเหลือศัตรู" พฤศจิกายน 1944 รัฐมนตรีต่างประเทศอังกฤษ ถูกสมาชิก 2 คนของกลุ่มสเติร์น แก๊งฆ่าขณะพำนักอยู่ในไคโร ปี 1945 การโจมตีรัฐบาลแะดจมตีกองทัพอังกฤษเป็นอย่างรุนแรง รวมทั้งสิ่งอำนวนความสะดวกในด้านการคมนาคมก็ถูกทำลายด้วย ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าขณะที่ยุโรปหลุดอกมาจากสงครามโลก ปาเลสไตน์ก็เร่ิามทำสงครามอย่างตั้งใจจริง

             ความน่ากลัวของสงครามในยุดรปและการฆ่าหมู่ชาวยิวโดยนาซีเยรมัน ทำให้สถานการณืเลวร้ายอยางมากดดยเฉฑาะในปาเลสไตน์ ความโกรธของประชาชนลุกเป็นไฟรัฐบาลอังกฤษถูกตำหนิพราะได้จำกัดการอพยพของยิวตามบันทึกสีขาว และเพราะการตายของชาวยิวนับแสนคน ผุ้ไม่สามมทรถหลบหนีออกจากยุโรปไทันhttps://draft.blogger.com/blog/post/edit/57583117367728393/8017788461867951282

                             https://draft.blogger.com/blog/post/edit/57583117367728393/410601110201438265

              อังกฤษล้มหลวสนการยุตปัญหาปาเลสไตน์ จึงได้รองขอไปยังสหรัฐอเมริกาให้เข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยแก้ปัญหา ทั้งอังกฤษและอเมริกาได้จัดตั้งคณะกรรมการสอบสวนร่วมกันชือ แองโกล-อเมริัน คอมมิตตี สอบสวนความต้องการของชุมชนยิวยุโรป แต่นาซีเยรมันก็ยังทำการเข่นฆ่าต่อไป กรคณะกรรมการนี้ทำงานไม่ได้ รายงานกล่าวว่่า "การตายของมนุษย์ที่มีควาททุกข์ทรมานที่นัี่นยังคงมีอยุ่ต่อไป"

              ส่วนในปาเลสลไตน์ คณะกรรมการีร่วมพบว่าการทำงานของคณะกรรมการชุดก่อนของอังกฤษ น่าเชื่อถือได้ กล่าวคือรายงานความเป็นศัตรูของอาหรับที่มีต่อไซออนนิสต์นั้นเป็นจริง อย่างไรก็ตามมีความแตกต่างที่สำคัญขงอสภานกาณ์ในปีทั้ง 2 คือ 1936และ1946 ก็คือฝ่ายยิวมีพลังใหม่เพื่อมากขึ้นอย่างเข้มแข็งและมั่นคง องค์การยิวมีกองทัพที่ไม่เป็นทางการชือ ฮากานาฮ์ ซึ่งคาดว่ามีกำลังกสว่า 60,000 คน คณะกรรมการร่วมรายงานว่า "ยิวมีกองทัพใหญ่โต มีค่าย เต็นท์มากมาย จนมองไม่เห็นพื้นน้ำของทะเลแกลิลร บ้านเรือนถุกครอบครองโยทหาร รถถังเต็มท้องถนน ประชาชนผู้ถูกสงสัยจะถูกจั มีการขว้างระเบิดและยิงกันในเวลากลางคืน" 

             ในขณะเดียวกันรัฐบาลปาเลสไตน์ ขณะกำลังรอคอยรายงานของคณะกรรมการร่วมก็ได้จัดโควต้าผุ้อพยพพันห้าร้อยคนต่อเดือน และกวดขันลงโทษผุ้โจมตีด้วยอาวุธผู้มีปืนในครอบครองและสมาชิกของกลุ่มหัวรุนแรง

   ปี 1946 สภานกรณืในปาเลสไตน์ตึงเครียดอย่างเลวร้ายเป็นการกระทำของยิวคือ กลุ่มคอมมารนโดของฮากานาฮ์ ที่ชื่อ พัลมัช ได้ทำลายสะพาน 9 แห่งในที่ต่างของประทเศ กลุ่มสเติร์นแก๊งของยิวได้โจมตีทางรถไฟในไฮฟา และในคือวันที่ 16 กลุ่มอิร์กัน ของยิวเช่นกันได้ลักพาตัวข้าราชกรกองทัพดอังกฤษจำนวน 6 คน และกักขัะงไว้ รัฐบาลอังกฤษชีว่่าองคึ์การยิวที่ชื่อ ฮากานาฮ์  ใ ในมิถูนายน ปีเดียวกัน รัฐบาลจับกุมสมาชิกคนหนึ่งขององค์การยิวและยึดสำนนักงานใหญ่ตลอดจนทำการค้นและยึดเอกสารได้จำนวนหนึ่ง ประชาชนกว่า สองพันเจ็ดร้อยคนถูกจับ กว่า เจ็ดร้อยคนถูกขังหลังการสอบสวน คาดว่าส่วนใหญ่เป็นสมาชิกของพัลมาช กองทัพอังกฤษพบอาวุธจำนวนมากและยึดมาได้ ในการตอบโต้ อิรฺ์กันจึงได้เผาดรงแรม คิงเดวิด ซึ่งเป็นที่พักอาศัยของตณะทำงานอาวสุโสของรัฐบาลแห่งปาเลสไตน์

           ขณะเดียวกันในลอดดอน ข้าราชการอังกฤษและอเมริกา ถกเถียงกันถึงความเป็นไปได้ของการแก้ปัญหาปาเลสไตน์ คนเหล่านั้นเห็นด้วยกับการแบ่งปาเลสไตน์ออกเป็นเขตยิวและเขตอาหรับ และให้แต่ละเขตกลายเป็นรัฐรัฐหนึ่ง ซึ่งต่างก็มีอธิปไตย แผนการณืตามความคิดนี้ได้เคยมีความพยายามทำาแล้วเมื่อ สองสามปีที่ผ่านมาโดยข้าราชการอาณานิคมเสมือนป็นหนทางสุดท้าย ดังที่ได้ห็นแล้วว่าได้มีการพิจารณาผนการณ์ในลอนดอน ซึ่งผู้แทนของประเทศอาหรับทั้งหลายพากันคัดค้าน ไม่ว่าจะเป็นยิวในปาเลสไตน์ หรืออาหรับปาเลสไตน์ก็ไม่ยอมรับแผนการณ์ดังกล่าว เป็นที่รู้กันแล้วว่าความต้องการของอาหรับยังคงเหมือนเดิมคือปาเลสไตน์จะต้องเป็นประเทศเอกราชปกครองโดยประชาชนเพื้นเมืองกลุ่มใหญ่(อาหรับ) ขณะเดียวกันชนกลุ่มน้อย(ยิว) ก็จะมีสิทธิของตนด้วย ความต้องการของไซออนนิสต์ก็เช่นกัน คือ ปาเลสไตน์จะต้องเป็นรัฐยิว โดยเปิดโอกาสให้แก่การอพยพของยิวซึ่งควบคุมดยองค์็การยิว

              อยางไรก็ตาม อังกฤษมีความพยายามที่จะประนีประนอม ดังนั้นในเดือนกุมภาพันธ์ ปี 1947 อังกฤษจึงเสนอว่า ปาเลสไตน์ควรถูกปกครองในฐานะดินแดนในภาวะทรัสตีเป็นเวลา 5 ปี โดยให้รัฐบาลท้องถ่ิน มีอำนาจอธิไตย ในพื้นที่ที่มียิวและอาหรับเป็นชนกลุ่มใหญ่ข้อาหลวงใหญ่อังกฤษจะต้องรับผิดชอบในการให้ความคีุ้มครองชนกลุ่มน้อยพร้อมกับผุ้ลี้ภัยอีกประมาณ แสนคน โดยให้เข้าสุ่ปรเทศได้ ในป 2 ปีแรก แต่ปรากฎว่าข้อเสนอนี้ถุกคัดค้านจากฝ่ายอาหรับโดยคณะกรรมการชั้นสูงของอาอาหรับและจากองค์การยิว


                                ที่มา : /http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390/hi390-part2-4.pdf

             

วันพุธที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

League of Nations mandate... ( Middle East and Imperialism III )

             ดินแดนในอาณัติของสันนิบาตชาติ เป็นสภานะทางกฎหมายของดินแดนที่ถ่ายโอนจากการควบคุมของประเทศหนึ่งสนุ่ประเทศหนึ่งในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 หรือเป็นข้อตกลงระหวา่งประเทศในการบริหารดินแดนหนึ่งในฐานะตัวแทนของสันนบาตชาติ



             รายชื่อดินแดนในอาณัติ ปาเลสไตน์(สหราชอาณาจักร 29 กันยายน 1932 -15 พฤษภาคม 1948. ซีเรีย(ฝรั่งเศส, มโสโปเตเมีย(สหราชอาณาจักร), รวันดา-บุรุนดี(เบลเยี่ยม), แทนกันยีกา(สหรัชอาณาจักร), แคมเมอรูน, โคโกแลนด์, อดีตมนิวกีนีของเยอรมัน กลายป็นเขตการปกครองนิวกีนี(ออสเตรเลีย/สหราชอาณาจักร), บาอุรู ในอดีตเป็นส่วนหนึ่งของนิวกีนีของเยอรมัน(ออสเตรเลีย สหราชอาณาจักรและนิวซีแลนด์), อดีตเยอมันซามัว (นิวซีแลนด์/สหราชอาณาจักร), แปวิฟิกใต้ในอาณัติ(ญี่ปุ่น) เซาท์เวสด์แอฟริกา(แอฟริกา/สหราชอาณาจักร)

            สันนิบาติโลก เป็นองค์การระหวางรัฐบลทั่วโลกแห่งแรกที่มีการกิจหลักในการปกป้องสันติภาพของโลก ก่อตั้งขึ้นเมือวันที่ 10 มกราคม 1920 ภายหลังจากการประชุมสันติภาพปารีส ซึ่งสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้ยุติลง ในปี 1919 วูโรว์ วิลสัน ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพจากบทบาทของเขาในฐานะผุ้ก่อตั้งสันนิบาต..

              ด้วยองค์กานี้ได้เติบโตขยายมากขึ้น ตั้งปี ปี 1934 - 1935 ได้มีสมาชิกถึง 58 สมาชิก ภายหลังจากการประสบความสำเร็จอยางโดดเด่นและบางส่วนก็ล้มเหลวในปี 1920 ในท้ายที่สุด สนันิบาตไม่สามารถขัดขวางความก้าวร้าวของ่ายอักษะ ความน่าเชื่อถือของค์กรลดลง สหรัฐเมริกาไม่เคยเข้าร่วมสันนิบาตและสหภาพโซเวียต ได้เขาร่วในช่วงปลายปีและไม่นานก็ถูกขับหลังจากการรุกรานฟินแลนด์ เยอรมนีได้ถอนตัวออกจากสันนิบาตเช่นกับ ญี่ปุ่น อิตราลี สเปน และอื่นๆ  การเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่ 2 แสดงให้เห็นถึงความล้มเหลวในเป้าหมายกลักของสันนิบาต สันนิบาติได้ดำรงอยู่ 26 ปี สหประชาชาติ (UN)

(https://draft.blogger.com/blog/post/edit/57583117367728393/1498290396191451449 )ได้เข้ามาแทนที่ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง และได้สืบทอดหน่วยงานและองค์กาต่งๆ ที่ก่อตั้งขึ้นโดยสันนิบาติ


              การปกครองดินแดนในอาณัติ

               การวิเคราะห์การบริหารและการจัดการดินแดนในอาณัติของอังกฤษแปละฝรั่งเสส รวมทั้งผลกระทบของนดยบายรัฐบาลที่มีต่อประชาชนชาวอาหรับในแง่ของเศรษฐกิจ สัง และวัฒนธรรม จะทำให้เกิดควาเข้าใจในการจัดตั้งรัฐสมัยใหม่สในตะวันออกกลางในยุคอาณานิคม และประเด็นปัญหาทางการเมืองและการจัดการโครงสร้างทางสังคมที่เร่ิมปรากฎในยุคเดียวกันแต่ยืดเยื้อยาวนานกระทั้งปัจจุบัน เจมส์ เกลวิน นักประวัติศาสตร์ตะวันออกกลาง ชาวอเมริกา จากมหาวัทยาลัยแคลิฟอร์เนีย อธิบายว่า พรมแดนต่างๆ ใสนแถบเเลอเวน์ เมโสโปเตเมีย และ อะนาโตเลีย เกิดขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ด้วยปัจจัย 2 ประการ กลาวคือ

                     ระบบดินแดนในอาณัติของสันนิบาตชาติ ที่มอบอำนาจให้จักรวรรดิอังกฤษและฝรังเศสแบ่งแยกดินแดนในตะวันออกกลาง กำหนดอาณาเขตและขีดเส้นพรมแอนในรูปแบบเมืองก่อนรัฐ เพื่อปกครองได้อย่างอิสระ โดยมิได้คำนึงถึงความแตกต่างหลากหลายทางชนชาติ และศาสนาของประชากร การก่อตั้งรัฐมัยใหม่ในอีกรุปแบบหนึ่งคือการทำการปฏิวัติระบอบการปกครอง การต่อต้านระบบจักรวรรดินิยม และการพิชิตดินแดน ดังจะเห็นได้จากดินแดนอะนาโตเลียที่ยังคงเป็นปึคกแผ่นเดียวกันเนืองจากรัฐบาลขาตินิยมตุรกี นำโดยมุสตาฟา เคมาล อตร์เกติร์ก ประกาศสงครามประกาศอิสรภาพตุรกี และสู้รบกับตัวแทน่ายสัมพันะมิตร คือ กรีซบนแนวรบด้านตะวันตก และอาร์มีเนียบนแนวรบด้านตะวันออก ตั้งแต่ปี 1919-1922 จนสามารถตั้งเป็นรัฐอิสระ ได้อีกครั้ง

                    ก่อนที่จะเกิดการตั้งรัฐอิสราเอล ดินแดนปาเลสไตน์ได้เป็นประเด็นที่ขาติมหาอำนาจถกเถียงกันในเรื่องของกรรมสิทธิครบอครองดินแดน โดยที่เาียงส่วนใหญ่ของชาวอาหรับไม่ได้รับการเเหบี่ยวแล 

                     แรงสนับสนุนสิทธิในกาปกครองตนเอง ในขณะที่อังกฤษและฝรั่งเศสต้องการักาาอำนาจอิทธพลทางการเมืองและผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจด้วยการรักาาดินแดนอาณานิคมของตน แต่สหรัฐฐอเมริกา ซึ่งเดร่ิมเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1 ในปี 1917 ได้สนับสนุนให้ดินแดาณารนิคมมีสิทธิในการกำนหดชะตาชีวิตตนเอง ตามหลักการสิบสีข้อของประธานาะิบดีสหรัฐอเมริกา นายวูดโรล์ วิลสัน 



                     การจัดตั้งระบอาณัติ แนวคิดที่ขัดแยงของบรรดามหารอำนาจคลีคลายลงหลังการประชุมสันติภาพที่ปารีส ในปี 191 รัฐบาลต่างๆ ลงนามบริหารดินแดนแห่งนี้ในระบบที่เรียกวา ไดินแดนใต้อาณัต" โดยมีคณะกรรมการจัดการดินแดนใต้อาณัติเป็นผู้ดูแล

                    มาตรา 22 ของกติกาสันนิชาติชาติ มีส่วนเกี่ยวข้องดดยตรงต่อการจัดตั้งระบบรัฐสมัยใหม่ในตะวันออกกลาง เนื่องจาก่อให้เกิดระบบดินแดนใต้อาณัติที่ตอบสนองความต้องการของอังกฤษและฝรั่งเศสในการรักษาผลประดยชน์ทืางการเมืองและเศรษฐกิจในดินแดนตะวันออกกลาง ซึ่ง สหรัฐอมเริกาก้็ยังสามารถอ้างอิงหลังการ "กำหนดชะตาชีวิตตนเอง" ด้วยการสนัยสนุนให้ประชากรภายใต้ดินแดนอาณัติมีความพร้อมและศักยภาพที่จะปกครองตนเองในอนาคตข้างหน้าหากมีความพร้อม

                   ชาติมหาอำนาจยุโรปมีอำนาจเด็ดขาดในการจัดการกับภูมิภาคตะวันออกลางดดยแบ่งแยกและรวมดินแดนในภูมิภาคภายใต้อาณัติของตน ซึ่งกำหนดดดยสนธิสัญญาที่ชาวอาหรับไม่มีส่วนรุ้เห็น และไม่มีโอกาสแสดงความคิดเห็นหรือความต้องการปกครองตนเอง ด้วยเหตุนี้ ระบบดินแดนในอาณัติจึงขัดต่อคำแถลงการณื 14 ประการประธานาธิบดีวูดดรล์ วิลสัน คำสัญญาต่างๆ ที่อังกฤษทำไว้กับผุ้นำอาหรับจึงไม่ได้รับการตอบสนอง ขณะที่ข้อเรียกร้องของชาวอาหรับก็ไมได้รับความสนใจ การถ่วงดุลอำนาจของชาติมหาอำนาจยุโรปจึงปิดกั้นโอาสในการพัฒนาการบริหารจัดการและการปกครองตนเองของชาวอาหรับในตะวันออกกลางภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 

                     รูปแบบการปกครองของชาติมหาอำนาจส่วนใหญ่จะใช้วิธี ไแบ่งแยกและปกคอรง" ซึ่ง
เป็นการตอกย้ำความแตกต่างระหว่างเชื้อชาติและศาสนา ด้วยเหตุนี้ ถึงแม้แอังกฤษและฝรั่งเศษจะได้รับสิทธิในการปกครองอินแดนตะวันออกกลางอย่าางเด็ดขาด การบริหารจัดการก็ประสบปัญาและอุปสรรคในทุกถื้นที่ เนื่องจากจากการต่อต้านเจ้าอาณานิคมของผุ้นำขบวนการชาิตนิยมอาหรับที่ได้รับอิทธิพลจากแนวคิดการกำนหดชะตาชีวิตตนเองของประธานาธิบดีสหรัฐ..

                   การปกครองในระบบอาณัติไม่เพียงแต่ปลี่ยนระบบการเมือง เศษฐกิจและสัคมของดินแดนในตะวันออกกลางอย่างลึกซึ้ง แต่ยังทำให้ชาวอาหรับเคียดแค้นและไม่พอใจอำนาจและอิทธิพลของตางชาติที่รุกราน ประวัติศาตร์อันยานานของการรุกรานขากต่างชาติในตะวันออกกลางได้กลายเป็นสาเหตุของการจัดตั้งต่อต้านมหาอำนาจ เช่น ขบวนการชาตินิยม และอิสลามนิยม ซึ่งแต่ละขบวนการล้วนสะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมทางการเมืองของโลกอาหรับที่มองว่าตนเองถูกครอบงำโดยชาติมหาอำนาจตะวันตก


                   ที่มา : https://deepsouthwatch.org/node/11720

             

               

วันอังคารที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Palestine : British Mandate of Palestine II

             ปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองของอังกฤษ 

            - การประหัตประหารยิวโดยนาซี ในปี 1932 เป็นปีทีนาซีเยรมันขึ้นมามีอำนาจและทำการปัรหัตประหารยิงในเยอรมนีจากความเกลียดชัง ส่งผลให้ ระหส่างปี 1932-1933ชาวยิวอพยพเพ่ิมเป็น 3 เท่าโดยซึ่้งความกลัวยิวของชาวอาหรับก็เพิ่มขึ้นเช่นกัน ท่าทีของผุ้นำอาหรับแสดงความเป็นศัตรูมากขึ้นต่อรัฐบาลและความกดดันรัฐบาลก็รุนแรงขึ้นในฤดูใบไม้ร่วง ปี 1934 อาหรับแจ้งข้าหลวงวใหญ่ว่าผลประโยชน์และความปลอดภัยของอาหรับได้ถูกทำลาย ใน 1936 ผุ้อพยพชาวยิวครั้งนั้นเท่ากับการอพยพทั้งหมดใน 5 ปี 


                 ในปี 1936 ชุมชนอาหรับปาเลสไตน์เริ่มใช้วิธีการที่รุ่นแรงและโหดร้ายกว่าเดิม การโจมตีเกิดขึ้นระหว่างชุมชนอาหรับและชุมชนยิว ฝ่ายอาหรับจัดตั้งคณะกรรมการปาเลสไตน์ ขึ้นเพื่อรเียกร้อฝงรัฐบาลห้ามการขายที่ดินในแก่ขาวยิว และยุติการิอพยพของยิว พวกอาหรับพากันนัดหยุดงานทั่วไปแต่รัฐบาลก็ยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน ในที่สุดการนัดหยุดงานการจลาจลก็กลายเป้นสงครามกลางเมือง รถไฟ 2 ขบวนตกรางพวกอาหรับกองโจรซึ่งรวมทหารจากซีเรียและอิรักเร่ืิมปฏิบัติานในท้องที่ที่เป็นภู๔เขา ผุ้นำอาหรับจำนวนมากถูกจับขังคุก

                ในปีเดียวกันนั้น ผุ้พิพากษาและข้าราชการอาหรับอาวุโส จำนวน 137 คน ซึ่งอยุ่ในรัฐบาลปาเลสไตน์ ได้เสนอบันทึกความทรงจำแก่รัฐบาลอังกฤา ซึงในบันทึกดังกล่าวได้ชี้ให้เห็นถึาเหตุของความยุ่งยากที่เกิดขึ้น 

                "ประชาชนอหาหรับทุกคน ไม่่วาจะต่างกันในความเชื่อ หรืออาชีพล้วนแต่มีความรู้สึกเหมือนกันว่าพวกคนไม่ได้รับความยุติธรรม ได้รับแต่ความทุกข์ทรมาน ถูกขับไล่ไปสู่ความสิ้นหวัง เมือ่รุ้ว่ารัฐบาลเปิดดหนทางให้แก่ไซออนนิสต์ ความเเชชื่อมั่นของพวกเขาที่มีต่อรับบาลต้องสูญสิ้นไป ในปี 1931เมื่อนายกรัฐมนตรีมีจดหมายไปถึง ดร.ไวแมน กล่าวถึงกาตีความของยันทักสีขาวของปี 1930 ว่าความจริงแล้วการอพยพของยิวยังคงดำเนินต่ไปซึ่งตีความเข่นนี้สร้างความผิดหวังให้แก่อาหรับอย่างมาก"

                 หลังจากนั้น คณะกรรมกรรัฐบาละถูกส่งไปสำรวจหาสาเหตุของความุ่นวายอีก ครั้งหนึ่งในปี 1963 กองทัพประกอบอ้วยทหารจำนวน กว่าสองหมื่นคน ถูกส่ไปปาเลไตน์เพื่อสร้างความปลอดภัยให้แก่ประชาชน ในระยะนี้มีการลงโทษที่รุนแรงโดยเฉพาะผุ้ถูกกล่าวหาวากบฎ จำนวนชาวอาหรับผุ้เสียชีวิตเพี่มมากวาพันคน อย่างไรก็ตาม อามีร์ อับดุลลาห์ แห่งทรานส์จอร์แดน และนายกรัฐมนตรีของอิรักได้ขอร้องให้มีการประนีประนอม แต่รับบาลองกฤษไม่สามารถให้ความประนีประนอมได้ ดังนั้นผุ้ปกครองประเทศอาหรับอื่นๆ จึงแนะนำชาวอาหรับปาเลสไตน์ให้ยุติการจลาจลและให้มองอังกฤว่าเป็นรัฐบาลทีีมีความตั้งใจดีและยุติธรรม ในกลางเดือนตุลาคม อาหรับจึงเลิกนัดหยึดงาน และกองกำลังของพวกเขาก็กระจัดกระจายไป



            - คณะกรรมการสอบสวน ปี 1937 คณะกรรมการสำรวจได้รายงานผลของกการสำรวจถึงสาเหตุของความยุงยากซึ่งถูกตีพิมพ์ สในปี 1937 ดังนี้

                " ความขัดแย้งได้เกิดขึ้นระวห่งชุมชยนแห่งชาติ 2 กลุ่ม ภายในพรมแดนแคบๆ ของประเทศเล็กๆ ขาวอาหรับประมาณ ล้านคน อยู่ในความอลหม่านต่อสู้กับชาวยิวจำนวน 4000'000 คน ชุมชนทั้ง 2 กลุ่มมีความแตกต่างกันอยุ่แล้ว อาหรับเป้นเอเซีย ส่วนยิวแม้จะเป็นเซมิติกเมหือนอาหรับแต่ก็ได้รับอิทธิลของวัฒนธรรมยุโรปไว้มาก ทั้ง 2 ต่างกันทั้งในศาสนาและภาษา วิถีชีวิตทาสังคมและวัศนธรรม ตลอดจนแนวความคิดและการปฏิบัติตนก็ต่างกันทั้งหมดนี้เป้็นอุปสรรคอย่างใหญ่หลวงต่อสันติภาพ..สงครามได้ดลใจอาหรับให้มีความหวังในอิสรภาพ ดละการรวมดลกอาหรับทั้งหมดเข้ากับยุคทองของพวกเขา ในความคิดของอาหรับพวกยิวสามารถครอบครองสภานที่แห่งใดแห่งหนึ่งในอาหรับอิยิปต์หรืออาหรับสเปนเท่านั้นบ้านเกิดเมืองนอน..ไม่สามารถถูกทำให้เก็นครึ่งชาติ..การชัดแย้งเช่นนี้สืยเนื่องมาจากสถานการณ์ภายนอกด้วยความหมายของดินแดนในอาณัติมีแนวโน้เมที่จะยืนยันถึงสิทธิของยิวในการสร้างชาติ ทำให้ความขัดแย้งยิ่งขยายมมทากขึนและขมขื่นมากขึ้น ในตอนแรกความเป็นศัตรูของอาหรับที่มีต่อยิว อยู่ในกลุ่มชนชั้น กลางเท่านั้นแต่ย่ิงนานวันก็ได้ขยายออย่างกวเ้ร้างชวางเข้าไปในหมุ่ชาวนาด้วย และจะแผ่ไปเรื่อยๆ ความตึงเครียดอันเนื่องมาจากความขัดแย้งก็จะดำเนิน่อไป ดูเหมือนว่าสถานการณ์ที่เลวร้ายดังที่เป็นอยู่ก็จะยิ่งเลวร้ายมากไปกว่าเกิดมความขัดแย้งจะดำเนินต่ี่อไปทำให้ช่วงว่างระหวางอหารับและยิวจะเปิดกว้างขึ้นหลายเท่า

            - ข้อเสนอของคณะกรรมการให้แ่งปากเลสไตน์

                      คำแนะนำของคณะกรรมการก็คือ ให้แบ่งปาเลสไตน์ออกเป็น 2 สวนตามกลุ่มชนซึ่งเป็นทางเหือเพียงทางเดี่ยว ทั้งนี้เพราะคณะกรรมการพิจารณาเห็นแล้วว่าทั้ง 2 กลุ่มไม่สามารถอยุ่ร่วมกันได้ รัฐบาลอังกฤษยมรับข้อเสนิของคณะกำรรมการ และประกาสว่าการแบ่งดินแดนเป็นนโยบรายของอังกษอยางแน่นอน ทันที่ที่อังกฤษออกประกาศแผนการณ์ได้มีปฏิกริริยาต่อต้านจากเกือบจะทุกฝ่าย ลอร์ด แซมวล ข้าหลวงใหญ่คนแรกได้เตือนว่าเป็นสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ ไซออนิสต์ก็ปฏิเสธแผนการณ์แบ่งแยก ส่วนสันนิบาตชาติแม้จะไม่พอใจนักแต่ในที่สุดก็ยอมรับคำแนนำของรัฐบาลอังกฤษ ส่วนอาหรับขัดขวางอยางแข็งขันต่อแผนการณ์และดูเหมือนว่าพวกตนจะต้องสูญเสียประเทศให้ก่ยิวถ้ามีการแบ่งแยก อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการแบ่งแยกก็จะเดินทาไปปาเสไตน์อีกครั้งหนึ่งเพื่อจะพิจารณาดูอีกครั้งหนึ่งถึงพื้นที่ในการแบ่ง

                    คณะเดียวกันในเดือนกันกัยนายน 1937 ข้าหลวงท้องถินชาวอังกฤษประจำเมืองแกลิลี ูกฆ่าโดยชาวอาหรับหัวรุนแรง ทั้งนี้เพราะอาหรับไม่พอไใจทีเมืองแกลิลีอยู่ภายมค้ข้อเสนอของคณะกรรมกา ซึ่งจะถูกรวมให้อยู่ในดินแดนของยิวถ้ามีการแบ่งภายหลังการฆาตรกรรม 1 สัปกาห์ รัฐบาลอังกฤษมีคำสั่งให้คณะกรรมการอาหรับ เป็นคณะกรรมการนอกกฎหมายพร้อมทั้งคณะกรรมการแห่งชาติทั้งหมดของอาหรับก็ถือว่าผิดกฎหมายด้วย รัฐบาลสั่งให้จับและขับไล่ผู้นำอาหรับ 6 คน จำกัดเงินทุนซึ่งได้ช่วยสนับสนุนกิจกรรมทางการเมืองของอาหรับ ประชาชนเกือบพันคน ถูกกักตัว และอีก 438 คนถุกโจมาตีด้วยระเบิดหรือาวุธปืน และรวมทั้งบ้านเรือนขงอทั้งยิวและอาหรับก็ถูกโจมตีด้วย

                    ส่วนคณะกรรมการของการแบ่งแยก เมือเดินทางมาถึงปากเลสไตน์ ในเดือนเมษายน 1938 เป็นเวลาที่ผุ้นำชุมชนอาหรีับกำลบังถูกกักตัว แต่เป็นครั้งแรกที่ชุมชนอาหรับรวมตัวกันได้กดีอย่งไม่เคยเป็นมาก่อน และไม่มีอาหรับแม้แต่คนเดียวที่ร่วมมือกับคณะกรรมการ รัฐบาลต้องเผชิญหน้ากับความเป็นศัตรุของอาหรับ อย่่างไรก็ตรม ยิวเองก็ไม่พอใจในข้อเสนอของคณะกรรมการและได้ก่อความวุ่นวายขขึ้น แม้จะมียิวที่เป็นตำรวจของรัฐบาลถึง ห้าพันคนก็ตารม แต่สมัยแห่งการให้ความร่วมมือของไซออนนิสต์ที่มีต่อรีัฐบาลก็เพียงระยะเวลาสั้น ในเดือนมิถูนายน ปี 1938 ยิวโจมตีที่ทำการของรัฐบาล ยิงรถุเมล์อาหรับ ระเบิดตลาดอาหรับ มีผลอาหรับ 74 คนเสียชีวิต และอีก 129 คนได้รับบาดเจ็บ ในปีนี้ยิวจำนวนมากถูกตัดสินใจแขวนคอ

                     ระหว่าง ปี 1938 ป็นระยะเวลาของ "เหตุกาณ์แห่งความรุนแรง" ประชาชนมากกว่าหมื่นคนโจมตีกองทัพและสิ่งอำนวยควาามสะดวกของรัฐบาล ประชาชน 2'500 จน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นอาหรับจุีงถูกขับ และพวกกบฎอย่างน้อยพันคนถูกฆ่าโดยตำรวจและกองทัพ คณะกรรมการแบ่งแยกได้เสนอแผนการณ์ 3 อย่างสำหรับการแบ่ง แต่ก็ประสบปัญหาความยุ่งยากด้านการเงิน ดังนั้นจึงจึงังไม่สามารถปฆิบัติตามแผนการณ์ได้ 


                  - การประชุม 1939

                        ความเคลื่อนไหวอันต่อมาของรัฐบาลอังกฤษก็คือ การเรียกประชุมผู้นำอาหรับชั้นกลางและผู้นำยิว โดยจัดให้มีการประชุมที่ลอนดอนในเดือน กุมภาพันธ์ 1939 ในที่ประชุม อังกฤษเสนอให้ทบทวนข้อความในจนหมายโต้ตอบระหว่างอุสเซนและแมคมาฮอนในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับปาเลสไตน์ แต่ก็ไม่สามารถตกลงกันได้ รัฐบาลอังกฤษยอมรับว่าสถานกาณ์ของฝ่ายอาหรับเลวร้ายมากกว่าเดิม การประชุมไม่สามารถบรรลุถึงข้อตกลงทั้งผุ้เทนยิวและอาหรับขัดขวางถ้ามีข้อจำกัดใดๆ เกี่ยวกับสิทธิของพวกตน การกบฎอาหรับดำเนินต่อไปในภูเขาแ่หงปาเลสไตน์ โดยได้รับความสนับสนุนจากประเทศอาหรับที่อยุ่รายรอบ ในเวลาเดียวกันการอพยพของยิวทั้งที่ถุกกฎหมายและไม่ถูกกฎหมายที่ถูกเร่งให้เร็วขึ้น

                      รัฐบาลอังกฤษตัดสินใจเสนอโยบายใหม่ นั้นคือแผนกาณ์ 10 ปีกในการจัดให้ปาเลสไตน์ามีสถาบันที่เป็นตัวแทนของประชาชน และให้มีรัฐธรรมนูญ การอพยพของยิวจะสิ้นสุดลงภายใน5 ปี และการขายที่ดินของอาหรับจะได้รับอนุญาตเพียงภายในพื้นที่ที่ถูกเลือกแบ้วเท่านั้นดังนั้นชุมชนยิวจึงโกรธแค้นอังกฤษ สายส่งวิทยุถูกตัด สำนักงานของรัฐบาลถูกเผา ตำรวจถูกขว้างปาและร้านค้าถูกทำลาย รัฐบาลจึงพบว่าตัวเองอูย่ภายใต้การโจมตีจากทังชุมชยิวและชุมชนอาหรับทันทีทันใด


                   ที่มา : http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390(47)/hi390(47)-2-4.pdf

วันจันทร์ที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Palestine : British Mandate of Palestine

           ปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองของอังกฤษ

           - รัฐบาลพลเรือน เซอร์ เฮอร์เบิร์ด แซมวบ ข้าหลวงใหญ่คนแรกองรฐบาลอาณัติ ซึ่งเป็นฝ่่ายพลเรือน ได้เปิดให้มีการซื้อขายที่ดินได้ การซื้อที่ดินครั้งแรกกระทโดยมูลนิธิยิวและบริษัทพัฒนาปาเลสไตน์ ที่ดิน ที่ซื้อเป็นพื้นที่รอบหมู่บ้านอาหรับ 7 แห่งในเมืองแกลิลี และท่านเซอร์ยังกลายป็นผู฿้สนับสนุนไซออนนิสต์คนสำคัญในอังกฤษระหว่างเกิดสงครา ได้จดโควต้าการอพยพของชาวยิว กว่าหมื่ือนหกพันคนนปีแรก ซึ่งกอ่นหน้านั้นมีการปะทะกันระหว่างยิวและอาหรัในปาเลสไตน์ ต่อมาปี 1921 ชาวอาหรับขับไล่าวยิวและฝโจมตีหมู่ย้านของชาวยิวการอพยพต้องหยุดชะงัก ชาวอาหรับเกรงว่าเมื่อประชากรยิวเพื่อมขึ้น ในไม่ช้าประเทศยิวจะต้องถุกก่อตั้งขึ้น แต่ในเดื อนต่อมาการอพยพก็ดำเนินต่อไป ปี 1921 ปัญหาปาเลสไตน์ที่เห็นชัดก็คือ รัฐบาลอาณัติของอังกฤษต้องยอมรับถึงความรุนแกรงและยุติการอพยพชัวคราว ในปี 1922 ข้าหลวงใหญ่ขอร้องกระทราวอาณานิคมให้กหนดความหมายที่แน่นอนของคำว่า "เนชั่นแนลโฮม" ซึ่งปรากฎอยุ่ในคำประกาศบัลฟอร์ เซอร์ วินสตัน เชอร์ชิลล์ ซึ่งเป็นรัฐมนตรีกระทรวงอาณานิคมสในขณะนั้นได้ตอบว่าคำประกาศ บัลฟอร์จะยังคงเป็นนโยบายสำคัญของอังกฤษ โดยไม่ได้กำหนดความหมายที่แน่นอนขงคำว่า "เนชั่นแนลโฮม"

         -  ในปี 1922 รัฐบาลอังกฤษตัดสินใจแยกทรานส์จอร์แดนออกจากปาเลสไตน์โดยถูกต้องตามกฎหมาย โดยให้เหตุผลว่า ทรานส์จอร์แดนไม่อยุู่ในคำประกาศบัลฟอร์ และยิวก็ไม่มสิทธิซื้อที่ดินนี้นด้วย การตัดสินใจของอังกฤษสรางความไม่พอใจแก่ทั้งยิวและอาหรับ ไซออนนิสต์กล่าวว่าทรานส์จอร์แดนมีความสำคัญต่อการก่อตั้งประเท ศบ้านเกิดเมืองนอนขงพวกเขา (ถ้าพิจารณาทางด้านประวัติศาสตร์ ทรานส์จอร์แดนมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อปาเลสไตน์) ฝ่ายอาหรับโต้แย้งว่าการกระทำของอังกฤษมีแนวโน้มที่จะทำให้ฐานะของประชาชนที่อาศัยอยู่ในปาเลสไตน์อ่อนแอลง และกล่าวว่าการกระทำของอังกฤษมีผลทำให้การปกครองตนเองและเอกราชของอังกฤษต้องก้าวหน้าช้ากว่าเดิม

            - การจัดตั้งสภาปาเลสไตน์ ในขณะเดียวกันในปาเลสไตน์ ข้อหลวงใหญ่พยายามจัดจั้งรัฐบาลซึ่งจยะประกอบด้วยทั้งยิวและอาหรับ แต่ก็ล้มเหลว สใน ปี 1923 ข้อหบลวงใหญ่ได้แนะนำให้อาหรับจัดตั้องีค์การอาหรับ เพื่อเป็นตัวแทนของอาหรับและจะได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมของรัฐบาล เหมือนกับฝ่ายยิว แต่อาหรับปฏิเสธ ซึ่งเท่ากับเป็นการปิดโอกาสตัวเองจากการมีส่วนร่วมต่อกิจกรรมต่างๆ ภายในปาเลสไตน์ แม้ในปีต่อๆ มาอาหรับก็ปฏิเสธครั้งแล้วครั้งเล่า โดยอาหรับมีควา คิดว่าถ้าพวกเขายอมรับความในกิจกรรมต่างๆ ของปาเลสไตน์ก็เท่ากับเป็นการยินยอมให้มีการก่อตั้งประเทศยิวได้เร็วขึ้น ดั

            - ความสงบระหว่างปี 1925-1928 อย่างไรก็ตาม ชข่วเวลาดังกล่าวปฏิกิริยาของอาหรับดูจะมองยิวในแง่ดี ทั้งนี้เป็นเพราะปัจจัยหลายประการ อาทิ การเกิดภาวะเศษฐกิจตกต่ำ ประชาชนต่างสนใจกับความเป็นอยุ่ในปัจจุบัน ละเท้ิงความกังวลเกี่ยวกับอนาคต ความไม่พอใจของอาหรับไม่เพิ่มขึ้น มีแนวโน้มที่จะลดลง ในช่วงเวลาดังกล่าวไม่มีการประชุมปาเลสไตน์ อาหรับ คองเกรส และไม่มีการต้อต้านการอพยพของยิว อาหรับสังเกตเห็นว่า แม้ยิวจะแตกออกเป็น 2 ฝ่าย คือ ยิวที่เป็นไซออนนิสต์ คือ พวกที่ต้องการกลับสู่ปาเลสไตน์ และยิวที่ไม่เป็นไซออนนิสต์ คือ พวกที่ไม่ต้องการกลับสุ่ปาเปลสไตน์ แต่อาหรับก็ทราบดีว่ามีแนวโน้มว่าทั้ง 2 ฝ่ายสามารถสมานรอยร้าวได้ และยังสามารถนำไปสุ่การขขยายตัวขององค์การให้กว้างขวางกว่าเดิมได้อีก

              - การจบาจล 1929 การจลาจลเร่ิมเมืองยิวจำนวนหนึ่งได้เดินขบวนไปที่เวลิง วอลล์ ในเยรูซาเลมพวกเขาชักธงไซออนนิสต์ขึ้น และร้องเพลงชาติไซออนนิสต์ ฝ่ายอาหรับไม่พอใจการกะทำดังกล่าว จึงเกิดการต้อสู้กันขึ้น ความรุนแรงเกิดขึ้นนานถึง 2 สัปกาห์ จำนวนชาวยิวเสียชีวิตกว่า 472 คน อาหรับ 288 คน คณะกรรมการทีไปสำรวจปาเลสไตน์พบว่า "ชาวอาหรับมองดูว่าการอพยพของยิวเป็นการข่มขู่ีวิตพวกเขา ทั้งในปัจจุบันและอนาคต...สินค้ายิวก็แพง แต่การแทรกแซงของยิวก็เป็นสิ่งเลวร้าย..ยิงจะต้องถูกขขับไล่ออกจาแผ่นดินนี้"

                      ในปี 1930 รัฐบาลอังกฤษจได้จัตั้งคณะกรรมการพิเศษภายมต้การนำของ เซอร์ จอห์น โฮบ ซิมสัน เพื่อสำรวจหาสาเหตุสำคัญของความไม่สงบที่ผ่านมา รายงานของคณะกรรมการได้อ้างถึงการอพยพใหญ่ของยิวว่าเป็นสาเหตุสำคัญและเสนอให้มีการจำกัดการอพยพในปีต่อๆ มา




                 -  บันทึกสีขาวของพาสฟิลด์ ค.ศ. 1930 ภายหลังจากที่อังกฤษรับรายงานองคณะกรรมการพิเศษดังกล่าวแล้วำด็ได้ออกบันทึกสีขาว ซึ่งมีสาระสำคัญคือให้จำกัดการอพยพชาวยิวมาสนสู่ปาเลสไตน์ และให้ชาวอาหรับที่ไม่มีที่ดินได้มีโอาสจับจองที่ดินของรัฐบาลมากกวว่ายิวด้วยเหตุึนี้เอง ความรุนแรงจึงเกิดขึ้นดดยปฏิกิริยาโต้ตอบของผุ้นำไซออนนิสต์ทั่วโลกซึ่งประท้วงกระทรวงอาณานิคมของอังกฤษ และนายเชม ไวซ์แมน ประธานขององค์การยิวได้ลาออกจากตำแหน่ง แรมซี่ย์ แมคโดนัลด์ นายักรัฐมนตรีอังกฤษพยายามอธิบายถึงคำจำกัดความของ พาสฟิลด์ ไวท์ เพเพอร์ โดยเขียนจดหมายไปถงไวซ์แมนผ ผู้นำยิว ระหว่างปี 1931 ในจดหมายดังกล่าวนามแมคโดนัลด์ ปฏิเสธการเลิกล้มความตั้งใจที่พัฒนาบ้านเกิดเมืองนนของยิงและยังสัญญาว่าการอพยพของยิวจะยังคงดำเนินต่อไป ส่วนชาวอาหรับ ที่ได้ยอมสละทรัพย์สินของตนให้แก่ชาวยิว จึงจะได้รับที่ดินของรัฐบาล จากคำกล่าวของนายแมคโดนัลด์เท่ากับเป็นการปฏิเสธบันทึกสีขาวฉบับนั้น 

                       ความไม่พอใจเกิดขึ้นทันที่ในหมู่ชาวอาหรับ ฝ่ายอาหรับเรียกบันทึกของพาสฟิลด์ว่าเป็นเอกสารสีดำ นับเป็นครั้งแรกที่อาหรับแสดงความเป็นศัตรู่โดยตรงต่อรับบาลอังกฤษมากว่าต่อยิว ผลที่เกิดขึ้นทั้นทีก็คือ การที่อาหรับคว่ำบาตร ปฏิเสธการทำงานร่วมกับกลุ่มชนยิวในกิจการของจุงหวัด

                       อาหรับเสียเปรียบเพราะไม่มีผุ้แทนที่มีเสียงใรัฐบาล ไม่มีองค์การทางการเมืองที่สสำคัญ ดังที่กล่าวข้างต้น นอกจากนี้อาหรับยังแตกแยกออกเป็นกลุ่มต่างๆ ที่เป็นศัตรูกันอีกด้วย ทำให้การเรียกร้องต่อรัฐบาลประสบปัญหามากมาย ความมุ่งหมายของอาหรับคือเอกรรช การยุติการอพยพ และการจำกัดการขายที่ดิน แต่อาหรับก็ไม่สามารถที่จะกระต้นรัฐบาลการะทำการใดๆ เพิื่อให้จุดมุ่ดมุ่งหมายของตนสำเร็ผลได้ ..


              ที่มา  /http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390/hi390-part2-4.pdf


Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...