ความเชื่อ : การยอมรับว่าสิงใดสิ่งหนึ่งเป็นความจริง หรือการมีการดำรงอยู่จริง โดยอาศัยประสบการณ์ตรง การไตร่ตรอง หรือการอนุมาน
ความเชื่อทางศาสนา เป็นลักษณะประจำของมนุษย์อย่างที่มีปรากฎอยู่ทุกสังคมไม่ว่าจะเป็นสังคมที่เจริญแล้ว หรือสังคมที่กำลังเจริญ ทั้งเพราะศาสนาเป็นอำนาจอย่างหนึ่ง ซึค่งมีสภาพอันเป็นไปตามลักษณะ : เกี่ยวกับสิ่งที่อยู่นอกเหนือธรรมชาติ สำหรับผุ้นับถือศาสนาประเภทเทวนิยม, เกี่ยวกับเหตุผล อันเกิดจากความนึกคิดของนักคิดและักปราชญ์ต่างๆ ในด้านเหตุผลสำหรับผู้นับถือศาสนาประเภทอเทวนิยม ฉะนั้นศาสนาทั้งเทวนิยมและอเทวนิยม เมื่อว่าโดยสรุปแล้ว จะเป็นตัวกำหนดหลักเกณฑ์ความเชื่อทางศาสนาอย่างหนึ่ง เพื่อใช้เป็นเกณฑ์พิจารณา ในการศึกษาอันจะเป็นการช่วยในการสาวถึงต้นตอของเหตุเกิดศาสนาต่างๆ ได้
ตามปกติเรื่องควาเชื่อ เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นกับจิตใจของทุกคน ซึ่งจะผูกพันธอยู่กับความรู้สึกทั่วๆ ไป แต่ส่วนมากจะเกี่ยวข้องกับศาสนา ดังนั้น ความเชื่อทางศาสนาจึึงมีผ้ให้ลักษณะ ดังนี้
- เป็นการเเสดงออกตาททัศนาคติทีมนุษ์มีต่อสิ่งที่เคาพรนับถือ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ศาสนาที่มนุษย์ยอมรับเข้ามาเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของตน ในลักาณะของกรแสดงออกาทางพฤติกรรมอันเกี่ยวกับความเชื่อศาสนานั้นๆ ซึ่งการแสดงออกตามลักาณะต่างๆ ที่ถือว่าเป็นการแสดงออกตามทรรศนะต่อสิ่งนั้นๆ มักเรียกว่า โลกทรรศน์ คือ การจัดประเภทความเชขื่อตามทรรศนะชาวโลกอกเป็น 4 ประเภทด้วยกันคือ
1. โลกทรรศน์ตอสิ่งที่อยู่ภายนอก เป็นความเชื่อที่มีอยู่ในศาสนาต่างๆ โดยกายอมรับในเรื่องอำนาจของพระเจ้า เช่น เชื่อในเรื่องพระเจ้าสร้างโลก เชื่อว่าทุกสิ่งทุกอย่างเกิดจากพระเจ้า เป็นต้น โลกทรรศน์ประเภทนี้ มีปรากฎในระบบความเชื่อต่อสิ่งที่พ้นวิสัยของเรา
2. โลกทรรศน์ต่อรูปแบบ มีความเชื่อต่อรุปแบบทางศาสนาในลักษณะต่างๆ เช่น การเชื่อในจารีต ขนบประเพณีและวัฒนธรรม อันเกิดจากอิทธิพลทางศาสนา เป้ฯ้จ
3. โลกทรรศน์ต่อตัวเอง เป็นระบบความเชื่อต่อผลการกระทำของตนเอง โดยถือว่าปรากฎการณ์ทุกอย่างเกิดจากการกระทำ ไม่ใช่การบันดาล หรือการสร้างสรรค์จาสิ่งศักดิ์สิทธิ แม้ตัวของเราเองก็เหมือนกัน จะได้รับผลจากการกระทำของเราเอง โลกทรรศน์ประเภทนี้ เป้ฯการปฏิเสธความเชื่อเรพื่องพระเจ้าสร้างโลก
4. โลกทรรศน์ทางวิชาการ เป็นระบบความเชื่อต่อผลแห่งความเป็นจริง โดยถือว่าทุกสิ่งทุกอย่างต้องได้รับการพิสุจน์ให้เห็นจริงก่อนจึงเชื่อถือได้ โลกทรรศน์ประเภทนี้ มักเป็นความเชื่อของนักวิชาการสมัยใหม่ ซึ่งก่อนจะเชื่ออะไรมักจะทดลองด้วยตนเองก่อน
- ตามปกติความเชื่อทางศษสนา จัดเป็นภาวะทางจิตมจของมนุษย์ประเภทหนึ่งซึ่งถือความสำคัญที่ศาสนาเป็นเกณฑ์ โดยย้ภถึงผลอันเหิดจากความเชื่อทางศาสนา ในลักาณะที่ว่า ศาสนาที่ประโยชน์ในทางปลอบประโลมใจในยามทุกข์ยาก ปราชญ์ถือว่าชีวิตมนุษย์ย่อมมีปัญหาทางจิตนานาประการ ศาสนาช่วยเหลือทางจิตใจได้มาก คำสอนทางศาสนาจะจริงหรือไม่จริงก็ตาม แต่ปราชญ์ถือว่ามนุษย์สามารถยังชีวิตอยู่ได้โดยดีพอควร นอกจานี้ ความเชื่อทางศาสนายังก่อใหเกิดพิธีกรรมทางศาสนาขึ้น ซึ่งไม่ว่าจะเป็นศาสนาเหรือพิธีกรรม ต่างล้วนเกิดจากการที่นนุษย์ไม่มีความแน่ใจในเรื่องธรรมชาติ ฉะนั้น เรื่องความเชื่อทางศาสนา จึงเป้นปรากฎการณ์ทางจิตของมนุษย์ประเภทหนึ่ง ซึ่งมนุษย์ยอมรับมาปฏิบัติเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่แต่ละศาสนากำหนดไว้
- เน้นในด้านศีลธรรมจรรยา โดยเฉพาะอย่างยิงศาสนา เราถือกันว่ามีความเกี่ยวพันกันอย่างใกล้ชิดกับการควบคุมทางศีลธรรมและจัดระบบต่างๆ ทางจริยธรรมโดยเพ่ิมกฎเกณฑ์ด้านการปฏิบัติเข้ามาด้วย ยิ่งกว่านั้น ศาสนาต่างๆ ของโลกหลายศาสนา เช่น ฮินดู พุทธ ขงจื้อ ยูดาย คริสเตียน และโมฮัมหมัด ยังเป็นที่ยอมรับนับถือกันว่า เป็นแหนกลางของระบบทางศีลธรรมอีกด้วย กันทำให้สังคมต่างๆ มีรูแปบบทางพฟติกรรมปรากฎเด่นชัดขึ้นมา เป็นเวลาหลายศตวรรษ
ความเชื่่อ เป็นปรากฎการณ์ทางจิตประเภทหนึ่ง ซึ่งมีปรากฎแก่ทุกคนในสังคม ทางจิตวิทยาถือว่าความเชื่อเป็นทัสนคติประเภทหนึ่ง อันเป็นการแสดงถึงความพร้อมของจิตใจ และประสาทที่เกิดจากประสบการณ์ ซึ่งมีอิทธิพลต่อบุคคลในการสนองตอบต่อสิ่งต่างๆ หรือสภาพการณ์ต่างๆ ที่เีก่ยนวข้อง นอกจานั้น ทัศนคติจัดเป็นภาวะทางจิตหน่วยหนึ่ง ซึ่งถือว่าเป็นพฤติกรรมประเภทหนึ่ง และในกรณีที่ไม่มีอิทธิพลตจากทัศนคติอื่นไ ประกอบกับบุคคลนั้นอยู่ในเหตุการณ์ที่สอดคล้องกับทัสนคตินั้นแล้ว ก็จะสามารถคาดพฤติกรรมได้ เพราะว่าพฤติกรรมเป็นผลโดยตรงจากทัสนคตินั้น แต่จะอย่างก็ดี ความเชื่อทางศาสนา ก็จัดเป็นพฤติกรรมประเภทหนึ่งซึ่งเกิดขึ้นภายในจิตใจของมนุษย์ อันเป็นพฤติกรรมปกปิด ลักษณะของความเชื่อ
- ความเชื่อัดเป็นทัศนคติอย่างหนึ่ง ที่ขึ้นอยู่กับอารมณ์และความสำนึก ความรู้สึกว่าสภาวะความเป็นจริงของมนุษย์ ล้วนเป็นสิ่งที่อยู่นอกเหนือทัศนคติ และแยกออกต่างหากจากสิ่งศักดิ์สิทธิอันตั้งอยู่บนทัศนคติเฉพาะตัว 2 ประการด้วยกัน คือ ความเชื่อ เป็นการยอมรับตามความรู้แจ่แจ้งในบางสิ่งบางอย่างว่าเป็นความจริง อันแสดงถึงความเชื่ออย่างหนึ่งที่ขึ้นอยู่กับศรัทธาและ พิธีกรรม เปนหารปสดงออกอันเนื่องมาจากผลแห่งความเชื่อถือ จัดเป็นอาการแห่งการจัดบริการทางศาสนา
- ความเชื่อถือนั้นจัดเป็นหน้าที่สากล การพิสูจน์ความลึกลับกับอำนาจภายนอกความเชื่อนั้น เราอาจจะลบล้างออกไปหรือปรบให้คลาดไปจากเดิมได้ ปรากฎการณ์บางอย่างของมนุษย์ เช่น ความทุกข์ทรมานใจก็ดี การได้รับความเจ็บป่วยในชีวิตประจำวันอย่าวสม่ำเสมอก็ดี การที่มนุษย์ยอมรับและปฏิเสธสภาวการณ์ที่เกิดขึ้นแก่ตัวเองนั้น ถือว่าเป็นเรื่องที่ปรากฎเสมอๆ
- ความเชื่อก็ดี ความนับถือก็ดี จะมีต่อสิ่งใดๆ ก็ตาม ถือว่ามีทัศนคติที่ดีต่อสิ่งนั้นๆ การที่จะมีความเชื่อและนับถือต่อสิ่งใดๆ นั้น จะต้องมีปัจจัยเป็นเครื่องช่วย ซึ่งได้แก่การมีศรัทธา ต่อสิ่งนั้นๆ เพราะฉะนั้น ความเชื่อจึงต้องขึ้นอยู่กับศรัทธาด้วย
ความหมายของความเชื่อ อาจแยกความเชื่อออกตามความหมายต่างๆ คือ
- ความเชื่อเป็นภาวะหรือนิสัย อันเป็นปรากฎการณ์ทางจิตใจของมนุุษย์อย่างหนึ่ง ที่มีความไว้วางใจหรือไว้เนื้อเชื่อใจ โดยหมดความคลางแคลงสงสัย หรือการคาดหมายที่แน่นอน ที่มีต่อบุคคลบางคนหรือบางสิ่งบางอย่าง
- ความเชื่อนั้นจัดเป็นการได้รับความเชื่อถือซึ่งได้แก่ลัทธิ หรือตัวความเชื่อถือเอง อันเป็นยึดถือโดยการยอมรับของกลุ่ม
- เป็นเรื่องของการมีความเชื่อมั่น ต่อความจริง โดยการเห็นประจักษ์แจ่มแจ้ง หรือปรากฎตามความเป็นจริงบางประการเกี่ยนวกับความแท้จริง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมือได้ฝังรากลงไปย่างมั่นคงแล้ว ความหมายของความเชื่อดังกล่าวข้างต้น หากจะกล่าวอีกนั้ยหนึ่งแล้ว จะมีความหมายในลักาณะที่ว่า ความเชื่อนั้นจัดว่าเป็นการมีศรัทธาต่อศาสนาอย่างมั่นคง, มีความเชื่อมั่นอย่างแท้จริง ต่อความเป็จริง หรือความดีเด่นของบางสิ่งบางอย่าง, เป็นความคิด- สมมติ ในรูป : ยอมรับความจริงหรือสูงค่า , ถือเป็นทรรศนะอย่างหนึ่ง
ความเชื่อถือนั้น จัดเป็นการมีทัศนคติที่ดีต่อสิ่งที่เชื่อถือนั้น โดยการยอมรับสิ่งนั้นๆ มาเป็นหลักยึดเหนี่ยวประจำใจอย่างสนิทใจ ฉะนั้น ความเชื่อถือ จึดจัดเป็นทัศนคติที่ดีประการหนึ่งที่มีต่อสิ่งที่เคารพนับถือ ตามลักษณะนี้ จะเห็ว่าการที่ยอมรับสิ่งใดสิ่งหนึ่งมาเป็นเครื่องยึดเหนียวทางจิตใจนั้น ถือว่าเป็นการยอมรับโดยหมดความสงสัย ให้ความไว้วางใจในสิ่งนั้นๆ ฉะนั้น ความเชื่อจึงเป็นการแสดงออกทางจิตใจของมนุษย์อย่างเต็มใจ
ความเชื่อทางศาสนา เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความต้องที่จะหาสิ่งมาบำรุงใจประการหนึ่งความเชื่อทางศาสนานั้น ถือเป็นทัศนคติที่ดีต่อศาสนา ซึ่งพยายามหาทางที่จะอธิบายถึงปรากฎการณ์ธรรมชาติ และการถือกำหเนิดของสิ่งศักดิ์สิทธิต่างๆ อันเป็นที่ยอมรับกันโดยประยายว่า สิ่งศักดิ์สิทธิ์เหล่านี้มีอยู่และปรากฎออกมาใน 2 สถานะ
- สถานะแรก มีทัศนะว่าโลกนี้ปรากฎอยู่เนหือเหตุผล ที่เรามักพูดกันว่า โลกนี้มีรูปร่างเหมือนอะไร
- สถานะที่สอง ให้ความหมายว่า ความเชื่อถือทางศาสนานั้น จะบอกเราได้ว่า ธรรมชาิตของสิ่งต่างๆ เหล่าานั้นคืออะไร และสิ่งศักดิ์สิทธิเหล่านี้ มีความสัมพันธ์กับโลกเหนือเหตุผลอย่งไร
อีกทรรศนะหนึ่งว่า ความเชื่อทางศาสนา เป็นมิติด้านความรู้สึก ที่มีต่อศาสนา โดยมนุุษย์อาศัยความเชื่อนั้นมาอธิบายธรรมชาติและแหล่งกำเนิดของสิ่งศักดิ์สิทธิจากปรากฎการณ์ธรรมชาติ และสรุปเอาง่ายๆ ว่าสิ่งเหล่านี้ยังคมมีชีวิตอยู่ ซึ่งความเชื่อทางศาสนาจะเป้นไปใน 2 ลักษณะ คือ บ่งถึงโลกที่อย่เหนือเหตุผล และความเชื่อทางศาสนานี้จะบอกเราทำนองเดียวกันว่าธรรมชาติของสิ่งศักดิ์สิทธิต่างๆ นั้น ได้แก่อะไร และสิ่งต่างๆ เหล่านี้เกี่ยวข้องกับโลกเหนือเหตุผลอย่างไร
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเชื่อ ซึ่งขึ้นอยู่กับปัจจัย 2 ประการด้วย ได้แก่
- ศรัทธา เป็นเชื่อที่ประกอบด้วยเหตุผล และปัญญาเป็ฯตัวการสำคัญ จัดเป็นความเชื่อที่มนุษย์เห็ฯแจ้งประจักษ์ตามจริง สำคัญมากกว่าปัจจัยอย่างอื่นเพราะเป็นเรื่องของความสมัครใจของแต่ละบุคคล
- ความจงรักภักดี เป็นความเชื่อที่อยู่เหนือศรัทธามากกว่าเห็นแจ้งประจักษ์ตามความเป็นจริง ไม่เกี่ยวกับเหตุผล แต่เป็นความเชื่อที่ยอมอยู่ภายใต้ออำนาจของสิ่งนั้นๆ นั่นก็คือเนื้อหาสาระของสิ่งต่างๆ ที่มนุษย์จะพึงหวังได้จากภาษาพระคัมภีร์ความปรากฎชัดของสิ่งต่างๆ ที่ยังไม่ปรากฎจากศาสนา
วันเสาร์ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
วันศุกร์ที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2559
Religious Behavior
พฤติกรรมทางศาสนา เป็นพฤติกรรมร่วม หรือพฤติกรรมกลุ่ม อันเป็นการแสดงออกตามความเชื่อทางศาสนาร่วมกันของบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป มีลักษณะและวัตถุประสงค์ฯ ร่วมกันเพื่อการใดการหนึ่ง ในการร่วมพฤติกรรมทางศาสนากันนี้ ผู้ร่วมแสดงพฤติกรรมทางศาสนาแต่ละท่านอาจจะมีอายุ เพศ และลักษณะอื่นๆ อย่างเดียวกันก็มี ต่างกันก็มี ..
พฤติกรรมทางศาสนาที่แสดงออกมานั้น จัดเป็นปรากฎการณ์ที่แสดงออกตามประสบการณ์ทางศาสนาที่มนุษย์ยอมรับนับถืออยู่ ซึ่งมีทั้งศาสนาที่ปรากฎในสังคมที่เจิรญแล้ว และสังคมที่บยังด้อยความเจริญ อาทิสังคมของคนบางกลุ่มซึ่งขึ้นอยู่กับระบบความเชื่อถื่อที่สังคมนั้นๆยอมรับกันอยู่การแสดงออกตามความเชื่อถือทางศาสนานั้น ก็จัดเป็นพฤติกรรมทางศาสนาเช่นกัน
"พฤติกรรม" เป็นศัพท์ทางจิตวิทยา ซึ่งหมายถึงการแสดงออกเมื่อสิ่งเร้ามากระทบอันเป็ฯการแสดงตอบสนองต่อสิ่งเร้า ซึ่งสามารถนำมาใช้ในกระบวนทางศษสนาได้เมื่องกล่าวถึงศาสนาอันเป็นการแสดงออกตามความเชื่อของมนุษย์
"พฤติกรรม" มีความหมายไปได้หลายลักษณะด้วยกัน แต่มีลักษณะหนึ่งที่เป็นที่นิยมใช้กันมาก ก็คือการพูดถึงพฤติกรรมที่แสดงออกมาโดย "การกระทำ" หรือ "แสดงออก" อย่างใดอย่างหนึ่ง
การกระทำก็ดี การแสดงออกก็ดี ถือว่าเป็นการแสดงให้ปรากฎจนติดเป็นนิสัยหรือเคยชินอันเป็นที่ยอมรับกันในสังคมนั้นๆ เช่น การแสดงออกทางอิริยาบถต่างๆ ของมนุษย์ พฤติกรรมนั้นเป็นเพียงอาการกระทำที่แสดงออกให้ปรากฎเท่านั้น ซึ่งการกระทำที่แสดงออกมานี้ เป็นผลที่เกิดจากแรงกระตุ้นภายในอันเกิดจากการเร้าอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อเป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้านั้น เมื่อเป็นดังนี้ พฤติกรรมทางศาสนาจึงจัดเป็นพฤติกรรมที่แสดงออกของกลุ่มคนที่นับถือศาสนาเดียวกันหรือพฤติกรรมร่วม ซึ่งเป็นเรื่องของคนหมู่มาก ที่ผู้แสดงพฤติกรรม เหล่านั้นต่างมีจิตร่วมในพฤติกรรมเดียวกัน
ดังนั้นการแสดงออกที่เป็นพฤติกรรทางศาสนา จึงต้องมีรูปแบบของพฤติกรรมที่แสดงออกตามความเชื่อถือทางศาสนารูปแบบของพฤติกรรมตามลักษณะนี้ เรามักเรียกกันว่า "วัฒนธรรม" ซึ่งถือว่าเป็นพฤติกรรมอย่างหนึ่งทางสังคม
พฤติกรรม - วัฒนธรรม : ประเภทของพฤติกรรม การที่มนุษย์อยู่ร่วมในสังคมจั้น จำต้องมีสื่อความหมายสำหรับสังคม เพื่อที่จะให้สมาชิกของสังคมได้รู้จักเข้าใจสื่อความหมายนั้นๆ โดยมีกระบวนการแสดงออกในรูปแบบอันสมาชิกแต่ละสังคมจะเข้าใจสื่อความหมายนั้นๆ ได้ ลักษณะอย่างนี้ จัดเป็นพฤติกรรมการที่จะแสดงออกทางพฤติกรรมนั้น จำต้องมีรูปแบบสำหรับการนั้นโดยเฉพาะ รูปแบบทางพฤติกรรมก็ดี ผลิตผลของพฤติกรรมก็ดี เราเรียกว่า วัฒนธรรม สำหรับพฤติกรรมนั้น มีลักษณะที่พอแยกเป็นประเภทตามลักษณะได้ 2 ประการได้แก่
- พฤติกรรมปกปิด เป็นพฤติกรรมที่ไม่ค่อยจะเปิดเผยให้ปรากฎภายนอก โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านกายภาพ เชน การคิดวางโครงการอย่างใดอย่างหนึ่ง พฤติกรรมประเภทนี้เป็นพฤติกรรมที่รู้เฉพาะตัวบุคคล
- พฤติกรรมแบบเปิดเผย เป้ฯพฤติกรรมที่ปรากฎให้บุคคลอื่นๆ เห็นได้ เช่น การอยู่ในอิริยาบถต่าง ๆ พฤติกรรมที่บุคคลอื่นสามารถรู้เห็นและเข้าใจได้ จะอย่างก็ตาม วัฒนธรรมนั้นถื่อว่่าเป็นแบบอย่างแห่งพฤติกรรมอันเกิดจากผลิตผลของพฤติกรรมที่มนุษย์แสดงออกมา ฉะนั้น ทางสังคมศาสตร์จึงจัดวัฒนธรรมเป็นพฤติกรรม เพราะถือว่าการแสดงออกตามรูปแบบอย่างใดอย่างหนึ่ง
วัฒนธรรม : ผลิตผลจาพฤติกรรม ดังที่ทราบแล้วว่า พฤติกรรมเป็นการแสดงออกตามรูปแบบอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งผลิตพลแห่งการแสดงออกนั้น จัดเป็นวัฒณธรรม โดยมีการจัดประเภทออกตามลัษณะของวัฒนธรรม คือ
- ภาษาพูด หมายรวมทั้งภาษาและวรรณคดี
- สิ่งที่เกี่ยวกับวัตถุ แบ่งเป็น อาหารการกิน, ที่อยู่อาศัย, การคมนาคมและขนส่ง, เครื่องแต่งกาย, เครื่องมือเครื่องใช้, อาวุธยุทธภัณฑ์, อาชีพและอุตสาหกรรม
- ศิลปะ แบ่งออกเป็น การแกะสลัก, ระบายสี, วาดเขียน, ดนตรีฯ
- นิยายปรัมปราและความรู้วิทยาการต่างๆ นิทานพื้นบ้านเป็นต้น
- การปฏิบัติทางศาสนา แบ่งออกเป็น แบบพิธีกรรม, การปฏิบัติต่อคนเจ็บ, การปฏิบัติต่อคนตาย
- ครอบครัวและระบบทางสังคม แบ่งเป็น การแต่งงาน, วิธีนับวงศ์ญาติ, การรับมรดก, เครื่องควบคุมทางสังคม (ระเบียบข้อบังคับ), กีฬาและการละเล่นต่างๆ
- ทรัพย์สมบัติ จัดแยกตามประเภทเป็นทรัพย์ที่เคลื่อนที่ได้ (สังหาริมทรัยพ์)และทรัพย์ที่เคลื่อนที่ไม่ได้ (อสังหาริมทรัพย์), มาตรฐานการตีราคาและแลกเปลี่ยน, การค้า,
- รัฐบาลและการปกครอง แบ่งออกเป็น รูปแบบทางการเมือง, กระบวนการทางการเมือง
- การสงคราม ระบบของสงคราม ขั้นตอนในการสงคราม
ประเภทของวัฒนธรรม การจัดประเภทของวัฒนธรรมคำนึงถึงรูปลักษณ์ที่ปรากฎเป็นสำคัญ การจัดประเภทวัฒนธรรมจึงมีรูปลักษณ์เป็น วัฒนธรรมทางวัตถุ เป็นผลิตผลทางวัฒนธรรม เช่น รูปเคารพทางศาสนา สิ่งของเครื่องใช้ อาคาร เป็นต้น และวัฒนธรรมทางอวัตถุ เช่น ความเชื่อทางศาสนา ขนบธรรมเนียม ความคิด คติธรรมเป็นต้น
วัฒนธรรมในรูปของปทัสถานทางสังคม พฤติกรรมทางศาสนาเป็นการแสดงออกด้านความเชื่อถือศาสนา ซึ่งเรามักจะประพฤติปฏิบัติกันเป็นประจำ จริงอยู่ แม้ว่าพฤติกรรมนั้นจะเกิดจากการแสดงออกให้ปรากฎ จะโดยอัตโนมัติ หรือแรงกระตุ้นจาสิ่งเร้าก็ตาม ถือเป็นพฤติกรรม มีรูปแบบแตกร่างกันออกไปตามการยอมรับของสังคม มีรูปแบบ 3 รูปแบ ด้วยกันคือ
1. ขนบธรรมเนียม จัดเป็นวิถีแห่งการกระทำบางสิ่ง อันเป็นที่ยอมรับกันทางสังคม มีลักาณะ ดังนี้ พูดถึงนิสัยของคนส่วนใหญ่ในสังคม มักจะปรากฎเฉพาะเขตวัฒฯธรรมใตวัฒณธรรมหนึ่ง ซึ่งมีอยู่มากมาย แตกต่างกันออกไปตามวัตถุประสงค์ของแต่ละกลุ่ม, เป็นเรื่องของบุคคลที่จะพึงปฏิบัติ ต่อกันตามกาลโอกาสที่เหมาะสมอันเป้ฯแบบความประพฤติที่สังคมยอมรับ ซึ่งเป็นวิธีการปฏิบัติ ต่อกันส่วนบุคคล อันเป็นความสัมพันธ์ทางสังคม ที่บุคคลเพียง 2-3 คนจะพึงปฏิบัติต่อกันตามโอกาสและสถานะ, เป็นการปฏิบัติที่เป็นไปตามความเคยชิน หากจุมีบุคคลใดบุคคลหนึ่งกระทำผิดขนบธรรมเนียมบ้าง คนอื่นมักจะไม่ถือว่าเป็นความผิดร้ายแรง และมักจะไม่มีการทำโทษ เพราะถือว่าเป็นเรื่องส่วนตัวบุคคลมิใช่เป็นเรื่องส่วนรวมสังคมไม่ได้รับความเสียหาย, จัดเป็นวัฒนธรรมรูปหนึง ซึ่งมีลักษณะเป็นเรื่องการปฏิบัติตนในทางสวนตัว หรือเป็นเรื่องของบุคคลที่ปฏิบัติต่อกันเป็นส่วนบุคคล และบุคคลในสังคมได้ยอมรับและปฏิบัติกัน, อย่างไรก็ดี ขนบธรรมเนียม ยังเป็นสัญลักษณ์บอกความเป็นพวกเป็นกลุ่มเกี่ยวกันของผู้ที่ยึดถือขนบธรรมเนียมเดียวกัน และขนบธรรมเนียมองแต่ละสังคมยังเกิดขึ้นโดยความเคยชิน มีเหตุผลเฉพาะตัว และยังไม่เป็นการบีบบังคับจิตใจสมาชิกอีกด้วย
2. วิถีประชา เป็นรูปแบบของพฤติกรรมที่ประพฤติปฏิบัติกันในสังคมหนึ่ง และมักจะถือกันว่าเป็นวิถีแห่งการกระทำบางสิ่งบางอย่างที่เหมาสมโดยสังคมนั้นๆ จะอย่างไรก็ดี โดยการใช้ประโยชน์ทั่วไป วิถีประชามักจะถือกันว่ามีผลบังคับน้อยกว่าจารีต วิถีประชาจัดเป็นการดำเนินชีวิตหรือความเป็นอยู่ของผู้คนสมัยหนึ่งๆ ซึ่งปฏิบัติกันมาเป็นธรรมเนียมประเพณีอย่างนั้น โดยคำนึงถึงความเหมาะความควรเป็นสำคัญ สิ่งที่ทุกคนพึงปฏิบัติ แต่ถ้าหากผู้ใดฝ่าฝืนก็ไม่มีการลงโทษอย่างรุนแรงแต่อย่างใดเพราะวิถีประชานั้นไม่เกี่ยวกับความปลอดภัยของสังคม, กล่าวกันว่าวิถีประชานั้นเกิดขึ้นเองโดยไม่มีใครวางแผน เกิดขึ้นด้วยความจำเป็นในการอยู่รอด วิธีปฏิบัติต่างๆ เมื่อได้ผลก็มีคนปฏิบัติตาม และมีการสืบทอดไปยังคนรุ่นต่อ ๆ ไป วิถีประชาชนมนุษย์ มักผิดแปลกไปตามเป่าพันธุ์และสถานที่อยุ่ ที่เป็นเช่นนี เพราะแต่ละชนชาติได้ค้นพบวิธีการต่อสู้หรือการครองชีวิต เมื่อได้พบวิธีดังกล่าวนั้นแล้ว ก็มักไม่ยอมเปลี่ยน วิถีประชาชขนคนบางชาติพันธุ์จึงคงที่อยู่เป็นเวลานาน วิถีประชาของสังคมใหม่มักเปลี่ยนได้ง่ายกว่า วิถีประชา ได้แก่การปฏิบัติและขนบธรรมเนียมที่ยึดถือกันทั่วๆ ไปหากไม่ปฏิบัติตามแล้วก็มีการลงโทษอย่างไม่เป็นทางการ ได้แก่ การถูกกีดกันหรือไม่ยอมรับเข้าเป็นพวกด้วย
3. จารีต เป็นปทัสถานทางสังคมรูปหนึ่ง เกี่ยวข้องกับเรื่องต้องห้ามในสังคม คือจารีต เป็นข้อบังคับที่มีผลสะท้อนรุนแรงมากหากไม่กระทำตา มีลักษณะคือ เป็นขนบธรรมเนียมที่เกี่ยวกับสวัสดการ หรือความปลอดภัยของกลุ่มชน จัดเป็นข้อผูกพันและมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับค่านิยมในสังคม, มักฝังอยู่ในจิตใต้สำนึกของสมาชิกในสังคม ซึ่งมีข้ำกำหนดตัวลงไปว่าอะไรถูกหรือผิด อะไรเป็นบุญหรอืบาป โดยไม่ต้องบอกเหตุผล ดังนั้น จารีตจึงเกี่ยวกันกับชีวิตทางอารมณ์คนเรามาก จารีตมีปรากฎในทุกสังคม ซึ่งขึ้นอยู่กับความนิยมของสังคม ในการผ่าผืนจารีต มักมีโทษในลักษณะเป็นโทษทางสังคม เช่นการถูกประณาม, โทษจากบ้านเมือง หรือการได้รับโทษอย่างเป็นทางการจากรัฐ, โทษเกิดจากความสำนึกนำ เช่นความละอายฯ , โทษบางประเภทที่ไม่รุนแรงนัก เช่นการกล่าวตักเตือนจากสังคม
พฤติกรรมทางศาสนาที่แสดงออกมานั้น จัดเป็นปรากฎการณ์ที่แสดงออกตามประสบการณ์ทางศาสนาที่มนุษย์ยอมรับนับถืออยู่ ซึ่งมีทั้งศาสนาที่ปรากฎในสังคมที่เจิรญแล้ว และสังคมที่บยังด้อยความเจริญ อาทิสังคมของคนบางกลุ่มซึ่งขึ้นอยู่กับระบบความเชื่อถื่อที่สังคมนั้นๆยอมรับกันอยู่การแสดงออกตามความเชื่อถือทางศาสนานั้น ก็จัดเป็นพฤติกรรมทางศาสนาเช่นกัน
"พฤติกรรม" เป็นศัพท์ทางจิตวิทยา ซึ่งหมายถึงการแสดงออกเมื่อสิ่งเร้ามากระทบอันเป็ฯการแสดงตอบสนองต่อสิ่งเร้า ซึ่งสามารถนำมาใช้ในกระบวนทางศษสนาได้เมื่องกล่าวถึงศาสนาอันเป็นการแสดงออกตามความเชื่อของมนุษย์
"พฤติกรรม" มีความหมายไปได้หลายลักษณะด้วยกัน แต่มีลักษณะหนึ่งที่เป็นที่นิยมใช้กันมาก ก็คือการพูดถึงพฤติกรรมที่แสดงออกมาโดย "การกระทำ" หรือ "แสดงออก" อย่างใดอย่างหนึ่ง
การกระทำก็ดี การแสดงออกก็ดี ถือว่าเป็นการแสดงให้ปรากฎจนติดเป็นนิสัยหรือเคยชินอันเป็นที่ยอมรับกันในสังคมนั้นๆ เช่น การแสดงออกทางอิริยาบถต่างๆ ของมนุษย์ พฤติกรรมนั้นเป็นเพียงอาการกระทำที่แสดงออกให้ปรากฎเท่านั้น ซึ่งการกระทำที่แสดงออกมานี้ เป็นผลที่เกิดจากแรงกระตุ้นภายในอันเกิดจากการเร้าอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อเป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้านั้น เมื่อเป็นดังนี้ พฤติกรรมทางศาสนาจึงจัดเป็นพฤติกรรมที่แสดงออกของกลุ่มคนที่นับถือศาสนาเดียวกันหรือพฤติกรรมร่วม ซึ่งเป็นเรื่องของคนหมู่มาก ที่ผู้แสดงพฤติกรรม เหล่านั้นต่างมีจิตร่วมในพฤติกรรมเดียวกัน
ดังนั้นการแสดงออกที่เป็นพฤติกรรทางศาสนา จึงต้องมีรูปแบบของพฤติกรรมที่แสดงออกตามความเชื่อถือทางศาสนารูปแบบของพฤติกรรมตามลักษณะนี้ เรามักเรียกกันว่า "วัฒนธรรม" ซึ่งถือว่าเป็นพฤติกรรมอย่างหนึ่งทางสังคม
พฤติกรรม - วัฒนธรรม : ประเภทของพฤติกรรม การที่มนุษย์อยู่ร่วมในสังคมจั้น จำต้องมีสื่อความหมายสำหรับสังคม เพื่อที่จะให้สมาชิกของสังคมได้รู้จักเข้าใจสื่อความหมายนั้นๆ โดยมีกระบวนการแสดงออกในรูปแบบอันสมาชิกแต่ละสังคมจะเข้าใจสื่อความหมายนั้นๆ ได้ ลักษณะอย่างนี้ จัดเป็นพฤติกรรมการที่จะแสดงออกทางพฤติกรรมนั้น จำต้องมีรูปแบบสำหรับการนั้นโดยเฉพาะ รูปแบบทางพฤติกรรมก็ดี ผลิตผลของพฤติกรรมก็ดี เราเรียกว่า วัฒนธรรม สำหรับพฤติกรรมนั้น มีลักษณะที่พอแยกเป็นประเภทตามลักษณะได้ 2 ประการได้แก่
- พฤติกรรมปกปิด เป็นพฤติกรรมที่ไม่ค่อยจะเปิดเผยให้ปรากฎภายนอก โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านกายภาพ เชน การคิดวางโครงการอย่างใดอย่างหนึ่ง พฤติกรรมประเภทนี้เป็นพฤติกรรมที่รู้เฉพาะตัวบุคคล
- พฤติกรรมแบบเปิดเผย เป้ฯพฤติกรรมที่ปรากฎให้บุคคลอื่นๆ เห็นได้ เช่น การอยู่ในอิริยาบถต่าง ๆ พฤติกรรมที่บุคคลอื่นสามารถรู้เห็นและเข้าใจได้ จะอย่างก็ตาม วัฒนธรรมนั้นถื่อว่่าเป็นแบบอย่างแห่งพฤติกรรมอันเกิดจากผลิตผลของพฤติกรรมที่มนุษย์แสดงออกมา ฉะนั้น ทางสังคมศาสตร์จึงจัดวัฒนธรรมเป็นพฤติกรรม เพราะถือว่าการแสดงออกตามรูปแบบอย่างใดอย่างหนึ่ง
วัฒนธรรม : ผลิตผลจาพฤติกรรม ดังที่ทราบแล้วว่า พฤติกรรมเป็นการแสดงออกตามรูปแบบอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งผลิตพลแห่งการแสดงออกนั้น จัดเป็นวัฒณธรรม โดยมีการจัดประเภทออกตามลัษณะของวัฒนธรรม คือ
- ภาษาพูด หมายรวมทั้งภาษาและวรรณคดี
- สิ่งที่เกี่ยวกับวัตถุ แบ่งเป็น อาหารการกิน, ที่อยู่อาศัย, การคมนาคมและขนส่ง, เครื่องแต่งกาย, เครื่องมือเครื่องใช้, อาวุธยุทธภัณฑ์, อาชีพและอุตสาหกรรม
- ศิลปะ แบ่งออกเป็น การแกะสลัก, ระบายสี, วาดเขียน, ดนตรีฯ
- นิยายปรัมปราและความรู้วิทยาการต่างๆ นิทานพื้นบ้านเป็นต้น
- การปฏิบัติทางศาสนา แบ่งออกเป็น แบบพิธีกรรม, การปฏิบัติต่อคนเจ็บ, การปฏิบัติต่อคนตาย
- ทรัพย์สมบัติ จัดแยกตามประเภทเป็นทรัพย์ที่เคลื่อนที่ได้ (สังหาริมทรัยพ์)และทรัพย์ที่เคลื่อนที่ไม่ได้ (อสังหาริมทรัพย์), มาตรฐานการตีราคาและแลกเปลี่ยน, การค้า,
- รัฐบาลและการปกครอง แบ่งออกเป็น รูปแบบทางการเมือง, กระบวนการทางการเมือง
- การสงคราม ระบบของสงคราม ขั้นตอนในการสงคราม
ประเภทของวัฒนธรรม การจัดประเภทของวัฒนธรรมคำนึงถึงรูปลักษณ์ที่ปรากฎเป็นสำคัญ การจัดประเภทวัฒนธรรมจึงมีรูปลักษณ์เป็น วัฒนธรรมทางวัตถุ เป็นผลิตผลทางวัฒนธรรม เช่น รูปเคารพทางศาสนา สิ่งของเครื่องใช้ อาคาร เป็นต้น และวัฒนธรรมทางอวัตถุ เช่น ความเชื่อทางศาสนา ขนบธรรมเนียม ความคิด คติธรรมเป็นต้น
วัฒนธรรมในรูปของปทัสถานทางสังคม พฤติกรรมทางศาสนาเป็นการแสดงออกด้านความเชื่อถือศาสนา ซึ่งเรามักจะประพฤติปฏิบัติกันเป็นประจำ จริงอยู่ แม้ว่าพฤติกรรมนั้นจะเกิดจากการแสดงออกให้ปรากฎ จะโดยอัตโนมัติ หรือแรงกระตุ้นจาสิ่งเร้าก็ตาม ถือเป็นพฤติกรรม มีรูปแบบแตกร่างกันออกไปตามการยอมรับของสังคม มีรูปแบบ 3 รูปแบ ด้วยกันคือ
1. ขนบธรรมเนียม จัดเป็นวิถีแห่งการกระทำบางสิ่ง อันเป็นที่ยอมรับกันทางสังคม มีลักาณะ ดังนี้ พูดถึงนิสัยของคนส่วนใหญ่ในสังคม มักจะปรากฎเฉพาะเขตวัฒฯธรรมใตวัฒณธรรมหนึ่ง ซึ่งมีอยู่มากมาย แตกต่างกันออกไปตามวัตถุประสงค์ของแต่ละกลุ่ม, เป็นเรื่องของบุคคลที่จะพึงปฏิบัติ ต่อกันตามกาลโอกาสที่เหมาะสมอันเป้ฯแบบความประพฤติที่สังคมยอมรับ ซึ่งเป็นวิธีการปฏิบัติ ต่อกันส่วนบุคคล อันเป็นความสัมพันธ์ทางสังคม ที่บุคคลเพียง 2-3 คนจะพึงปฏิบัติต่อกันตามโอกาสและสถานะ, เป็นการปฏิบัติที่เป็นไปตามความเคยชิน หากจุมีบุคคลใดบุคคลหนึ่งกระทำผิดขนบธรรมเนียมบ้าง คนอื่นมักจะไม่ถือว่าเป็นความผิดร้ายแรง และมักจะไม่มีการทำโทษ เพราะถือว่าเป็นเรื่องส่วนตัวบุคคลมิใช่เป็นเรื่องส่วนรวมสังคมไม่ได้รับความเสียหาย, จัดเป็นวัฒนธรรมรูปหนึง ซึ่งมีลักษณะเป็นเรื่องการปฏิบัติตนในทางสวนตัว หรือเป็นเรื่องของบุคคลที่ปฏิบัติต่อกันเป็นส่วนบุคคล และบุคคลในสังคมได้ยอมรับและปฏิบัติกัน, อย่างไรก็ดี ขนบธรรมเนียม ยังเป็นสัญลักษณ์บอกความเป็นพวกเป็นกลุ่มเกี่ยวกันของผู้ที่ยึดถือขนบธรรมเนียมเดียวกัน และขนบธรรมเนียมองแต่ละสังคมยังเกิดขึ้นโดยความเคยชิน มีเหตุผลเฉพาะตัว และยังไม่เป็นการบีบบังคับจิตใจสมาชิกอีกด้วย
2. วิถีประชา เป็นรูปแบบของพฤติกรรมที่ประพฤติปฏิบัติกันในสังคมหนึ่ง และมักจะถือกันว่าเป็นวิถีแห่งการกระทำบางสิ่งบางอย่างที่เหมาสมโดยสังคมนั้นๆ จะอย่างไรก็ดี โดยการใช้ประโยชน์ทั่วไป วิถีประชามักจะถือกันว่ามีผลบังคับน้อยกว่าจารีต วิถีประชาจัดเป็นการดำเนินชีวิตหรือความเป็นอยู่ของผู้คนสมัยหนึ่งๆ ซึ่งปฏิบัติกันมาเป็นธรรมเนียมประเพณีอย่างนั้น โดยคำนึงถึงความเหมาะความควรเป็นสำคัญ สิ่งที่ทุกคนพึงปฏิบัติ แต่ถ้าหากผู้ใดฝ่าฝืนก็ไม่มีการลงโทษอย่างรุนแรงแต่อย่างใดเพราะวิถีประชานั้นไม่เกี่ยวกับความปลอดภัยของสังคม, กล่าวกันว่าวิถีประชานั้นเกิดขึ้นเองโดยไม่มีใครวางแผน เกิดขึ้นด้วยความจำเป็นในการอยู่รอด วิธีปฏิบัติต่างๆ เมื่อได้ผลก็มีคนปฏิบัติตาม และมีการสืบทอดไปยังคนรุ่นต่อ ๆ ไป วิถีประชาชนมนุษย์ มักผิดแปลกไปตามเป่าพันธุ์และสถานที่อยุ่ ที่เป็นเช่นนี เพราะแต่ละชนชาติได้ค้นพบวิธีการต่อสู้หรือการครองชีวิต เมื่อได้พบวิธีดังกล่าวนั้นแล้ว ก็มักไม่ยอมเปลี่ยน วิถีประชาชขนคนบางชาติพันธุ์จึงคงที่อยู่เป็นเวลานาน วิถีประชาของสังคมใหม่มักเปลี่ยนได้ง่ายกว่า วิถีประชา ได้แก่การปฏิบัติและขนบธรรมเนียมที่ยึดถือกันทั่วๆ ไปหากไม่ปฏิบัติตามแล้วก็มีการลงโทษอย่างไม่เป็นทางการ ได้แก่ การถูกกีดกันหรือไม่ยอมรับเข้าเป็นพวกด้วย
3. จารีต เป็นปทัสถานทางสังคมรูปหนึ่ง เกี่ยวข้องกับเรื่องต้องห้ามในสังคม คือจารีต เป็นข้อบังคับที่มีผลสะท้อนรุนแรงมากหากไม่กระทำตา มีลักษณะคือ เป็นขนบธรรมเนียมที่เกี่ยวกับสวัสดการ หรือความปลอดภัยของกลุ่มชน จัดเป็นข้อผูกพันและมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับค่านิยมในสังคม, มักฝังอยู่ในจิตใต้สำนึกของสมาชิกในสังคม ซึ่งมีข้ำกำหนดตัวลงไปว่าอะไรถูกหรือผิด อะไรเป็นบุญหรอืบาป โดยไม่ต้องบอกเหตุผล ดังนั้น จารีตจึงเกี่ยวกันกับชีวิตทางอารมณ์คนเรามาก จารีตมีปรากฎในทุกสังคม ซึ่งขึ้นอยู่กับความนิยมของสังคม ในการผ่าผืนจารีต มักมีโทษในลักษณะเป็นโทษทางสังคม เช่นการถูกประณาม, โทษจากบ้านเมือง หรือการได้รับโทษอย่างเป็นทางการจากรัฐ, โทษเกิดจากความสำนึกนำ เช่นความละอายฯ , โทษบางประเภทที่ไม่รุนแรงนัก เช่นการกล่าวตักเตือนจากสังคม
วันพฤหัสบดีที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2559
The Relation of Religion and Society
ศาสนาและสังคมมีความสัมพันธ์กันอย่างสนิท และต่างเกื้อกูลต่อกันและกัน ตั้งตั้งโบราณกาลมากระทั้งปัจจุบัน สังคมจะเรียบร้อยก็เพราะมีหลักทางศาสนาคอยกำกับ ศาสนาจะมีอยู่ได้ต้องดูจาพฤติกรรมทางสังคม ศาสนาและสังคมจึงต่องต้องเกื้อกูลต่อกันและกัน ดังนั้นเราจะทำความเข้าใจเกี่ยวกับคำว่า "ศาสนา"
- ศาสนา กันก่อน ศาสนาเป็นปรากฎการณ์ด้านความศักดิ์สิทธิ์อันย้ำถึงลักษณะที่พึงประสงค์ด้านประสบการณ์ทางศาสนา ศาสนาเป็นนามธรรม เกิดขึ้นเพราะมนุษย์เอง ศาสนาจะอยู่โดยลำพังไม่ได้ จำต้องมีที่เกาะอาศย เพื่อให้เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวสำหรับพักพิง ซึ่งได้แก่สังคมอันเป็นรวมของบุคคลผู้เป็นสมาชิกของสังคม โดยแสดงออกด้านการนับถือศาสนาในรุปของพฤติกรรม การที่ศาสนาจะดำรงมั่นคงหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับค่านิยมอันมีอยู่ที่ตัวของศาสนาเอง ว่าจะสามารถผูกพันจิตใจของสมาชิกของสังคมนั้นๆ ได้มากน้อยเพียงใด เพราะศาสนานั้นขึ้นอยู่กับการยอมรับของมนุษย์ในสังคม หากมนุษย์ยอมรับศาสนาจึงจะดำรงอยู่ต่อไปได้ ศาสนาไม่จำเป็นจะต้องเหมือนกันทุกสังคม การที่ศาสนาจะดำรงอยู่ได้ก็เพราะความต้องการของสังคม เช่นรูปแบบทางศาสนา หลักธรรมหรือแรัชญาของศาสนา ศาสราจะดำรงอยู่หรือสูญสิ้นไปนั้น ขึ้นอยู่ที่ศาสนาเอง ขึ้นอยู่กับความต้องการของมนุษย์ ผู้เป็นสมาชิกของสังคม ศาสนาไม่สามารถแสดงบทบาทได้หากปราศจากสังคม
- ลักษณะสังคม สังคมธรรมชาติหรือสังคมดึกดำบรรพ์ มนุษย์อยู่ร่วมกันแบบธรรมชาติ เป็นสังคมประเภทที่เป็นเองตามธรรมชาติ และสังคมพิธีการ เป็นสังคมที่อาศัยวิวัฒนาการของโลก โดยวิวัฒนาการมาจากสังคมธรรมชาติ เนื่องจากสมาชิกสังคมไม่นิยมอยู่ใต้อิทธิพลของสังคมธรรมชาติ ได้ละเมิดกฎอันมีมาพร้อมกับสังคมธรรมชาติ มีการล่วงเกินกัน กระทบกระทั่งกัน กระทั่งสังคมต้องกำหนดกฎเกณฑ์ขึ้นมาบังคับใช้กับสมาชิกของสังคม พร้อมทั้งกำหนดรูปแบและแนวปฏิบัติเพื่อสมาชิกของสังคมอีกด้วย
- ความสัมพันธ์ระหว่างศาสนากับสังคม ขึ้นอยู่กับแกนกลางของสังคม คือตัวบุคคลผู้เป็นสมาชิกของสังนั้นเอง ปัจเจกบุคคล ซึ่งถื่อว่าทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมโยงให้สังคมและสาสนาสัมพันธ์กัน บุคคลอยู่ใต้อิทธิพลของศาสนาในด้านการประพฤติปฏิบัติตามหลักศาสนา ซึ่งแสดงออกมาให้ปรากฎในรูปพฤติกรรมทางศาสนา และในทำนองเพียวกัน บุคคลนั้นๆ ก็เป็นหน่วยหนึ่งของสังคม ซึี่งอาจจะเริ่มจากตัวบุคคลในครอบครัว จนถึงรวมกันเป็นกลุ่มก้อนอันจัดเป็นสังคมก็ได้ ฉะนั้น ศาสนาและสังคม จะสัมพันธ์กันมากน้อยเพียงไรนั้น จึงขึ้นอยู่กับบุคคลอันถือเป็นหน่วยหนึ่งของศาสนาและสังคม ฉะนั้น ศาสนาและสังจึงมีความสัมพันธ์กัน โดยมีแกนกลางคือตัวบุคคลเป็นสำคัญ
- อิทธิพลของศาสนาต่อสังคม ในอดีตการอยู่ร่วมกันต้องมีหลักเกณฑ์สำหรับกำกับสังให้เป็นไปด้วยความเป็นระเบียบ และสงบสุข ขอยงสังคมและหมู่คณธ เริ่มตั้งแต่อาศัยกฎธรรมชาติ อาทิ ขนบธรรมเนียม จารีต ประเพณีต่างๆ ที่มีโดยธรรมชาติ รวมทั้งความสัมพันธ์กับระบบธรรมชาติด้วย กระทั่งสังคมวิวัฒนาการขึ้นมา ความสัมพันธ์ได้ขยายออกไปจำเป็นที่ต้องออกกฎเพื่อใช้ควบคุมสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอ้านศีลธรรมจรรยา และกฎนี้ออกตามความประสงค์ของสังคม ในอันที่จะให้สังคมดำเนินไปตามความมุ่งหมาย "..แม้สังคมจะวิวัฒนาการเพียงไร กฎออกมารัดกุมเพียงใดสังคมก็ยังมีความขัดแย้งกันภายในสังคมอยู่ กฎต่างๆ ที่ออกมานั้นสามารถบังคับสังคมได้เฉพาะทางกายหรือภายนอกเท่านั้น ยังไม่สามารถควบคุมได้สนิทเท่าศาสนา และจากความไม่เป็นระเบียบของสังคมนี้เอง เป็นเหตุให้ศาสนาเข้ามามีอิทธิพลในสังคม และสังคมก็เป็นไปด้วยความเรียบร้อย โดยยอมรับอิทธิพลของศาสนานั้นๆ.." ซึงปรากฎออกเป็น โดยตรง เช่นการศึกษาอบรมจาทางศาสนาโดยตรง หรือโดยอ้อม โดขการทำตัวให้เข้ากับสภาวะของศาสนา โดยการติดต่อจากส่อมวลชน โดยการับฟังจากผู้อื่น เป็นต้น
กฎหมายเป็นเพียงเครื่องป้องกันคนมิให้ผิดได้เพียงกายและวาจาเท่านั้น แต่ศาสนาเป็นเครื่องรักษาคนไว้ไม่ให้ทำชั่วได้ทั้งทางกาย วาจา และทางน้ำใจด้วย ดังนั้น ปวงชนที่ยึดมั่นอยู่ในศาสนาและยึดถือศาสนาเป็นเครื่องปกครองตนโดยเคร่งครัดแล้ว จะต้องไม่กระทำความชั่วอันเป็นการละเมิด ทั้งกฎหมายและศีลธรรมต่อศาสนาของตนด้วย แสดงให้เก็นถึงอิทธิพลของศาสนาที่มีต่อสังคม อันสามารถช่วยให้สังคมดำเนินไปด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย อันก่อให้เกิดสันติสุขในสังคม
อันตรสัมพันธ์ระหว่างศาสนาและสังคม Interrelation Religion and Society การศึกษาถึงความสัมพันธ์ที่มีต่อกันทั้งทางตรงและทางอ้อมหรือความสัมพันธ์แผง ซึ่งอยู่ในแต่ละประเภท ซึ่งหากไม่วิเคราะห์ให้ถ่องแท้แล้ว จะไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ในการอธิบายความสัมพันธ์นี้ ของแยกออกเพื่อประโยชน์ในการศึกษา คือ ศาสนาในสังคม และสังคมในศาสนา ดังนี้
ศาสนาในสังคม
- สังคมวิทยาศาสนา เป็นการศึกษาถึงอันตรสัมพันธ์ของศาสนาและสังคม ที่มีอยู่ต่อกัน จะเป็นในรูปใดก็ตาม เราถือว่าสิ่งเร้าหรือแรงแระตุ้นต่างๆ ก็ดี แนวความคิดก็ดี และสถาบันต่างๆ ทางศาสนาก็ดี ถือว่าต่างมีอิทธิพลต่อศาสนาและในทางกลับกันสังคมก็ได้รับอิทธิพลจากศาสนาด้วย ไม่ว่าจะเป็นอำนาจทางสังคมกระบวนการทางสังคม และการกระจายทางสังคม อันมีรายละเอียดตามความสัมพันธ์ตามลำดับ
- ศาสนา มีความสัมพันธ์กับบุคคล ตั้งแต่บุคคลแต่ละคน ซึ่งอสจจะเริ่มต้นจากครอบครัวขยายออกสู่ชุมชน และประเทศชาติเป็นต้น เพราะถือว่าความสัมพันธ์นั้นเริ่มจากสิ่งวที่อยู่ใกล้ตัวเองก่อน แล้วค่อยๆ ขยายออกมาจากครอบครัว หรือจะพูดง่าย ๆก็คื อจากกลุ่มปฐมภูมิ หรือกลุ่มอื่นๆ
- ในการจัดระบบทางสังคมนั้น ได้รับอิทธิพลจากทางศาสนาเป็นส่วนมาก เช่น การจัดอันดับในรูปการปกครอง การจัดรูปแบบของสังคม เป็นต้น ทั้งนี้เนื่องจากเดิมมีความเชื่อถือกันว่า ผู้ปกครองหรือกษัตริย์นั้น มักจะจุติมาจากสรวงสวรรค์ที่เรียกกันว่าสมมติเทพ คือถือเป็นบุคคลอีกระดับหนึ่ง ดำรงฐานะลดหลั่นกันลงมาตามลำดับ เมื่อมาอยู่ในโลกมนษย์จึงได้ใช้อิทธิพลความเชื่อถือทางศสานาเป็นหลักในการจัดระบบการปกครอง
- ศาสนามีอิทธิพลสามารถขจัดปัญหาเรื่องชนชั้นได้ ตามความเชื่อถือทางศาสราในทุกสังคมซึ่งสมาชิกแต่ละคนที่มาร่วมอยุ่ในสังคมเดี่ยวกันนั้น แม้จะมาจากบุคคลที่มีฐานะและชาติชั้นวรรณะต่างกันอย่างไรก็ตาม สามารถรวมกันได้ เพราะอาศัยศาสนาเป็นศูนย์กลาง
- หลักอันหนึ่งของศาสนาที่เป็นศูนย์รวมของสังคม ก็คือการมีพิธกรรม ในการประกอบพิธีกรรมประจำสังคมนั้น ต้องอาศัยศาสนาตามที่สังคมนั้นจึดถือปฏิบัติกันมทั้งนี้เพื่อช่วยให้เกิดควารมศักดิ์สิทธฺในพิธีกรรมนั้น
-อิทธิพลอันยั่งยืออีกอย่างหนึ่งของศาสนาในสังคมก็คือ ช่วยควบคุมสังคมให้เป็นไปด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย อันเป็นเหตุทำให้สังคมมีความเป็นอยู่ด้วยปกติสุข
ศาสนากับความสัมพันธ์ทางด้านสถาบันสังคมอื่นๆ อาทิ :
- ศาสนากับการปกครอง หรือที่เรียกว่า รัฐบาล ความสัมพันธ์ในข้อนี้ถือเป็นการค้ำจุนค่านิยมของสังคมให้ดำเนินไปด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย เช่น การออกพระราชบัญญัติควบคุมสังคม เป็นต้น จำเป็นจะต้องมีการใช้หลักธรรมทางศาสนา หรือกลักจริยธรรมในการบริหารราชการ เป็นต้น
- ศาสนากับการศึกษา ทั้งสองอย่างนี้ถือเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม กระบวนการเรียนรู้ทางสังคมวิทยา อันเป็นหระบวนการอบรมบ่มนิสัย การเรียนรูตามหลัการศึกาาทั้งที่เป็นแบบแผนและนอกแบบแผน
- ศาสนากับเศรษฐกิจ ข้อนี้จะเห็นว่าอทิธพลทางศาสนาช่วยให้มนุษย์มีความกระตือรือร้นในการดำรงชีพ โดยใช้หลักธรรทางศาสนาช่วยกระตุ้นในการทำมาหากินการดำเนินชีวิตประจำวัน รู้จัการผลิตตและการบริโภคโภคทรัพย์ เป็นต้น
- ศาสนากับครอบครัว หากจุพูดตามความเป้นริงแล้ว ครอบครัวถือเป็็นแหล่งก่อให้มีความสัมพันธ์ทางศาสราเป็นอันดับแรก เพราะเป็นที่หล่อหลอมปทัสถานต่างๆ ในฐานะที่เป็นสถาบันที่มีความสัมพันธ์กับวัฒนธรรมอันเป็นเครื่องผดุงครอบครัวให้อยู่ในศีลธรรมอันดี
ความสัมพันธ์เหล่านี้ถือเป็นความสัมพันธ์ในด้านที่ถือว่าศาสนาอยู่ร่วมในสังคม แฃละเกี่ยวข้องกับสังคมอย่างใกล้ชิด นอกจากนี้ยังมัสังคมในรูปอืนอีกที่มีความสัพันธ์กับศาสนาก็พึงถือว่ามีความสัมพันธ์กันในรูปใดรูปหนึ่ง
สังคมในศาสนา
- ถือเป็นรูปแบบของสังคมอย่างหนึ่งในด้านการบิหารและปฏิบัติตามพิธีการทางศาสนา อันจัดเป็นชนกลุ่มหนึ่ง ที่สังกัดในศาสนา หรือเป็นศาสนิกของศาสนาที่ทำหน้าทเพื่อสนองสังคม
- ในการจัดรูปแบบของสังคมในศษสนานั้น เพื่อความสะดวกในการบริหารศาสนาและการประกอบพิธีกรรมความเชื่อถือ จึงมีการจัดแบ่งออกเป็นนิกายต่งๆ ตามความเชื่อถือของแต่ละบุคคลในสังคม ตามนิกายที่ตนสังกัด
- การจัดแบ่งโครงสร้างของศาสนาออเป็นนิกายต่างๆ ตามลักาณะควาทเชื่อถือในศาสนาของสังคมนั้นๆ ซึ่งมีหลายประการด้วยกัน แต่เมื่อสรุปแล้วทุกนิกายในแต่ละศาสนาจะมีโครงสร้างของศาสนาอัประกอบด้วย
1.The Church เป็นตัวรวมศสราทุกระบบของชาวตะวันตก อันหมายถึงกิจการทั้งหมดในทุกระบบของศาสนา ซึ่งรวมทั้งตัวศาสนา นิกาย และสถานที่ประกอบพิธกรรมทางศษสนาด้วย โดยถือการประกอบสังฆกรรมร่วมกันในโบสถ์ หากพูดในแง่ของสังคมวิทยาแล้เวหมายถึงนิกายต่าง ๆ ในคริสต์ศสนาอันมีผู้นับถือมาก เป็นสถาบันที่มีการปฏิบัติศสนกิจสอดคล้องต้องกับความเป็นระเบียบของสังคมและภาวะเศรษบกิจดวย
2. The Ecclesia เป็นการจัดศาสนาอีกระบบหึ่ง ดดยมีการนำคำสอนของศาสนาไปสู่ขุมขน หรือไปสู่สังคมภายนอก อันเป็นการประสานประโยชน์ระหว่างศาสนากับรัฐระบบนี้ได้แก่พวกพระ
3. Denomination ระบบนี้เป็นการแบ่งแยกนิกายของศาสนาออาเป็นกลุ่ม เป็นคณะเพื่อค่านิยมของหมู่คณะ โดยมุ่งหวังจะให้ศาสนาเป็นของบริสุทธิผุดผ่อง ไม่ให้อยู่ใต้อิทธิพลหรือบารมีของกลุ่มหนึ่งโดยเฉพาะ เป็นนิกายของศาสนาที่แยกตัวมาจากนิกายเดิม อันเป็นระบบ The Church ฝ่าย Protestant โดยได้นำหลักการต่างๆ มาดัดแปลงแก้ไขให้ดียิ่งขึ้น ให้เหมาะสมกับสังคม เพื่แยกกิจการของศษสนาออกาจากกิจการของบ้านเมืองโดยเด็ดขาเพื่อให้เป็นอิสระ
4. The Sect ระบบขชองศาสนาประเภทนี้ ถือเป็นนิกายดั้งเดิม ที่มีความเชื่อมั่นในเรื่องคำสั่งสอนของพระผู้เป็นเจ้ายิ่งกว่านิกายอื่น และไม่ยอมดัดแปลงแก้ไขคำสอนให้เหมาะสมกับสมัยด้วย ควาทเชื่อในระดับนิกายนี้จึงติดอยู่กับ ความงมงานเป็นส่วนใหญ่
5. The Cult ถือเป็นองค์กรทางศาสนาประการสุดท้าย อันเกิดขึ้นโดยเสรีไม่มีกฎข้อบังคับสำหรับสมาชิกมากนัก ไม่คำนึงว่าสมาชิกจะออกจะเข้า ใครจะอยู่ใครจะไป ไม่ห่วง ถือเป็นเรื่องส่วนบุคคล ระบบนี้ต้องการเพียงแต่จัดรูปศาสนาขึ้นมา โดยมุ่งปรัชญาเป็นสำคัญเพียงประการเดียว
- ศาสนา กันก่อน ศาสนาเป็นปรากฎการณ์ด้านความศักดิ์สิทธิ์อันย้ำถึงลักษณะที่พึงประสงค์ด้านประสบการณ์ทางศาสนา ศาสนาเป็นนามธรรม เกิดขึ้นเพราะมนุษย์เอง ศาสนาจะอยู่โดยลำพังไม่ได้ จำต้องมีที่เกาะอาศย เพื่อให้เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวสำหรับพักพิง ซึ่งได้แก่สังคมอันเป็นรวมของบุคคลผู้เป็นสมาชิกของสังคม โดยแสดงออกด้านการนับถือศาสนาในรุปของพฤติกรรม การที่ศาสนาจะดำรงมั่นคงหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับค่านิยมอันมีอยู่ที่ตัวของศาสนาเอง ว่าจะสามารถผูกพันจิตใจของสมาชิกของสังคมนั้นๆ ได้มากน้อยเพียงใด เพราะศาสนานั้นขึ้นอยู่กับการยอมรับของมนุษย์ในสังคม หากมนุษย์ยอมรับศาสนาจึงจะดำรงอยู่ต่อไปได้ ศาสนาไม่จำเป็นจะต้องเหมือนกันทุกสังคม การที่ศาสนาจะดำรงอยู่ได้ก็เพราะความต้องการของสังคม เช่นรูปแบบทางศาสนา หลักธรรมหรือแรัชญาของศาสนา ศาสราจะดำรงอยู่หรือสูญสิ้นไปนั้น ขึ้นอยู่ที่ศาสนาเอง ขึ้นอยู่กับความต้องการของมนุษย์ ผู้เป็นสมาชิกของสังคม ศาสนาไม่สามารถแสดงบทบาทได้หากปราศจากสังคม
- ลักษณะสังคม สังคมธรรมชาติหรือสังคมดึกดำบรรพ์ มนุษย์อยู่ร่วมกันแบบธรรมชาติ เป็นสังคมประเภทที่เป็นเองตามธรรมชาติ และสังคมพิธีการ เป็นสังคมที่อาศัยวิวัฒนาการของโลก โดยวิวัฒนาการมาจากสังคมธรรมชาติ เนื่องจากสมาชิกสังคมไม่นิยมอยู่ใต้อิทธิพลของสังคมธรรมชาติ ได้ละเมิดกฎอันมีมาพร้อมกับสังคมธรรมชาติ มีการล่วงเกินกัน กระทบกระทั่งกัน กระทั่งสังคมต้องกำหนดกฎเกณฑ์ขึ้นมาบังคับใช้กับสมาชิกของสังคม พร้อมทั้งกำหนดรูปแบและแนวปฏิบัติเพื่อสมาชิกของสังคมอีกด้วย
- ความสัมพันธ์ระหว่างศาสนากับสังคม ขึ้นอยู่กับแกนกลางของสังคม คือตัวบุคคลผู้เป็นสมาชิกของสังนั้นเอง ปัจเจกบุคคล ซึ่งถื่อว่าทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมโยงให้สังคมและสาสนาสัมพันธ์กัน บุคคลอยู่ใต้อิทธิพลของศาสนาในด้านการประพฤติปฏิบัติตามหลักศาสนา ซึ่งแสดงออกมาให้ปรากฎในรูปพฤติกรรมทางศาสนา และในทำนองเพียวกัน บุคคลนั้นๆ ก็เป็นหน่วยหนึ่งของสังคม ซึี่งอาจจะเริ่มจากตัวบุคคลในครอบครัว จนถึงรวมกันเป็นกลุ่มก้อนอันจัดเป็นสังคมก็ได้ ฉะนั้น ศาสนาและสังคม จะสัมพันธ์กันมากน้อยเพียงไรนั้น จึงขึ้นอยู่กับบุคคลอันถือเป็นหน่วยหนึ่งของศาสนาและสังคม ฉะนั้น ศาสนาและสังจึงมีความสัมพันธ์กัน โดยมีแกนกลางคือตัวบุคคลเป็นสำคัญ
- อิทธิพลของศาสนาต่อสังคม ในอดีตการอยู่ร่วมกันต้องมีหลักเกณฑ์สำหรับกำกับสังให้เป็นไปด้วยความเป็นระเบียบ และสงบสุข ขอยงสังคมและหมู่คณธ เริ่มตั้งแต่อาศัยกฎธรรมชาติ อาทิ ขนบธรรมเนียม จารีต ประเพณีต่างๆ ที่มีโดยธรรมชาติ รวมทั้งความสัมพันธ์กับระบบธรรมชาติด้วย กระทั่งสังคมวิวัฒนาการขึ้นมา ความสัมพันธ์ได้ขยายออกไปจำเป็นที่ต้องออกกฎเพื่อใช้ควบคุมสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอ้านศีลธรรมจรรยา และกฎนี้ออกตามความประสงค์ของสังคม ในอันที่จะให้สังคมดำเนินไปตามความมุ่งหมาย "..แม้สังคมจะวิวัฒนาการเพียงไร กฎออกมารัดกุมเพียงใดสังคมก็ยังมีความขัดแย้งกันภายในสังคมอยู่ กฎต่างๆ ที่ออกมานั้นสามารถบังคับสังคมได้เฉพาะทางกายหรือภายนอกเท่านั้น ยังไม่สามารถควบคุมได้สนิทเท่าศาสนา และจากความไม่เป็นระเบียบของสังคมนี้เอง เป็นเหตุให้ศาสนาเข้ามามีอิทธิพลในสังคม และสังคมก็เป็นไปด้วยความเรียบร้อย โดยยอมรับอิทธิพลของศาสนานั้นๆ.." ซึงปรากฎออกเป็น โดยตรง เช่นการศึกษาอบรมจาทางศาสนาโดยตรง หรือโดยอ้อม โดขการทำตัวให้เข้ากับสภาวะของศาสนา โดยการติดต่อจากส่อมวลชน โดยการับฟังจากผู้อื่น เป็นต้น
กฎหมายเป็นเพียงเครื่องป้องกันคนมิให้ผิดได้เพียงกายและวาจาเท่านั้น แต่ศาสนาเป็นเครื่องรักษาคนไว้ไม่ให้ทำชั่วได้ทั้งทางกาย วาจา และทางน้ำใจด้วย ดังนั้น ปวงชนที่ยึดมั่นอยู่ในศาสนาและยึดถือศาสนาเป็นเครื่องปกครองตนโดยเคร่งครัดแล้ว จะต้องไม่กระทำความชั่วอันเป็นการละเมิด ทั้งกฎหมายและศีลธรรมต่อศาสนาของตนด้วย แสดงให้เก็นถึงอิทธิพลของศาสนาที่มีต่อสังคม อันสามารถช่วยให้สังคมดำเนินไปด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย อันก่อให้เกิดสันติสุขในสังคม
อันตรสัมพันธ์ระหว่างศาสนาและสังคม Interrelation Religion and Society การศึกษาถึงความสัมพันธ์ที่มีต่อกันทั้งทางตรงและทางอ้อมหรือความสัมพันธ์แผง ซึ่งอยู่ในแต่ละประเภท ซึ่งหากไม่วิเคราะห์ให้ถ่องแท้แล้ว จะไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ในการอธิบายความสัมพันธ์นี้ ของแยกออกเพื่อประโยชน์ในการศึกษา คือ ศาสนาในสังคม และสังคมในศาสนา ดังนี้
- สังคมวิทยาศาสนา เป็นการศึกษาถึงอันตรสัมพันธ์ของศาสนาและสังคม ที่มีอยู่ต่อกัน จะเป็นในรูปใดก็ตาม เราถือว่าสิ่งเร้าหรือแรงแระตุ้นต่างๆ ก็ดี แนวความคิดก็ดี และสถาบันต่างๆ ทางศาสนาก็ดี ถือว่าต่างมีอิทธิพลต่อศาสนาและในทางกลับกันสังคมก็ได้รับอิทธิพลจากศาสนาด้วย ไม่ว่าจะเป็นอำนาจทางสังคมกระบวนการทางสังคม และการกระจายทางสังคม อันมีรายละเอียดตามความสัมพันธ์ตามลำดับ
- ศาสนา มีความสัมพันธ์กับบุคคล ตั้งแต่บุคคลแต่ละคน ซึ่งอสจจะเริ่มต้นจากครอบครัวขยายออกสู่ชุมชน และประเทศชาติเป็นต้น เพราะถือว่าความสัมพันธ์นั้นเริ่มจากสิ่งวที่อยู่ใกล้ตัวเองก่อน แล้วค่อยๆ ขยายออกมาจากครอบครัว หรือจะพูดง่าย ๆก็คื อจากกลุ่มปฐมภูมิ หรือกลุ่มอื่นๆ
- ในการจัดระบบทางสังคมนั้น ได้รับอิทธิพลจากทางศาสนาเป็นส่วนมาก เช่น การจัดอันดับในรูปการปกครอง การจัดรูปแบบของสังคม เป็นต้น ทั้งนี้เนื่องจากเดิมมีความเชื่อถือกันว่า ผู้ปกครองหรือกษัตริย์นั้น มักจะจุติมาจากสรวงสวรรค์ที่เรียกกันว่าสมมติเทพ คือถือเป็นบุคคลอีกระดับหนึ่ง ดำรงฐานะลดหลั่นกันลงมาตามลำดับ เมื่อมาอยู่ในโลกมนษย์จึงได้ใช้อิทธิพลความเชื่อถือทางศสานาเป็นหลักในการจัดระบบการปกครอง
- ศาสนามีอิทธิพลสามารถขจัดปัญหาเรื่องชนชั้นได้ ตามความเชื่อถือทางศาสราในทุกสังคมซึ่งสมาชิกแต่ละคนที่มาร่วมอยุ่ในสังคมเดี่ยวกันนั้น แม้จะมาจากบุคคลที่มีฐานะและชาติชั้นวรรณะต่างกันอย่างไรก็ตาม สามารถรวมกันได้ เพราะอาศัยศาสนาเป็นศูนย์กลาง
- หลักอันหนึ่งของศาสนาที่เป็นศูนย์รวมของสังคม ก็คือการมีพิธกรรม ในการประกอบพิธีกรรมประจำสังคมนั้น ต้องอาศัยศาสนาตามที่สังคมนั้นจึดถือปฏิบัติกันมทั้งนี้เพื่อช่วยให้เกิดควารมศักดิ์สิทธฺในพิธีกรรมนั้น
-อิทธิพลอันยั่งยืออีกอย่างหนึ่งของศาสนาในสังคมก็คือ ช่วยควบคุมสังคมให้เป็นไปด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย อันเป็นเหตุทำให้สังคมมีความเป็นอยู่ด้วยปกติสุข
ศาสนากับความสัมพันธ์ทางด้านสถาบันสังคมอื่นๆ อาทิ :
- ศาสนากับการปกครอง หรือที่เรียกว่า รัฐบาล ความสัมพันธ์ในข้อนี้ถือเป็นการค้ำจุนค่านิยมของสังคมให้ดำเนินไปด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย เช่น การออกพระราชบัญญัติควบคุมสังคม เป็นต้น จำเป็นจะต้องมีการใช้หลักธรรมทางศาสนา หรือกลักจริยธรรมในการบริหารราชการ เป็นต้น
- ศาสนากับการศึกษา ทั้งสองอย่างนี้ถือเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม กระบวนการเรียนรู้ทางสังคมวิทยา อันเป็นหระบวนการอบรมบ่มนิสัย การเรียนรูตามหลัการศึกาาทั้งที่เป็นแบบแผนและนอกแบบแผน
- ศาสนากับเศรษฐกิจ ข้อนี้จะเห็นว่าอทิธพลทางศาสนาช่วยให้มนุษย์มีความกระตือรือร้นในการดำรงชีพ โดยใช้หลักธรรทางศาสนาช่วยกระตุ้นในการทำมาหากินการดำเนินชีวิตประจำวัน รู้จัการผลิตตและการบริโภคโภคทรัพย์ เป็นต้น
- ศาสนากับครอบครัว หากจุพูดตามความเป้นริงแล้ว ครอบครัวถือเป็็นแหล่งก่อให้มีความสัมพันธ์ทางศาสราเป็นอันดับแรก เพราะเป็นที่หล่อหลอมปทัสถานต่างๆ ในฐานะที่เป็นสถาบันที่มีความสัมพันธ์กับวัฒนธรรมอันเป็นเครื่องผดุงครอบครัวให้อยู่ในศีลธรรมอันดี
ความสัมพันธ์เหล่านี้ถือเป็นความสัมพันธ์ในด้านที่ถือว่าศาสนาอยู่ร่วมในสังคม แฃละเกี่ยวข้องกับสังคมอย่างใกล้ชิด นอกจากนี้ยังมัสังคมในรูปอืนอีกที่มีความสัพันธ์กับศาสนาก็พึงถือว่ามีความสัมพันธ์กันในรูปใดรูปหนึ่ง
- ถือเป็นรูปแบบของสังคมอย่างหนึ่งในด้านการบิหารและปฏิบัติตามพิธีการทางศาสนา อันจัดเป็นชนกลุ่มหนึ่ง ที่สังกัดในศาสนา หรือเป็นศาสนิกของศาสนาที่ทำหน้าทเพื่อสนองสังคม
- ในการจัดรูปแบบของสังคมในศษสนานั้น เพื่อความสะดวกในการบริหารศาสนาและการประกอบพิธีกรรมความเชื่อถือ จึงมีการจัดแบ่งออกเป็นนิกายต่งๆ ตามความเชื่อถือของแต่ละบุคคลในสังคม ตามนิกายที่ตนสังกัด
- การจัดแบ่งโครงสร้างของศาสนาออเป็นนิกายต่างๆ ตามลักาณะควาทเชื่อถือในศาสนาของสังคมนั้นๆ ซึ่งมีหลายประการด้วยกัน แต่เมื่อสรุปแล้วทุกนิกายในแต่ละศาสนาจะมีโครงสร้างของศาสนาอัประกอบด้วย
1.The Church เป็นตัวรวมศสราทุกระบบของชาวตะวันตก อันหมายถึงกิจการทั้งหมดในทุกระบบของศาสนา ซึ่งรวมทั้งตัวศาสนา นิกาย และสถานที่ประกอบพิธกรรมทางศษสนาด้วย โดยถือการประกอบสังฆกรรมร่วมกันในโบสถ์ หากพูดในแง่ของสังคมวิทยาแล้เวหมายถึงนิกายต่าง ๆ ในคริสต์ศสนาอันมีผู้นับถือมาก เป็นสถาบันที่มีการปฏิบัติศสนกิจสอดคล้องต้องกับความเป็นระเบียบของสังคมและภาวะเศรษบกิจดวย
2. The Ecclesia เป็นการจัดศาสนาอีกระบบหึ่ง ดดยมีการนำคำสอนของศาสนาไปสู่ขุมขน หรือไปสู่สังคมภายนอก อันเป็นการประสานประโยชน์ระหว่างศาสนากับรัฐระบบนี้ได้แก่พวกพระ
3. Denomination ระบบนี้เป็นการแบ่งแยกนิกายของศาสนาออาเป็นกลุ่ม เป็นคณะเพื่อค่านิยมของหมู่คณะ โดยมุ่งหวังจะให้ศาสนาเป็นของบริสุทธิผุดผ่อง ไม่ให้อยู่ใต้อิทธิพลหรือบารมีของกลุ่มหนึ่งโดยเฉพาะ เป็นนิกายของศาสนาที่แยกตัวมาจากนิกายเดิม อันเป็นระบบ The Church ฝ่าย Protestant โดยได้นำหลักการต่างๆ มาดัดแปลงแก้ไขให้ดียิ่งขึ้น ให้เหมาะสมกับสังคม เพื่แยกกิจการของศษสนาออกาจากกิจการของบ้านเมืองโดยเด็ดขาเพื่อให้เป็นอิสระ
4. The Sect ระบบขชองศาสนาประเภทนี้ ถือเป็นนิกายดั้งเดิม ที่มีความเชื่อมั่นในเรื่องคำสั่งสอนของพระผู้เป็นเจ้ายิ่งกว่านิกายอื่น และไม่ยอมดัดแปลงแก้ไขคำสอนให้เหมาะสมกับสมัยด้วย ควาทเชื่อในระดับนิกายนี้จึงติดอยู่กับ ความงมงานเป็นส่วนใหญ่
5. The Cult ถือเป็นองค์กรทางศาสนาประการสุดท้าย อันเกิดขึ้นโดยเสรีไม่มีกฎข้อบังคับสำหรับสมาชิกมากนัก ไม่คำนึงว่าสมาชิกจะออกจะเข้า ใครจะอยู่ใครจะไป ไม่ห่วง ถือเป็นเรื่องส่วนบุคคล ระบบนี้ต้องการเพียงแต่จัดรูปศาสนาขึ้นมา โดยมุ่งปรัชญาเป็นสำคัญเพียงประการเดียว
วันพุธที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2559
Political participation
"การมีส่วนร่วมทางการเมือง" ต่อคำถามที่ว่า แม้การเมืองจะยุ่งเกี่ยวกับเรา แต่เราจะไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับการเมืองได้หรือไม่ "การยุ่งเกี่ยว" มักจะอยู่ในรูปแบบหรือลักษณะของการออกกฎหรือนโยบายใดๆ เพื่อหวังที่จะแจกแจงสิ่งที่มีคุณค่าต่างๆ รวมทั้งควบคุมพฤติกรรมของคนในสังคมโดยมีเป้าหมายสุดท้ายคือการกินดีอยู่ดีของปวงชน จึงเป็นไปได้ว่าในบาสงสังคมกฎหรือนโยบายที่ออกมาไม่สนองตอบต่อการกินดีอยู่ดีของส่วนรวม แต่กลับไปสนองตอบความต้องการของกลุ่มทางสังคมไดๆ เมื่อเรามองว่าทรัพยากรมีอยู่อย่างจำกัด เมื่อกลุ่มหนึ่งได้ประโยชน์อีกกลุ่มหนึ่งก็ย่อมต้องเสียประโยชน์ ปัญหาเรื่องความเป็นธรรมจึงเกิดขึ้น และจากความรู้สึกว่าตนเองไม่ได้รับความเป็นธรรมรู้สึกว่ตนเองถูกฉกชิงในสิ่งที่ตนเองควรจะได้รับ จะเป็นสาเหตุที่สำคัญประการหนึ่้งอันจะนำไปสู่การเข้าไป "ยุ่งเกี่ยว" กับการเมือง และการที่ประชาชนเข้าไป "ยุ่งเกี่ยว" กับการเมืองในที่นี้ก็คือ "การเข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง" นั่นเอง
การเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญในการทางการเมืองของระบบการเมืองที่พัฒนาแล้ว เราจะพบว่าการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองมีความสำคัญต่อประเทศเกิดใหม่และประเทศกำลังพัฒนา ประเทศที่ยึดอุดมการณ์ประชาธิปไตยเป็นหลักในการปกครอง การปกครองประชาชน โดยประชาชนและเพื่อประชาชน ก็จำเป็นต้องส่งเสริมให้ประชาชภายในประเทศเข้าำปมีส่วนร่วมทางการเมืองนี้เองที่ผู้ปกครองอ้างในความชอบธรรมของอำนาจ
ความหมายของการมีส่วนร่วม มีผู้ให้นิยามไว้มากมาย อาทิ
Weiner ได้สรุปนิยามของการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองโดยได้แจกแจงเป็นองค์ประกอบย่อยๆ 3 ประการคือ
1. จะต้องมีกิจกรรม เช่นมีการพูด คุย และรวมดำเนินการใดๆ แต่ทั้งนี้ไม่รวมถึงทัศนคติหรือความรู้สึก
2. จะต้องมีกิจกรรมในลักษณะที่เป็นอาสาสมัคร
3. จะต้องมีข้อเลือกหรือทางให้เลือกมากกว่าหนึ่งเสมอ
Verba Nie และKim ได้ให้นิยามของการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองไว้ว่า "..เป็นกิจกรรมที่ถูกต้องตามกฎหมาย กระทำโดยราษฎรโดยส่วนตัว โดยมีเป้าหมายที่มุ่งเพื่อเข้าไปมีอิทธิพลต่อการคัดเลือกบุคลากรของรัฐบาล และ/หรือกิจกรรมของรัฐบาล
Huntington กับ Nelson ได้ให้นิยามของการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองไว้ดังต่อไปนี้
การเข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง หมายถึง กิจกรรมที่ประชาชนโดยส่วนบุคคลมุ่งที่จะมีอิทธิพลต่อการตัดสินนโยบายรัฐบาล ทั้งนี้การเข้ามี่ส่วนร่วม หมายถึงกิจกรรมต่างๆ แต่ไม่รวมถึงทัศนคติหรือความรู้สึก กิจกรรมของประชาชนโดยส่วนบุคคล หมายถึงกิจกรรมทางการเมืองของบุคคลแต่ละคนในฐานะที่เป็นราษฎรเท่านั้น ไม่รวมถึงกิจกรรมของข้าราชการ เจ้าหน้าที่พรรรค ผู้สมัครเข้ารับการเลือกตั้ง นักลอบบี้อาชีพ หรือนักการเมืองอาชีพ โดยปกติแล้วกิจกรรมทางการเมืองของผู้ที่เข้าไปมีส่วนร่วมจเอยู่ในลักษณะที่ไม่ต่อเนื่องไม่เต็มเวลาและไม่ถือเป็นอาชีพหลักนอกจานี้กิจกรรมของประชาชนนี้จะต้องเป็นกิจกรรมที่มุ่งที่จะมีอิทธิพลต่อการตัดสินนโยบายของรัฐบาลเท่านั้น ดังนั้นการประท้วงเพื่อเรียกร้องให้ฝ่ายบริหารของบริษัทเอกชนขึ้นเงินเดือนให้จึงไม่ถือว่าเป็นการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง และกิจกรรมนี้ยังรวมถึงกิจกรรมทุกรูปแบบที่มุ่งที่จะมีอิทธิพลต่อการตัดสินนโยบายของรัฐบาล ไม่ว่ากิจกรรมนันจะก่อให้เกิดผลหรือไม่ก็ตาม
การเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนมุ่งที่จะเข้าไปมีอทิธิพลต่อการตัดสินนโยบายของรัฐบาลในระดับต่างๆ ซึ่งรูปแบบการเข้าไปมีส่วนร่วมในทางการเมืองในแต่ละสังคมย่อมแตกต่างกันไป
ระดับของการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง
ในทุกสังคมจะมีคนอยู่เพียงจำนวนหนึ่งเท่านั้นที่เข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง นั่นก็คือ แต่ละสังคมจะมีระดับของการเข้าไปมีส่วนร่วมที่แตกต่างกันไป ซึ่งสาเหตุทีทำให้ประชาชนในแต่ละสังคมเข้าไปมีส่วนร่วมที่แตกต่างกันไป การเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองเป็นปรากรฏหารณ์ของกิจกรรมทางการเมืองพลายอย่างรวมกันอยู่ ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้ต่างก็มุ่งที่จะเข้าไปมีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายของรัฐบาลทั้งสิ้น รูปแบบต่างๆ ของการเข้าไปมีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายของรัฐบาลทั้งสิ้น รูปแบบต่างๆ ของการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองในแต่ละสังคมอาจเน้นหรือให้ความสำคัญแตกต่างกันไป บางสังคมอาจให้ความสำคัญกับการในช้สิทธิในการเลือกตั้งระดับชาติ แต่บางสังคมอาจเข้าไปมีส่วนร่วมใรูปแบบใดๆ เป็นแนวทางย่อมที่จะต้องมีกระบวนการที่แตกต่างกันไปด้วย พวกที่เข้าไปช่วยหาเสียงใหผู้สมัครรับการเลือกตั้งอาจดำเนินการได้โดยเข้าเป็นสมาชิกพรรคนั้น ๆ ปฏิบัติการไปตามแนวทางหรือแนวนโยบายที่พรรควางไว้ ส่วนพวกที่ติดต่อโดยตรงกับผู้แทนราษฎรเพื่อหวังจะให้ผู้แทนช่วยเหลือการใดๆ ก็ย่อมที่จะใช้กระบวนการต่างกันไป
รูปแบบต่างๆ ของการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง
- การใช้สิทธิเลือกตั้งเป็นกิจกรรมของบุคคลแต่ละคนในการเลือกตัวแทนของตนเข้าไปใช้อำนาจในการปกครอง สิทธิในการเลือกตั้งจึงอาจนับได้ว่าเป็นเครื่องมือที่สำคัญยิ่งในการควบคุมรัฐบาล แต่การไปใช้สิทธิในการเลือกตั้งจะแตกต่างไปจากกิจกรรมการเข้ามีส่วนร่วมในรูปแบบอื่นๆ ที่สังคมเป็นผู้กำหนดโอกาสให้ เช่น สี่ปีต่อครั้ง จึงทำให้ความรู้สึกสร้างสรรของคนมีน้อยมาก
- กิจกรรมการรณรงค์หาเสียงเป็นกิจกรรมในลักษณะเดียวกับการใช้สิทธิเลื่อกตั้งแต่เป็นรูปของการเข้าไปมีส่วนร่วมในการรณรงค์หาเสียง กิจกรรมนี้เป็นส่วนหนึ่งที่ประชาชนอาจใช้เพื่อเพิ่มอิทธิพลที่เขาพึงมีต่อผลของการเบือกตั้งนอกเหนือไปจากเสียง 1 เสียงที่เขาได้จากสิทธิในการเลือกตั้บงแล้ว กิจกรรมการรณรงค์หาเสียงนี้นับเป็นกิจกรรมที่ค่อนข้างยากเมื่อเปรียบเทียบกับการไปใช้สิทธิเลือกตั้ง
- กิจกรรมของชุมชนเป็นกิจกรรมของกลุ่มหรือองค์กรที่ราษฎร่วมกันดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาทางสังคมและการเมือง ในกรณีนี้ราษฎรจะร่วมมือกันเพื่อใช้อิทธิพลต่อการดำเนินงานของรัฐบาล กิจกรรมในรูปแบบนี้เป็นไปย่างมีเป้าหมายที่แน่นอนและมีอิทธิพลมาก
- การติดต่อเป็นการเฉพาะ เป็นรูปแบบสุดท้ายของการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองและจะเกี่ยวเนื่องกับราษฎรรายบุคคลไปติดต่อกับเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือข้าราชการเพื่อให้แก้ไขปัญหารใดๆ เฉพาะตัวหรือของครอบครัว กิจกรรมในรูปแบบนี้มีอิทะิพบต่อการกำหนดนโยบายของรัฐบาลน้อยมาก
การเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองเกี่ยวเนื่องกับปัจจัยต่างๆ มากมายโดยเฉพาะในแวดวงของการพัฒนาทางการเมือง ซศึ่งมองว่าการเข้ามีส่วนร่วมนี้เป็นลักษณะทางการเมืองที่ำสคัญยิ่งของระบบการเมืองที่ทันสมัย และเป็นรากฐานที่สำคัญของระบบการเมืองที่พัฒนาแล้วด้วย ทำไม และโดยทางใดที่คนเข้าไปเกี่ยวข้องกับการเมืองจึงเป็นเรื่องที่ท้าทายสำหรับนักวิชาการที่จะแสวงหาคำตอบ ซึ่งคำตอบของนักวิชาการแต่ละคน แต่ละสำนักจึงมีอยู่มากมาย อาจสรุปได้ดังนี้
- ยิ่งบุคคลได้รัีบสิ่งเร้าเกี่ยวกับการเมืองมากเท่าไร เขายิ่งมีแนวโน้มว่าจะเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองและจะเข้ามีส่วนร่วมในลักษณะที่ "ลึก" มากขึ้นเท่่านั้น
- บุคคลที่เข้ามีส่วนร่วมในการพูดคุยทางการเมือง อย่างไปม่เป็นทางการจะมีแนวโน้มว่า จะไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้งและข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองในรูปแบบอื่นๆ มากกว่าพวกที่ไม่มีการพูดคุยทางการเมืองเลย
- ชนชั้นกลางมักจะได้รับสิ่งเร้าทางการเมืองมากกว่าชนชั้นกรรมกร
- ในเมืองบุคคลมีแนวโน้มว่าจะติดต่อเจรจากันกับบุคคลื่อนๆ ที่มีระดับการศึกษาเท่าเทียนมกัน และในเมือ่บุคคลที่มีการศึกษาสูงโดยทั่วๆ ไปจะยุ่งเกี่ยวและพูดคุยเรื่องการเมืองมากกว่า พวกนี้จึงมักพบกับสิ่งเร้าเกี่ยวกับการเมืองมากกว่าบุคคลที่มีการศึกษาต่ำด้วย
- บุคคลที่พึงพอใจในพรรคหรือผู้สมัครใดๆ มักมีสิ่งเร้าทางการเมืองมากกว่าบุคคลที่ไม่รู้จะเลือใครหรือพรรคใดดี
การเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญในการทางการเมืองของระบบการเมืองที่พัฒนาแล้ว เราจะพบว่าการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองมีความสำคัญต่อประเทศเกิดใหม่และประเทศกำลังพัฒนา ประเทศที่ยึดอุดมการณ์ประชาธิปไตยเป็นหลักในการปกครอง การปกครองประชาชน โดยประชาชนและเพื่อประชาชน ก็จำเป็นต้องส่งเสริมให้ประชาชภายในประเทศเข้าำปมีส่วนร่วมทางการเมืองนี้เองที่ผู้ปกครองอ้างในความชอบธรรมของอำนาจ
ความหมายของการมีส่วนร่วม มีผู้ให้นิยามไว้มากมาย อาทิ
Weiner ได้สรุปนิยามของการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองโดยได้แจกแจงเป็นองค์ประกอบย่อยๆ 3 ประการคือ
1. จะต้องมีกิจกรรม เช่นมีการพูด คุย และรวมดำเนินการใดๆ แต่ทั้งนี้ไม่รวมถึงทัศนคติหรือความรู้สึก
2. จะต้องมีกิจกรรมในลักษณะที่เป็นอาสาสมัคร
3. จะต้องมีข้อเลือกหรือทางให้เลือกมากกว่าหนึ่งเสมอ
Verba Nie และKim ได้ให้นิยามของการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองไว้ว่า "..เป็นกิจกรรมที่ถูกต้องตามกฎหมาย กระทำโดยราษฎรโดยส่วนตัว โดยมีเป้าหมายที่มุ่งเพื่อเข้าไปมีอิทธิพลต่อการคัดเลือกบุคลากรของรัฐบาล และ/หรือกิจกรรมของรัฐบาล
Huntington กับ Nelson ได้ให้นิยามของการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองไว้ดังต่อไปนี้
การเข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง หมายถึง กิจกรรมที่ประชาชนโดยส่วนบุคคลมุ่งที่จะมีอิทธิพลต่อการตัดสินนโยบายรัฐบาล ทั้งนี้การเข้ามี่ส่วนร่วม หมายถึงกิจกรรมต่างๆ แต่ไม่รวมถึงทัศนคติหรือความรู้สึก กิจกรรมของประชาชนโดยส่วนบุคคล หมายถึงกิจกรรมทางการเมืองของบุคคลแต่ละคนในฐานะที่เป็นราษฎรเท่านั้น ไม่รวมถึงกิจกรรมของข้าราชการ เจ้าหน้าที่พรรรค ผู้สมัครเข้ารับการเลือกตั้ง นักลอบบี้อาชีพ หรือนักการเมืองอาชีพ โดยปกติแล้วกิจกรรมทางการเมืองของผู้ที่เข้าไปมีส่วนร่วมจเอยู่ในลักษณะที่ไม่ต่อเนื่องไม่เต็มเวลาและไม่ถือเป็นอาชีพหลักนอกจานี้กิจกรรมของประชาชนนี้จะต้องเป็นกิจกรรมที่มุ่งที่จะมีอิทธิพลต่อการตัดสินนโยบายของรัฐบาลเท่านั้น ดังนั้นการประท้วงเพื่อเรียกร้องให้ฝ่ายบริหารของบริษัทเอกชนขึ้นเงินเดือนให้จึงไม่ถือว่าเป็นการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง และกิจกรรมนี้ยังรวมถึงกิจกรรมทุกรูปแบบที่มุ่งที่จะมีอิทธิพลต่อการตัดสินนโยบายของรัฐบาล ไม่ว่ากิจกรรมนันจะก่อให้เกิดผลหรือไม่ก็ตาม
การเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนมุ่งที่จะเข้าไปมีอทิธิพลต่อการตัดสินนโยบายของรัฐบาลในระดับต่างๆ ซึ่งรูปแบบการเข้าไปมีส่วนร่วมในทางการเมืองในแต่ละสังคมย่อมแตกต่างกันไป
ระดับของการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง
ในทุกสังคมจะมีคนอยู่เพียงจำนวนหนึ่งเท่านั้นที่เข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง นั่นก็คือ แต่ละสังคมจะมีระดับของการเข้าไปมีส่วนร่วมที่แตกต่างกันไป ซึ่งสาเหตุทีทำให้ประชาชนในแต่ละสังคมเข้าไปมีส่วนร่วมที่แตกต่างกันไป การเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองเป็นปรากรฏหารณ์ของกิจกรรมทางการเมืองพลายอย่างรวมกันอยู่ ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้ต่างก็มุ่งที่จะเข้าไปมีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายของรัฐบาลทั้งสิ้น รูปแบบต่างๆ ของการเข้าไปมีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายของรัฐบาลทั้งสิ้น รูปแบบต่างๆ ของการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองในแต่ละสังคมอาจเน้นหรือให้ความสำคัญแตกต่างกันไป บางสังคมอาจให้ความสำคัญกับการในช้สิทธิในการเลือกตั้งระดับชาติ แต่บางสังคมอาจเข้าไปมีส่วนร่วมใรูปแบบใดๆ เป็นแนวทางย่อมที่จะต้องมีกระบวนการที่แตกต่างกันไปด้วย พวกที่เข้าไปช่วยหาเสียงใหผู้สมัครรับการเลือกตั้งอาจดำเนินการได้โดยเข้าเป็นสมาชิกพรรคนั้น ๆ ปฏิบัติการไปตามแนวทางหรือแนวนโยบายที่พรรควางไว้ ส่วนพวกที่ติดต่อโดยตรงกับผู้แทนราษฎรเพื่อหวังจะให้ผู้แทนช่วยเหลือการใดๆ ก็ย่อมที่จะใช้กระบวนการต่างกันไป
รูปแบบต่างๆ ของการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง
- การใช้สิทธิเลือกตั้งเป็นกิจกรรมของบุคคลแต่ละคนในการเลือกตัวแทนของตนเข้าไปใช้อำนาจในการปกครอง สิทธิในการเลือกตั้งจึงอาจนับได้ว่าเป็นเครื่องมือที่สำคัญยิ่งในการควบคุมรัฐบาล แต่การไปใช้สิทธิในการเลือกตั้งจะแตกต่างไปจากกิจกรรมการเข้ามีส่วนร่วมในรูปแบบอื่นๆ ที่สังคมเป็นผู้กำหนดโอกาสให้ เช่น สี่ปีต่อครั้ง จึงทำให้ความรู้สึกสร้างสรรของคนมีน้อยมาก
- กิจกรรมการรณรงค์หาเสียงเป็นกิจกรรมในลักษณะเดียวกับการใช้สิทธิเลื่อกตั้งแต่เป็นรูปของการเข้าไปมีส่วนร่วมในการรณรงค์หาเสียง กิจกรรมนี้เป็นส่วนหนึ่งที่ประชาชนอาจใช้เพื่อเพิ่มอิทธิพลที่เขาพึงมีต่อผลของการเบือกตั้งนอกเหนือไปจากเสียง 1 เสียงที่เขาได้จากสิทธิในการเลือกตั้บงแล้ว กิจกรรมการรณรงค์หาเสียงนี้นับเป็นกิจกรรมที่ค่อนข้างยากเมื่อเปรียบเทียบกับการไปใช้สิทธิเลือกตั้ง
- กิจกรรมของชุมชนเป็นกิจกรรมของกลุ่มหรือองค์กรที่ราษฎร่วมกันดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาทางสังคมและการเมือง ในกรณีนี้ราษฎรจะร่วมมือกันเพื่อใช้อิทธิพลต่อการดำเนินงานของรัฐบาล กิจกรรมในรูปแบบนี้เป็นไปย่างมีเป้าหมายที่แน่นอนและมีอิทธิพลมาก
- การติดต่อเป็นการเฉพาะ เป็นรูปแบบสุดท้ายของการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองและจะเกี่ยวเนื่องกับราษฎรรายบุคคลไปติดต่อกับเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือข้าราชการเพื่อให้แก้ไขปัญหารใดๆ เฉพาะตัวหรือของครอบครัว กิจกรรมในรูปแบบนี้มีอิทะิพบต่อการกำหนดนโยบายของรัฐบาลน้อยมาก
การเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองเกี่ยวเนื่องกับปัจจัยต่างๆ มากมายโดยเฉพาะในแวดวงของการพัฒนาทางการเมือง ซศึ่งมองว่าการเข้ามีส่วนร่วมนี้เป็นลักษณะทางการเมืองที่ำสคัญยิ่งของระบบการเมืองที่ทันสมัย และเป็นรากฐานที่สำคัญของระบบการเมืองที่พัฒนาแล้วด้วย ทำไม และโดยทางใดที่คนเข้าไปเกี่ยวข้องกับการเมืองจึงเป็นเรื่องที่ท้าทายสำหรับนักวิชาการที่จะแสวงหาคำตอบ ซึ่งคำตอบของนักวิชาการแต่ละคน แต่ละสำนักจึงมีอยู่มากมาย อาจสรุปได้ดังนี้
- ยิ่งบุคคลได้รัีบสิ่งเร้าเกี่ยวกับการเมืองมากเท่าไร เขายิ่งมีแนวโน้มว่าจะเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองและจะเข้ามีส่วนร่วมในลักษณะที่ "ลึก" มากขึ้นเท่่านั้น
- บุคคลที่เข้ามีส่วนร่วมในการพูดคุยทางการเมือง อย่างไปม่เป็นทางการจะมีแนวโน้มว่า จะไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้งและข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองในรูปแบบอื่นๆ มากกว่าพวกที่ไม่มีการพูดคุยทางการเมืองเลย
- ชนชั้นกลางมักจะได้รับสิ่งเร้าทางการเมืองมากกว่าชนชั้นกรรมกร
- ในเมืองบุคคลมีแนวโน้มว่าจะติดต่อเจรจากันกับบุคคลื่อนๆ ที่มีระดับการศึกษาเท่าเทียนมกัน และในเมือ่บุคคลที่มีการศึกษาสูงโดยทั่วๆ ไปจะยุ่งเกี่ยวและพูดคุยเรื่องการเมืองมากกว่า พวกนี้จึงมักพบกับสิ่งเร้าเกี่ยวกับการเมืองมากกว่าบุคคลที่มีการศึกษาต่ำด้วย
- บุคคลที่พึงพอใจในพรรคหรือผู้สมัครใดๆ มักมีสิ่งเร้าทางการเมืองมากกว่าบุคคลที่ไม่รู้จะเลือใครหรือพรรคใดดี
วันจันทร์ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2559
Political Development
การเมือง คือ เรื่องราวของรัฐ, การเมือง คือ เรื่องราวที่เกี่ยวกับอำนาจและอำนาจหน้าที่ อำนาจทางการเมือง คือ "อำนาจที่ใช้โดยรัฐ หรือบุคคลหรือกลุ่มบุคคล เพื่อให้รัฐดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง", การเมือง คือ การแจกแจงสิ่งที่มีคุณค่าในสังคม, การเมือง คือ เรื่องของพฤติกรรมต่างๆ ที่เป็นประเด็นสำคัญๆ ทางการเมือง เราจะพบว่าประเด็นที่เกี่ยวกับการเมืองที่เป็นประเด็นสำคัญ ๆ เช่น ความขัดแย้งอำนาจและอิทธิพล ผู้นำ การตัดสินนโยบายต่างก็มีความเกี่ยวเนื่องกันอย่างใกล้ชิด ดังนั้นจึงพอสรุปได้ว่า "การเมือง" คือ การใช้อำนาจในการแจกแจงสิ่งที่มีคุณค่าในสังคมเพื่อให้เกิดความเป็นธรรม การพัฒนาทางการเมือง คือ การเปลี่ยนแปลงชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นในสังคมโดยมีเป้าหมายใดๆ ที่เเน่นอนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้อำนาจเพื่อแจกแจงสิ่งที่มีคุณค่าให้กับสมาชิกของสังคมอย่างเป็นธรรมกว่าเดิม แนวคิดการพัฒนาการเมืองนั้นเป็นวิธีการศึกษาการเมืองที่เกิดขึ้นร่วมสมัยกับการศึกษารัฐศาสตร์ในแนวพฤติกรรมศึกษา ซึ่งในช่วงเวลาดังกล่าวเป็นช่วงเวลาที่วิชารัฐศาสตร์พยายามสร้างงานวิจัยที่เกี่ยวกับประเด็นปัญหาในสังคมจริงๆ ได้มาองปัฐหารอย่างมีจุดมุ่งหมาย ทีสสามารถนำไปแก้ปัญหาได้จริง และทำให้รัฐศาสตร์กลายเป็นศาสตร์บริสุทธิมากกว่าที่เป็นอยู่ แนวคิดพัฒนาการการเมืองมีการเรียนการสอนในระดับกระบวนทฤษฎี หรือในภาษาที่เป็นที่รู้จักมากกว่าคือเป็นวิธีวิเคราะห์การพัฒนาทางการเมือง ดังกล่าวซึ่งเป็นอิทธิพลทางอฤษฎีของนักรัฐศาสตร์ชาวอเมริกันแกเบรียล อัลบมอนด์ ที่หยิบยืมวิธีวิเคราะห์มาจากวิธีวิเคราะห์โครงสร้างและหน้าที่ที่มองว่าการเมืองโดยรวมนั้นสามารถจะพัฒนาได้หากสมาชิกในสังคมมี "สำนึกพลเมือง"หรือ"วัฒนธรรมพลเมือง"ในการเข้าร่วมทางการเมืองอย่างแข็งขัน แต่หากสมาชิกในสังคมการเมืองวางเฉยทางการเมือง หรือรับรู้แต่ไม่เข้าร่วมทางการเมือง การเมืองนั้นก็จะด้อยพัฒนา Lucian W. Pye มองว่าการพัฒนาการ เมืองนั้นเป็นโรคระบาดทางการเมืองอย่างหนึ่ง ที่มนุษย์ต้องการให้เกิดขึ้นกับระบบการเมืองการปกครองของรัฐ-ชาติตน เพราะสังคมการเมืองที่มีการพัฒนาการเมืองมาก โครงสร้างทางการเมืองจะสลับซับซ้อน มีการแบ่งงานตามความชำนาญเฉพาะด้าน เป็นหน่วยเล็กๆ ทำดำเนินการอย่างอิสระ แต่ยังคงประสานงานกับหน่่วยงานใหญ่หรือรัฐอยู่เสมอ สังคมการเมืองที่มีพัฒนาการในทางการเมืองจะเคารพในความเท่าเทียม สมาชิกในสังคมการเมืองจะมีสิทธิในการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง ในลักษณธหรือรูปแบบต่างๆ โดยเท่าเที่ยมกัน ภายใจ้กฎระเบียบที่เป็นการทั่วไปรวมถึงการเข้าดำรงตำแหน่งทางการเมืองจะเป็นรื่องของความสามารถของบุคคลไม่ใช่เป็น
เรื่องของชาติตระกูล ที่ำสคัญที่สุดคือ ระบบการเมืองสมารถที่จะตอบสอนงข้อเรียกร้องจากเหล่าสมาชิกในสังคมการเมืองได้มากกว่า รวมทั้งามารถเปลี่ยนแปลงเพื่อสนองตอบต่อความต้องการของระบบโครงสร้างทางสังคม โดยเอื้อต่อเป้าหมายใหม่ ๆ ของระบบอีกด้วย ซามูเอล ฮันทิง สรุปการพัฒนาการเมืองว่าคือ ทฤษฎีการเทือง หรอืำระบวนการทฤษฎีที่มองว่าความสามารถที่ะรบบการเมืองทไใด้คนในสังคมสนับสนุนในกิจกรรมทางการเมืองและเพื่อตอบสนองความต้องการของสังคม โดยการระดมทรัพยากรมนุษย์และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของสังคมและเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ ของสังคม โดยเป้าหมายของพัฒนาการทางการเมืองคือ "การสร้างสถาบันเพื่อจัดระเบียบการมีส่วนร่วมทางการเมือง" เป็นสำคัญการที่ระบบการเมืองของสังคมจะทำงานในหน้าที่ได้อย่างสัมฤทธิ์ผลนั้น โครงสร้างอื่นๆ ทางเศรษฐกิจและสังคมจะต้องเอื้อประโยชน์หรือพัฒนาอย่างสอดคล้องกันด้วย การพัฒนาด้านหนึ่งด้านใดโดยไม่พิจารณาด้านอื่นๆ พร้อมกัน จะเป็นอุปสรรคอย่างยิ่งต่อความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง นิยามของการพัฒนาการเมืองเปรียบเทียบในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ซึ่งพยายามศึกษาวิเคราะหืประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกัยการพัฒนาการเมือง และพบว่ามีประเด็นที่ำสำคัญๆ มากมาย และค่อนข้างสลับซับซ้อน จึงมีการสรุปการพยบายามนิยามการพัฒนาการเมืองดังนี้ -การพัฒนาการเมืองเป็นพื้นฐษนทางการเมืองของการพัฒนาเศรษฐกิจ กล่าวคือการเมืองที่พัฒนาแล้วเป็นปัจจัยที่สำคัญที่จะเอื้ออำนายต่อความเจริญทางเศรษฐกิจ -การพัฒนาการเมือง เป็นการเมืองของสังคมอุตสาหกรรม นั้นคือมีการมองกันว่าการเมืองในประเทศอุตสหกรรมไม่ว่าจะเป็นระบอบการเมืองใดจะมแบบแผนของพฤติกรรมของสมาชิกของสังคมในลักษณะที่มีเหตุผลรัฐบาลมีความรับผิดชอบต่อความสงบสุขและมีความเกิดีอยู่อีของประชาน ดังนั้นสังคมที่พัฒนาจนก้าวเข้าสู่สังคมอุตสาหกรรมได้นั้น ระบบการเมืองจะต้องมีระดับพัฒนาสูง ดังนั้น ลักษณะระบบการเมืองของสังคมอุตสหกรรมคือรูปธรรมของระบบการเมืองที่พัฒนาแล้วฤติ - การพัฒนาการเมือง เป็นความเป็นทันสมัยทางการเมือง -การพัฒนาการเมือง เป็นเรื่องการดำเนินงานของรัฐชาติ กล่าวคือ รัฐชาติเลห่านี้สามารถที่จะปรบตัวและดำรงไว้ซึ่งความสงบเรียบร้อยของสังคมได้ในระดับหนึ่ง แถมยังสร้างชาติลัทธิชาตินิยม อันถือว่าเป็นเงื่อนไขที่จำเป็นต่อการพัฒนาการเมืองในแง่นี้ก็คือการสร้างชาติ - การพัฒนาการเมือง หมายถึงเรื่ีองราวของการพัฒนาระบบบริหหารและกฎหมาย
- การพัฒนาการเมือง เป็นเรื่องของการระดมพลและการมีส่วนร่วมทางการเมืองเมือง - การพัฒนาการเมือง เป็นเรื่องของการพัฒนาประชาธิปไตย - การพัฒนาการเมือง เป็นเรื่องของความมีเสถียรภาพและการเปลี่ยนแปลงที่เป็นระเบียบ
- การพัฒนาการเมือง เป็นเรื่องของการระดมพลและอำนาจ
- การพัฒนาการเมือง เป็นแง่หนึ่งของกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม การที่สังคมที่อยู่ในะยะกำลังเปลี่ยนแปลงหรือสังคมที่กำลังพัฒนาจะก้าวไปสู่เป้าหมายที่ใฝ่หาคือภาวะการณ์ของสังคมสมัยใหม่นั้นจะต้องผ่านกระบวนการต่างๆ มากมายครอบคลุมในหลายๆ ด้านของประเด็นสังคม ซึ่งสรุปเป็น 2 ประเด็น คือ เศรษฐกิจและ การศึกษา
กระบวนการทางเศรษฐกิจ เมื่อสังคมเปลี่ยนแปลงสู่ความกินดีอยู่ดี โครงสร้างทางสังคมทั้งทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมจะต้องเปลี่ยนแปลง ต่างมุ่งที่จะพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อเพิ่มรายได้ประชาชาติต่อบุคคลให้สูงยิ่งขึ้น นั้นหมายความว่า สังคมนั้นๆ จะต้องเปลี่ยนแปลงไปสู่การพัฒนาในด้านต่างๆ อาทิ เทคโนโลยี กล่าวคือจะต้องมุ่งพัฒนาเทคโนโลยีให้ทันสมัยมีการนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์เข้ามาประยุกต์ใช้, การเกษตรกรรม จาการปลูกเพื่อยังชีพเป็นการการเพาะปลูกพืชผักที่เป็นที่ต้องการของตลาด, การอุตสาหกรรม ใช้เครื่องจักรแทนแรงงานจากมนุษย์และสัตว์มากขึ้น มีการผลิตสินค้าเพื่อป้อนตลาด, สภาพแวดล้อม มีการย้ายถิ่นฐานจากชนบทเข้าสู่ตัวเมืองมากขึ้น และแน่นอนว่าเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงย่อมมีผลกระทบตามมา ซึ่งผลกระทบที่เกิดจากกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจจะส่งผลกระทบต่อโครงสร้างทางสังคมในหลายๆ ด้าน อาทิ โครงสร้างทางสังคมมีความซับซ้อนยิ่งขึ้น เช่น เมื่อระบบอุตสาหกรรมเข้ามาแทนที่อุตสาหกรรมในครัวเรือน มีระบบการแบ่งงานกันทำตามความชำนาญเฉพาะด้าน ระบบการศึกษาจึงอยู่ในลักษณะที่เป็นทางการยิ่งขึ้น และจะทำหน้าที่ฝึกคนเข้าสู่ระบบอุตสาหกรรม โรงเรียนจึงทำหน้าที่แทนครอบครัวและวัด เป็นต้น เมื่อเกิดการพัฒนา กิจกรรมเศรษฐกิจแบบเก่าๆ จะเปลี่ยนแปลงไป มีระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเกิดขึ้น ระบบเงินตราจะเป็นตัวบังคับให้สินค้าและบริการเพิ่มพูนขึ้น และจะลดบดบาดความสำคัญของระบบศาสนา ครอบครัว หรือระบบวรรณะ ซึ่งเป็นสถาบันที่ควบคุมกิจกรรมการผลิตในอดีต ครอบครัวจะทำหน้าที่เฉพาะอย่างเพิ่มมากขึ้น ครอบครัวไม่ได้เป็นหน่วยในทางเศรษฐกิจอีกต่อไป สมาชิกในครอบครัวจะเริ่มออกจาบ้านไปหางานทำในตลอดแรงงาน ทั้งนี้ระบบเศรษฐกิจสมัยใหม่จะเป็นตัวสร้างค่านิยม ปทัสถานใหม่ๆ ให้เกิดขึ้น เช่น ระบบอาวุโสจะหมดความสำคัญลงไป การคัดเลือกคนจะพิจารณาตามความสามารถ หรือผลสัมฤทธิทางการเรียนรู้และประสบการณ์มากกว่า ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนี้อาจส่งผลต่อเสถียรภาพของระบบการเมือง ในขณะที่เศรษฐกิจจะเติบโต คนก็จะเริ่มไม่พึงพอใจต่อสภาพสังคมมากขึ้น และในอัตราที่รวดเร็ว ระบบการเมืองที่ไม่สามารถพัฒนาให้ทันกับอัตราความเจริญทางเศรษฐกิจก็จะไร้เสถียรภาพ กระบวนการทางการศึกษา กล่าวกันว่าการศึกษาเป็นทั้งผลผลิตและเครื่องมือที่สำคัญยิ่งของสังคม ดังนั้นในการเปลี่ยนแปลงทางสังคมเพื่อสู่การพัฒนา ก็จะต้องมีการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาสอดคล้องกันไปด้วย มีนักวิชาการกล่าวว่า ยิ่งระดับการศึกษาของคนในชาติสูงเพียงไร โอกาสที่ชาตินั้นจะปกครองโดยระบอบประชาธิปไตยที่มั่นคงก็นจะยิ่งเพิ่มมากขึ้นเท่านั้น ทุกๆ สังคมต่างตระหนักในความสำคัญของการศึกษาเป็นอย่างดี โดยเฉพาะประเทศกำลังพัฒนาต่างก็พยายามที่จะเร่งผลิตคนที่มีกำลังสมองออกมาเพื่อหวังให้ช่วยพัฒนาประเทศ แต่กระบวนการทางการศึกษาตลอดจนระบบการศึกษาในประเทศกำลังพัฒนาจะนำมาซึ่งปัญหาทางสังคมหลายประการ อาทิ "ความเสมอภาคในโอกาส" ซึ่งเกิดจากความแต่งต่างทางชนชั้นในสังคม "เสกสรร ประเสริฐกุล" ตั้งข้อสังเกิตว่า "... ระบบการศึกษาหันมาผลิตคนให้กับสังคมสมัยใหม่ ซึ่งเน้นในการใช้ระดับการศึคกษาเป็นเครื่องวัดความสามารถของคน ทำให้ทุกคนพยายามเรียนเพื่อให้ได้ประกาศนียบัตรหรือปริญญาเพื่อที่คนจะได้ไต่ขึ้นไปอยู่ในลำดับที่สูงของสังคม.. การศึกษา จึงไม่ใช่กาณศึกษาเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและความสามารถที่แท้จริง แต่เป็นการแสวงหาใบรับรองค่าของตน ซึ่งนี้เป็นความผิดของชนชั้นผู้ปกครองที่ไปรับเอาแบบสังคมสมัยใหม่มาโดยที่ส่วนต่างๆ ของสังคมยังไม่พร้อม จึงทำให้คนที่มีโอกาสได้รับการศึกษาสูงซึ่งมีอยู่เป็นจำนวน้อยเป็นผุ้ที่มีค่าสูงในสังคม ซึ่งผลตามมาก็คือค่าของประกาศนียบัติหรือปริญญามีความสำคัญมากกว่าความรู้ดังกล่าว...การศึกษาจึงอยู่ในฐานะเป็นเครื่องมือนำปัจเจกบุคคลไปสู่สถานภาพแห่งชนชั้นนำในสังคมปัจจุบันเท่านั้น" นอกจากจากนี้การศึกษาในะบบนี้ก่อให้เกิดผลเสียต่อการลงทุน และความไม่ยุติธรรมต่อคนส่วนใหญ่ ระบบการศึกษามักใช้ทฤษฏีและแนวคิดของตะวันตก และในบางครั้งสิ่งที่ทำการศึกษาอยู่นั้น ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่สังคมของตนเอง การศึกษาถูกมองว่าไม่ได้เป็นเครื่องมือในการแก้ปัญหาของสังคม แต่เป็นเพียงเครื่องมือรับใช้ชนชั้นผู้ปกครอง ตลอดจนระบบการปกครองที่เป็นอยู่ผลตามมาจาการพัฒนาเศรษฐกิจและการศึกษาก็คือความคาดหวังที่ประชาชนต้องการจากรัฐที่เพิ่มมากขึ้น และแน่นอนว่าถ้าสถาบันทางการเมืองที่มีอยู่ไม่สามารถกสกัดกั้นข้อเรียกร้องที่เพิ่มมากขึ้นได้ การไร้เสถียรภาพทางการเมืองก็จะเกิดขึ้นโดยไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ และปัญหานี้เป็นปัญหาที่สำคัญยิ่งของประเทศกำลังพัฒนา
Political Socialization
เนื่องจากวัฒนธรรมทางการเมือง เป็นเรื่องของความรู้ ความเชื่อ ทัศนคติ ค่านิยม แนวคิดและพฤติกรรมของบุคคลในสังคม วัฒนธรรมทางการเมืองจึงมีอิทธิพลต่อบุคคลซึ่งเป็นสมาชิกของสังคมในหลายประการด้วยกัน
ที่มาของวัฒนธรรมทางการเมือง ความโน้มเอียงทางการเมืองอันประกอบด้วย ความรู้ ความเชื่อ ความรู้สึกและประเมินค่าในทางการเมือง ซึ่งรวมกันเข้าเป็นวัฒนธรรมทางการเมืองของบุคคลแต่ละคนในสังคมนี้ คนจะได้มาและสามารถที่จะถ่ายทอดไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่งได้โดยผ่านทางกระบวนการที่เรียกว่า "การเรียนรู้ทางการเมือง"กระบวนการชนิดนี้ ถือได้ว่าเป็นตัวกลางที่เชื่อโยงระหว่างวัฒนธรรมกับมนุษย์ กล่าวคือ เป็นตัวที่ดึงเอาวัฒนธรรมเข้าไปมีส่วนหรือมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของมนุษย์อย่างมากมาย บางครั้งกระบงวนการเรียนรู้ทางการเมืองนี้ ถูกใช้เป็นเครื่องมือในทางการเมืองของผู้นำ เช่น กรณีของจีน คิวบา และสหภาพโซเวียตรัสเซีย เป็นต้น
กระบวนการการเรียนรู้ทางการเมือง
Kenneth P. Langton นิยามว่า การเรียนรู้ทางการเมือง คือ "กระบวนการที่บุคคลได้เรียนรู้แบบแผนพฤติกรรม และอุปนิสัย ในทางที่เกี่ยวเนื่องกับการเมืองโดยผ่านทางสื่อกลางต่าง ๆ ของสังคม สือกลางเหล่านี้รวมถึง สิ่งแวดล้อมทั้วๆ ไป เช่น ครอบครัว กลุ่มเพื่อผูง โรงเรียน สมาคมผู้ใหญ่ และสื่อสารมวลชนต่าง ๆ
Dawson & Prewitt ได้สรุปข้อคิดเห็นไว้ว่า กระบวนการเรียนรู้ทางการเมือง คือ "กระบวนการของการพัฒนาซึ่งบุคคลแต่ละคนจะได้มา ซึ่งโลกทัศน์ทางการเมือง"
Michael & Phillip Athoff นักสังคมวิทยาการเมืองทั้งสองท่านได้ให้คำจำกัดความของกระบวนการเรียนรู้ทางการเมืองไว้ดังนี้ " เป็นกระบวนการซึ่งบุคคลแต่ละคนรู้ตนเองว่าอยู่ในระบบการเมือง ทำให้เกิดมโนคติหรือ ปฏิกริยาต่อปรากฎการณ์ทางการเมือง กระบวนการนี้เกิดขึ้น จากสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรมของสังคมที่บุคคลนั้นเป็นสมาชิกอยู่ และยังเกิดจากกรบวนการ มีบทบาทต่อกันในระหว่างบุคลิกภาพ และประสบการณ์ของบุคคลแต่ละคนนั้นอีกด้วย"
หน้าที่ของกระบวนการเรียนรู้ทางการเมือง
กระบวนการเรียนรู้ทางการเมืองมีบทบาท หน้าที่ที่สำคัญหลายประการด้วยกัน ในที่นี้เราอาจจะสรุปหน้าที่หลักของกระบวนการเรียนรู้ทางการเมืองที่พึงมีต่อวัฒนธรรมทางการเมือง ดังนี้
1. รักษาไว้ซึ่งวัฒนธรรมทางการเมือง หมายถึง การที่คนรุ่นเก่าอบรมสั่งสอน เพื่อสืบทอดค่านิยมทางการเมือง ทรรศนะ ปทัสถาน และความเชื่อไปยังคนรุ่นใหม่ของสังคม การให้การเรียนรู้ทางการเมืองโดยหวังที่จะรักษาไว้ซึ่งวัฒนธรรมทางการเมืองเดิมนั้น อาจจะทำได้โดยผ่านสื่อกลางต่าง ๆ ที่เราได้กล่าวมาแล้วข้างต้น
2. ปฏิรูปวัฒนธรรมทางการเมือง ทุกสังคมย่อมประสบกับการเปลี่ยนแปลงซึ่งจะมีผลกระทบต่อแนวโน้มทางการเมืองของประชาชนไม่มากก็น้อย กระบวนการเรียนรูจะเป็นตัวช่วยให้ข่าวสารใหม่ๆ อันจะนำไปสู่การปฏิรูปวัฒนธรรมทางการเมืองได้เป็นอย่างดี
3. สร้างวัฒนธรรมทางการเมือง ปัญหาที่สำคัญย่ิง ที่ประเทศเกิดใหม่ประสบก็คือพวกเขาพบว่าตนเองอยู่ในชุมชขนทางการเมืองใหม่ที่ยังไม่มีภาษา วัฒนธรรม ศาสนา หรือแม้แต่ศัตรูร่วมกัน ปัญหาของความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันภาระในชาติจะเกิดขึ้น สิ่งแรกและถือได้ว่าเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดที่ผู้นำจะต้องกระทำก็คือ การสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองร่วมกัน หรือ สร้างค่านิยม ความเชื่อร่วมกันอันเป็นที่ยอมรับของคนในชุมชนให้เกิดขึ้นมาให้ได้ ในสภาพของความสับสนหลังจากการได้เอกราชนี้ กระบวนการเรียนรู้ทางการเมืองจะเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการช่วยก่อให้เกิดวัฒนธรรมทางการเมืองอันจะนำมาซึ่งความเป็นอันหนึ่งอันเดียวของชาติได้
การเรียนรู้ทางการเมืองโดยสรุปกระบวนการทีสำคัญๆ ได้แก่
1. การเรียนรู้ทางการเมืองโดยทางอ้อม มีด้วยกัน สามรูปแบบ ได้แก่ การถ่ายโอนระหว่าวบุคคล รูปแบบนี้เชื่อว่าเด็กได้รับการเรียนรู้ทางการเมือง แรกเริ่มจากปรสบการณ์ที่ได้สัมพันธ์ติดต่อกับบุคลลในครอบครัวและโรงเรียน และยึดประสบการณ์นั้นๆ เป็นหลัก นักวิชาการจิตวิทยาวัฒนธรรม และสังคมวิทยาการเมืองเชื่อว่า อุปนิสัยของคนจะเป็นประชาธิปไตยหรืออำนาจนิยมนั้นขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ติดต่อที่เขามีต่อบุคคลที่มีอำนาจในสมัยเด็กๆ เช่น ถ้าเด็กได้รับการอบรมจากครอบครัวที่เป็นอำนาจนิยม เมื่อเติบโตขึ้น เขาจะมีแนวโน้มไปในแง่ของอำนาจนิยม และจะมีวัฒนธรรมทางการเืองที่เป็นอุปสรรคต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตย.. ประการที่สอง การฝึกหัดอบรม รูปแบบนี้จะสัมพันธ์กับรูปแบบแรกอย่างใกล้ชิด กล่าวคือ เกิดขึ้นจากประสบการณ์ที่มีต่อบทบาทที่ไม่ใช่ทางการเมือง ทำให้บุคคลแต่ละคนมีลักษณะและค่านิยมซึ่งสามาถใช้ในแวดวงการเมืองได้ เช่น การฝึกอบรมให้เด็กเรียนรู้ที่จะแข่งขันกันโดยเคารพต่อกฎกติกา..ประการสุดท้าย ระบบความเชื่อพื้นฐานและแบบแผนค่านิยมของวัฒนธรรมไดๆ อันเป็นค่านิยมโดยทั่วไป ที่ไม่ได้เกี่ยวกับสรรพสิ่งทางการเมืองใโดยเฉพาะ มักจะมีบทบาทที่สำคัญในการสร้างวัฒนธรรมทางการเมือง มิติต่างๆ ของความเชื่อพื้นฐาน เช่น ทรรศนะว่าด้วยความเกี่ยวพันกันระหว่างคนกับธรรมชาติ ความคาดหวังในอนาคต ทรรศนะว่าด้วยธรรมชาติของมนุษย์ และว่าด้วยหนทางที่เหมาะที่ควรที่จะเข้าหาบุคคล ตลอดจนความโน้มเอียงต่อกิจกรรม และความเชื่อในเรื่องของการกระทำกิจกรรมโดยทั่วไป มักจะขึ้นต่อกันอย่างชัดแจ้งกับทัศนคติทางการเมือง
2. การเรียนรู้ทางการเมืองโดยตรง ประการแรก การเลียนแบบ คือเป็นวิธิการที่ใช้กันอย่างกว้างขวาง ไม่ว่าจะอยู่ในวัยเด็กหรือผู้ใหญ่ ฉลาดหรือโง่เขลา..ประการที่สอง การเรียนรู้โดยการคาดไว้ล่วงหน้า เป็นแนวคิดของนักสังคมวิทยาที่มีทรรศนะ่า คนที่สร้างความหวังที่จะได้งานดีหรือมีฐานะทางสังคมดี มักจะเริ่มฝึกเอาค่่านิยมและพฤติกรรมของคนที่มีงานดีหรืออยู่ในฐานะทางสังคมที่สูงแล้ว มาเป็นของตนก่อนที่เราจะได้งานหรืออยู่ในฐานะนั้นๆ เสียอีก ..ประการต่อมา การศึกษาทางการเมือง คือวิธีการเรียนรู้ทางการเมืองอย่างตรงไปตรงมา สังคมจะต้องให้การศึกษาทางการเมือง โดยมุ่งที่จะกระตุ้นให้สมาชิกของสังคมเกิดความจงรักภักดี มีความเป็นชาตินิยมและสนับสนุนสถาบันทางการเมือง...ประการต่อมา ประสบการณ์ทางการเมืองโดยตรง บางคนอาจเรียนรู้ทางการเมืองโดยมีการติดต่อสัมพันธ์กับนักการเมือง โครงสร้างหรือเหตุการณ์การทางการเมือง นักวิชาการยังพบว่า การเฝ้าสังเกตและการไปเกี่ยวข้องกับการเมืองนั้นจะเป็นปัจจัยสำคัญในการขัดเกลาความโน้มเอียงทางการเมืองของบุคคลนั้น นอกจากนี้มีการศึกษาที่พบว่าแนวโน้มที่คนจะสนับสนุนโครงสร้างทางการเมืองมี่เป็นอยู่ ขึ้นอยู่กับความพึงพอใจที่บุคคลนั้นมีต่อนโยบาย หรือผลผลิตที่ได้จากการตัดสินใจของรัฐบาลและอีกประการหนึ่งคือ การติดต่อโดยตรงกับนักการเมือง หรือเจ้าหน้าที่รัฐบาล ซึ่งวิธีการเรียนรู้แบบนี้จะช่วยสร้างความมั่นใจในตนเองให้เกิดขึ้นในตัวบุคคลและจะส่งผลให้เขารู้สึกว่าตนเองมีความสามารถที่จะส่งผลกระทบหรือเข้าไปมีอิทธิพลต่อการตัดสินนโยบายทางการเมืองได้
ขั้นตอนการเรียนรู้ทางการเมือง การเรียนรู้ทางการเมืองของบุคคลจะเกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลาตลอดชีวิตโดยจะย่นขั้นตอนต่าง ๆ ที่สำคัญๆ ดังนี้
- ครอบครัวเป็นสถาบันที่มีความสำคัญที่สุในขั้นตอนนี้ คือ เป้ากมายของการเรียนรู้ในขันนี้ก็คือ เพื่อให้มนุษย์เรียนรู้วิธีการดำรงชีวิตอยู่ในสงคมร่วมกับผู้อื่นได้
- ขั้นต่อไป เมื่อเด็กมีเอกลักษณ์ส่วนตัวและมีการพัฒนาไปสู่การมีพื้นฐานความรู้และความเชื่อ สิ่งสำคัญที่เด็กเรียนรู้ในขั้นตอนนี้คือ สภาพของอำนาจอันชอบธรรม ความเชื่อถือไว้วางใจผู้อื่น บางสังคมให้การอบรมเด็กโดยสอนใไม่ให้ไว้ใจคนอื่น ผลที่ตามมาทำให้ชาวพม่าไม่ให้ความเชื่อถือไว้วางใจนักการเมือง หรือสถาบันทางการเมือง จึงทำให้การเมืองพม่ามักจะใช้วิธีการรุนแรง
- ต่อมา เป็นขั้นตอนที่คนเริ่มได้รับการเรียนรู้ทางการเมืองของสังคม มีประสบการทางการเมือง ติดต่อกับนักการเมืองได้รับความรู้จากพรรการเมืองสื่อมวลชนและกำรบวนการเลือกตั้งเป็น ขั้นตอนนี้ จะทำให้คนมีบุคลิกภาพ มีทัศนคติ ความรู้สึก ค่านิยมทางการเมือง รวมทั้งสาสารถพินิจพิเคราะห์ หรือรู้จักประเมินค่าในทางการเมืองได้
- ขั้นต่อมา คนจะมีความรู้ ความเข้าใจ และเข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง อย่างกระตือรือร้น มีความรู้สึกว่าการเมืองกับตนเองแยกกันไม่ได้ และเชื่อว่า ตนเองสามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางการเมือง และมีอิทธิพลต่อการตัดสินนโยบายของรัฐ
นอกจากขั้นตอนการเรียนรู้ดังกล่าว ปัจจัยที่มีอิทธิพลที่ทำให้เกิดวัฒนธรรมทางการเมืองในลักษณะใดๆ ขึ้นมา ปัจจัยเหล่านี้ประกอบด้วย เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ คือ เหตะการณ์ที่สังคมนั้น ประสบในอดีต ซึ่งอาจมีส่วนในการกำหนดพฤติกรรมของคนที่พึงมีต่อระบบการเมืองในปัจจุบัน.. สภาพภูมิศาสตร์ของสังคม... สภาพทางเศรษฐกิจของสังคม ประเทศอุตสาหกรรมที่มีระดับการพัฒนาเศรษฐกิจในระดับสูง จะมีแนวโน้มที่จะก่อให้เกิดวัฒนธรรมทางการเมืองแบบเข้ามีส่วนร่วม ในขณะที่สังคมซึ่งเป็นสังคมเกษตรกรรม มีระดับของการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมอยู่ในชั้นต่ำ มักจะมีวัฒนธรรมทางการเมืองแบบดั้งเดิมหรือแบบไพร่ฟ้า..ขนบธรรมเนียมประเพณีทางการเมือง ลัษณะของขนบธรรมเนียมประเพณีทางการเมือง ในแต่ละประเทศย่อมผิดแผกแตกต่างกันไม่มากก็น้อย บางประเทศเน้นที่การสร้างเอกลักษณ์ของขาติ ธงชาติ เพลงขาติ ฯ เหล่านี้จะมีส่วนในการสร้างเสริมค่รนิยม ความเชื่อบางประการ อันเป็นผลให้วัฒนธรรมทางการเมืองในแต่ละประเทศแตกต่างกันไม่มากก็น้อย
วัฒนธรรมทางการเมืองเชิงปฏิบัติ
การที่ะรู้ว่าสังคมใดมีวัฒฯธรรมทางการเมืองในลักษณะใด เราอาจดูได้จากทัศนคติของประชาชนที่มีต่อระบบการเมือง กล่าวคือ
- ระบบการเมืองโดยส่วนรวม ในระดับนี้อาจดูได้จากระดับความชอบธรรมของระบบการเมืองเอง ถ้าประชาชนมีความเชื่อว่าพวกเขาจะต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ความชอบธรรมของระบบก็จะสูง ในทางตรงกันข้าม หากประชาชนไม่เห็นประโยชน์จากการเคารพกฎหมายแล้ว ความชอบธรรมของระบบจะต่ำประชาชนจะยอมรับในความชอบธรรมของรัฐบาลด้วยเหตุผลที่แตกต่างกันไปหลายประการ ถ้าหากผู้นำหรือรัฐบาลมีความขอบธรรมแล้ว การที่ประชาชนจะให้การสนับสนุนและเข้ามีส่วนร่วมอย่างเหมาะอย่างควร ในสังคมที่มีระดับของความชอบธรรมในรัฐบาลต่ำ มักจะนำไปสู่วัฒนธรรมทางการเมืองในลักษณะที่ใช้กำลังรุนแรง...
- กระบวนการทางการเมือง หมายถึง ลักษณะแนวโน้มที่บุคคลจะเข้าเกี่ยวข้องกับกระบวนการทางการเมือง เช่น เรียร้องต่อระบบ เคารพกฎหมาย ..ในระบบการเมืองแต่ละระบบย่อมที่จะมีระดับของวัฒนธรรมทางการเมืองแบบเข้ามีส่วนร่วมในการะบวนการทางการเมือง แตกต่างกันไป นักวิชาการทางการเมือง ได้จำแนกระบบการเมืองที่มีอยู่ในดังนี้
1. ระบบการเมืองของสังคมอุตาสาหกรรมแบบประชาธิปไตย
2. ระบบการเมืองของสังคมอุตสหกรรมแบบอำนาจนิยม
3. ระบบการเมืองของสังคมที่อยู่ในระยะกำลังเปลี่ยนแปลงที่ใช้ระบอบอำนาจนิยม
4. ระบบการเมืองของสังคมยุคก่อนอุตสาหกรรมแบบประชาธิปไตย
และระบบดังกล่าวนี้จะมีส่วนผสมของวัฒนธรรมทางการเมืองในรูปแบบต่างๆ แตกต่างกันไป
3. นโยบาย คือดูว่านโยบายในลักษณะใดที่ประชาชนคาดว่า รัฐบาลจะสนองตอบเป้าหมายที่รัฐบาลวางไว้ และวิธีการที่จะดำเนินการไปสู่เป้าหมายเป็นอย่างไร ในการที่จะเข้าใจการเมืองของประเทศใด เราควรจะต้องเข้าใจประเด็นปัญหาที่ประชาชนใส่ใจ และประเด็นปัญหาเหล่านี้เป็นเรื่องที่รัฐบาลจะต้องมีนโยบายในลักษณะใดๆ เพื่อแก้ไขและดำเนินการ ประชาชนในแต่ละประเทศจะแตกต่างกันในแง่ของความสำคัญที่พวกเขาให้ต่อนโยบายของรัฐ ในางสังคมประชาชนให้ความสำคัญกับทรัพย์สินส่วนบุคคล บางสังคมถือเป็นกฎว่าทรัพย์สินต้องเป็นส่วนรวม...
วัฒนธรรมทางการเมืองในแต่ละสังคมจะอยู่ในลักษณะใดนั้นขึ้นอยู่กับทัศนคติของประชาชนที่มีต่อความชอบธรรม นโยบายและกระบวนการทางการเมืองที่เป็นอยู่ และทัศนคติของประชาชนในแต่ละระดับอาจจะกลมกลืนหรือขัดแย้งกันก็ได้
ที่มาของวัฒนธรรมทางการเมือง ความโน้มเอียงทางการเมืองอันประกอบด้วย ความรู้ ความเชื่อ ความรู้สึกและประเมินค่าในทางการเมือง ซึ่งรวมกันเข้าเป็นวัฒนธรรมทางการเมืองของบุคคลแต่ละคนในสังคมนี้ คนจะได้มาและสามารถที่จะถ่ายทอดไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่งได้โดยผ่านทางกระบวนการที่เรียกว่า "การเรียนรู้ทางการเมือง"กระบวนการชนิดนี้ ถือได้ว่าเป็นตัวกลางที่เชื่อโยงระหว่างวัฒนธรรมกับมนุษย์ กล่าวคือ เป็นตัวที่ดึงเอาวัฒนธรรมเข้าไปมีส่วนหรือมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของมนุษย์อย่างมากมาย บางครั้งกระบงวนการเรียนรู้ทางการเมืองนี้ ถูกใช้เป็นเครื่องมือในทางการเมืองของผู้นำ เช่น กรณีของจีน คิวบา และสหภาพโซเวียตรัสเซีย เป็นต้น
กระบวนการการเรียนรู้ทางการเมือง
Kenneth P. Langton นิยามว่า การเรียนรู้ทางการเมือง คือ "กระบวนการที่บุคคลได้เรียนรู้แบบแผนพฤติกรรม และอุปนิสัย ในทางที่เกี่ยวเนื่องกับการเมืองโดยผ่านทางสื่อกลางต่าง ๆ ของสังคม สือกลางเหล่านี้รวมถึง สิ่งแวดล้อมทั้วๆ ไป เช่น ครอบครัว กลุ่มเพื่อผูง โรงเรียน สมาคมผู้ใหญ่ และสื่อสารมวลชนต่าง ๆ
Dawson & Prewitt ได้สรุปข้อคิดเห็นไว้ว่า กระบวนการเรียนรู้ทางการเมือง คือ "กระบวนการของการพัฒนาซึ่งบุคคลแต่ละคนจะได้มา ซึ่งโลกทัศน์ทางการเมือง"
Michael & Phillip Athoff นักสังคมวิทยาการเมืองทั้งสองท่านได้ให้คำจำกัดความของกระบวนการเรียนรู้ทางการเมืองไว้ดังนี้ " เป็นกระบวนการซึ่งบุคคลแต่ละคนรู้ตนเองว่าอยู่ในระบบการเมือง ทำให้เกิดมโนคติหรือ ปฏิกริยาต่อปรากฎการณ์ทางการเมือง กระบวนการนี้เกิดขึ้น จากสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรมของสังคมที่บุคคลนั้นเป็นสมาชิกอยู่ และยังเกิดจากกรบวนการ มีบทบาทต่อกันในระหว่างบุคลิกภาพ และประสบการณ์ของบุคคลแต่ละคนนั้นอีกด้วย"
หน้าที่ของกระบวนการเรียนรู้ทางการเมือง
กระบวนการเรียนรู้ทางการเมืองมีบทบาท หน้าที่ที่สำคัญหลายประการด้วยกัน ในที่นี้เราอาจจะสรุปหน้าที่หลักของกระบวนการเรียนรู้ทางการเมืองที่พึงมีต่อวัฒนธรรมทางการเมือง ดังนี้
1. รักษาไว้ซึ่งวัฒนธรรมทางการเมือง หมายถึง การที่คนรุ่นเก่าอบรมสั่งสอน เพื่อสืบทอดค่านิยมทางการเมือง ทรรศนะ ปทัสถาน และความเชื่อไปยังคนรุ่นใหม่ของสังคม การให้การเรียนรู้ทางการเมืองโดยหวังที่จะรักษาไว้ซึ่งวัฒนธรรมทางการเมืองเดิมนั้น อาจจะทำได้โดยผ่านสื่อกลางต่าง ๆ ที่เราได้กล่าวมาแล้วข้างต้น
2. ปฏิรูปวัฒนธรรมทางการเมือง ทุกสังคมย่อมประสบกับการเปลี่ยนแปลงซึ่งจะมีผลกระทบต่อแนวโน้มทางการเมืองของประชาชนไม่มากก็น้อย กระบวนการเรียนรูจะเป็นตัวช่วยให้ข่าวสารใหม่ๆ อันจะนำไปสู่การปฏิรูปวัฒนธรรมทางการเมืองได้เป็นอย่างดี
3. สร้างวัฒนธรรมทางการเมือง ปัญหาที่สำคัญย่ิง ที่ประเทศเกิดใหม่ประสบก็คือพวกเขาพบว่าตนเองอยู่ในชุมชขนทางการเมืองใหม่ที่ยังไม่มีภาษา วัฒนธรรม ศาสนา หรือแม้แต่ศัตรูร่วมกัน ปัญหาของความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันภาระในชาติจะเกิดขึ้น สิ่งแรกและถือได้ว่าเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดที่ผู้นำจะต้องกระทำก็คือ การสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองร่วมกัน หรือ สร้างค่านิยม ความเชื่อร่วมกันอันเป็นที่ยอมรับของคนในชุมชนให้เกิดขึ้นมาให้ได้ ในสภาพของความสับสนหลังจากการได้เอกราชนี้ กระบวนการเรียนรู้ทางการเมืองจะเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการช่วยก่อให้เกิดวัฒนธรรมทางการเมืองอันจะนำมาซึ่งความเป็นอันหนึ่งอันเดียวของชาติได้
การเรียนรู้ทางการเมืองโดยสรุปกระบวนการทีสำคัญๆ ได้แก่
1. การเรียนรู้ทางการเมืองโดยทางอ้อม มีด้วยกัน สามรูปแบบ ได้แก่ การถ่ายโอนระหว่าวบุคคล รูปแบบนี้เชื่อว่าเด็กได้รับการเรียนรู้ทางการเมือง แรกเริ่มจากปรสบการณ์ที่ได้สัมพันธ์ติดต่อกับบุคลลในครอบครัวและโรงเรียน และยึดประสบการณ์นั้นๆ เป็นหลัก นักวิชาการจิตวิทยาวัฒนธรรม และสังคมวิทยาการเมืองเชื่อว่า อุปนิสัยของคนจะเป็นประชาธิปไตยหรืออำนาจนิยมนั้นขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ติดต่อที่เขามีต่อบุคคลที่มีอำนาจในสมัยเด็กๆ เช่น ถ้าเด็กได้รับการอบรมจากครอบครัวที่เป็นอำนาจนิยม เมื่อเติบโตขึ้น เขาจะมีแนวโน้มไปในแง่ของอำนาจนิยม และจะมีวัฒนธรรมทางการเืองที่เป็นอุปสรรคต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตย.. ประการที่สอง การฝึกหัดอบรม รูปแบบนี้จะสัมพันธ์กับรูปแบบแรกอย่างใกล้ชิด กล่าวคือ เกิดขึ้นจากประสบการณ์ที่มีต่อบทบาทที่ไม่ใช่ทางการเมือง ทำให้บุคคลแต่ละคนมีลักษณะและค่านิยมซึ่งสามาถใช้ในแวดวงการเมืองได้ เช่น การฝึกอบรมให้เด็กเรียนรู้ที่จะแข่งขันกันโดยเคารพต่อกฎกติกา..ประการสุดท้าย ระบบความเชื่อพื้นฐานและแบบแผนค่านิยมของวัฒนธรรมไดๆ อันเป็นค่านิยมโดยทั่วไป ที่ไม่ได้เกี่ยวกับสรรพสิ่งทางการเมืองใโดยเฉพาะ มักจะมีบทบาทที่สำคัญในการสร้างวัฒนธรรมทางการเมือง มิติต่างๆ ของความเชื่อพื้นฐาน เช่น ทรรศนะว่าด้วยความเกี่ยวพันกันระหว่างคนกับธรรมชาติ ความคาดหวังในอนาคต ทรรศนะว่าด้วยธรรมชาติของมนุษย์ และว่าด้วยหนทางที่เหมาะที่ควรที่จะเข้าหาบุคคล ตลอดจนความโน้มเอียงต่อกิจกรรม และความเชื่อในเรื่องของการกระทำกิจกรรมโดยทั่วไป มักจะขึ้นต่อกันอย่างชัดแจ้งกับทัศนคติทางการเมือง
2. การเรียนรู้ทางการเมืองโดยตรง ประการแรก การเลียนแบบ คือเป็นวิธิการที่ใช้กันอย่างกว้างขวาง ไม่ว่าจะอยู่ในวัยเด็กหรือผู้ใหญ่ ฉลาดหรือโง่เขลา..ประการที่สอง การเรียนรู้โดยการคาดไว้ล่วงหน้า เป็นแนวคิดของนักสังคมวิทยาที่มีทรรศนะ่า คนที่สร้างความหวังที่จะได้งานดีหรือมีฐานะทางสังคมดี มักจะเริ่มฝึกเอาค่่านิยมและพฤติกรรมของคนที่มีงานดีหรืออยู่ในฐานะทางสังคมที่สูงแล้ว มาเป็นของตนก่อนที่เราจะได้งานหรืออยู่ในฐานะนั้นๆ เสียอีก ..ประการต่อมา การศึกษาทางการเมือง คือวิธีการเรียนรู้ทางการเมืองอย่างตรงไปตรงมา สังคมจะต้องให้การศึกษาทางการเมือง โดยมุ่งที่จะกระตุ้นให้สมาชิกของสังคมเกิดความจงรักภักดี มีความเป็นชาตินิยมและสนับสนุนสถาบันทางการเมือง...ประการต่อมา ประสบการณ์ทางการเมืองโดยตรง บางคนอาจเรียนรู้ทางการเมืองโดยมีการติดต่อสัมพันธ์กับนักการเมือง โครงสร้างหรือเหตุการณ์การทางการเมือง นักวิชาการยังพบว่า การเฝ้าสังเกตและการไปเกี่ยวข้องกับการเมืองนั้นจะเป็นปัจจัยสำคัญในการขัดเกลาความโน้มเอียงทางการเมืองของบุคคลนั้น นอกจากนี้มีการศึกษาที่พบว่าแนวโน้มที่คนจะสนับสนุนโครงสร้างทางการเมืองมี่เป็นอยู่ ขึ้นอยู่กับความพึงพอใจที่บุคคลนั้นมีต่อนโยบาย หรือผลผลิตที่ได้จากการตัดสินใจของรัฐบาลและอีกประการหนึ่งคือ การติดต่อโดยตรงกับนักการเมือง หรือเจ้าหน้าที่รัฐบาล ซึ่งวิธีการเรียนรู้แบบนี้จะช่วยสร้างความมั่นใจในตนเองให้เกิดขึ้นในตัวบุคคลและจะส่งผลให้เขารู้สึกว่าตนเองมีความสามารถที่จะส่งผลกระทบหรือเข้าไปมีอิทธิพลต่อการตัดสินนโยบายทางการเมืองได้
ขั้นตอนการเรียนรู้ทางการเมือง การเรียนรู้ทางการเมืองของบุคคลจะเกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลาตลอดชีวิตโดยจะย่นขั้นตอนต่าง ๆ ที่สำคัญๆ ดังนี้
- ครอบครัวเป็นสถาบันที่มีความสำคัญที่สุในขั้นตอนนี้ คือ เป้ากมายของการเรียนรู้ในขันนี้ก็คือ เพื่อให้มนุษย์เรียนรู้วิธีการดำรงชีวิตอยู่ในสงคมร่วมกับผู้อื่นได้
- ขั้นต่อไป เมื่อเด็กมีเอกลักษณ์ส่วนตัวและมีการพัฒนาไปสู่การมีพื้นฐานความรู้และความเชื่อ สิ่งสำคัญที่เด็กเรียนรู้ในขั้นตอนนี้คือ สภาพของอำนาจอันชอบธรรม ความเชื่อถือไว้วางใจผู้อื่น บางสังคมให้การอบรมเด็กโดยสอนใไม่ให้ไว้ใจคนอื่น ผลที่ตามมาทำให้ชาวพม่าไม่ให้ความเชื่อถือไว้วางใจนักการเมือง หรือสถาบันทางการเมือง จึงทำให้การเมืองพม่ามักจะใช้วิธีการรุนแรง
- ต่อมา เป็นขั้นตอนที่คนเริ่มได้รับการเรียนรู้ทางการเมืองของสังคม มีประสบการทางการเมือง ติดต่อกับนักการเมืองได้รับความรู้จากพรรการเมืองสื่อมวลชนและกำรบวนการเลือกตั้งเป็น ขั้นตอนนี้ จะทำให้คนมีบุคลิกภาพ มีทัศนคติ ความรู้สึก ค่านิยมทางการเมือง รวมทั้งสาสารถพินิจพิเคราะห์ หรือรู้จักประเมินค่าในทางการเมืองได้
- ขั้นต่อมา คนจะมีความรู้ ความเข้าใจ และเข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง อย่างกระตือรือร้น มีความรู้สึกว่าการเมืองกับตนเองแยกกันไม่ได้ และเชื่อว่า ตนเองสามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางการเมือง และมีอิทธิพลต่อการตัดสินนโยบายของรัฐ
นอกจากขั้นตอนการเรียนรู้ดังกล่าว ปัจจัยที่มีอิทธิพลที่ทำให้เกิดวัฒนธรรมทางการเมืองในลักษณะใดๆ ขึ้นมา ปัจจัยเหล่านี้ประกอบด้วย เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ คือ เหตะการณ์ที่สังคมนั้น ประสบในอดีต ซึ่งอาจมีส่วนในการกำหนดพฤติกรรมของคนที่พึงมีต่อระบบการเมืองในปัจจุบัน.. สภาพภูมิศาสตร์ของสังคม... สภาพทางเศรษฐกิจของสังคม ประเทศอุตสาหกรรมที่มีระดับการพัฒนาเศรษฐกิจในระดับสูง จะมีแนวโน้มที่จะก่อให้เกิดวัฒนธรรมทางการเมืองแบบเข้ามีส่วนร่วม ในขณะที่สังคมซึ่งเป็นสังคมเกษตรกรรม มีระดับของการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมอยู่ในชั้นต่ำ มักจะมีวัฒนธรรมทางการเมืองแบบดั้งเดิมหรือแบบไพร่ฟ้า..ขนบธรรมเนียมประเพณีทางการเมือง ลัษณะของขนบธรรมเนียมประเพณีทางการเมือง ในแต่ละประเทศย่อมผิดแผกแตกต่างกันไม่มากก็น้อย บางประเทศเน้นที่การสร้างเอกลักษณ์ของขาติ ธงชาติ เพลงขาติ ฯ เหล่านี้จะมีส่วนในการสร้างเสริมค่รนิยม ความเชื่อบางประการ อันเป็นผลให้วัฒนธรรมทางการเมืองในแต่ละประเทศแตกต่างกันไม่มากก็น้อย
วัฒนธรรมทางการเมืองเชิงปฏิบัติ
การที่ะรู้ว่าสังคมใดมีวัฒฯธรรมทางการเมืองในลักษณะใด เราอาจดูได้จากทัศนคติของประชาชนที่มีต่อระบบการเมือง กล่าวคือ
- ระบบการเมืองโดยส่วนรวม ในระดับนี้อาจดูได้จากระดับความชอบธรรมของระบบการเมืองเอง ถ้าประชาชนมีความเชื่อว่าพวกเขาจะต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ความชอบธรรมของระบบก็จะสูง ในทางตรงกันข้าม หากประชาชนไม่เห็นประโยชน์จากการเคารพกฎหมายแล้ว ความชอบธรรมของระบบจะต่ำประชาชนจะยอมรับในความชอบธรรมของรัฐบาลด้วยเหตุผลที่แตกต่างกันไปหลายประการ ถ้าหากผู้นำหรือรัฐบาลมีความขอบธรรมแล้ว การที่ประชาชนจะให้การสนับสนุนและเข้ามีส่วนร่วมอย่างเหมาะอย่างควร ในสังคมที่มีระดับของความชอบธรรมในรัฐบาลต่ำ มักจะนำไปสู่วัฒนธรรมทางการเมืองในลักษณะที่ใช้กำลังรุนแรง...
- กระบวนการทางการเมือง หมายถึง ลักษณะแนวโน้มที่บุคคลจะเข้าเกี่ยวข้องกับกระบวนการทางการเมือง เช่น เรียร้องต่อระบบ เคารพกฎหมาย ..ในระบบการเมืองแต่ละระบบย่อมที่จะมีระดับของวัฒนธรรมทางการเมืองแบบเข้ามีส่วนร่วมในการะบวนการทางการเมือง แตกต่างกันไป นักวิชาการทางการเมือง ได้จำแนกระบบการเมืองที่มีอยู่ในดังนี้
1. ระบบการเมืองของสังคมอุตาสาหกรรมแบบประชาธิปไตย
2. ระบบการเมืองของสังคมอุตสหกรรมแบบอำนาจนิยม
3. ระบบการเมืองของสังคมที่อยู่ในระยะกำลังเปลี่ยนแปลงที่ใช้ระบอบอำนาจนิยม
4. ระบบการเมืองของสังคมยุคก่อนอุตสาหกรรมแบบประชาธิปไตย
และระบบดังกล่าวนี้จะมีส่วนผสมของวัฒนธรรมทางการเมืองในรูปแบบต่างๆ แตกต่างกันไป
3. นโยบาย คือดูว่านโยบายในลักษณะใดที่ประชาชนคาดว่า รัฐบาลจะสนองตอบเป้าหมายที่รัฐบาลวางไว้ และวิธีการที่จะดำเนินการไปสู่เป้าหมายเป็นอย่างไร ในการที่จะเข้าใจการเมืองของประเทศใด เราควรจะต้องเข้าใจประเด็นปัญหาที่ประชาชนใส่ใจ และประเด็นปัญหาเหล่านี้เป็นเรื่องที่รัฐบาลจะต้องมีนโยบายในลักษณะใดๆ เพื่อแก้ไขและดำเนินการ ประชาชนในแต่ละประเทศจะแตกต่างกันในแง่ของความสำคัญที่พวกเขาให้ต่อนโยบายของรัฐ ในางสังคมประชาชนให้ความสำคัญกับทรัพย์สินส่วนบุคคล บางสังคมถือเป็นกฎว่าทรัพย์สินต้องเป็นส่วนรวม...
วัฒนธรรมทางการเมืองในแต่ละสังคมจะอยู่ในลักษณะใดนั้นขึ้นอยู่กับทัศนคติของประชาชนที่มีต่อความชอบธรรม นโยบายและกระบวนการทางการเมืองที่เป็นอยู่ และทัศนคติของประชาชนในแต่ละระดับอาจจะกลมกลืนหรือขัดแย้งกันก็ได้
วันอาทิตย์ที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2559
Political Culture
วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และความเหมาะสม วัฒนธรรมส่วนหนึ่งแสดงออกผ่าน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละครและภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่าวัฒนธรรมคือเรื่องที่ว่าด้วยการบริโภคและสินค้าบริโภค เช่น วัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมพื้นบ้าน หรือวัฒนธรรมนิยม เป็นต้น ทั้งนี้ นักมานุษยวิทยา ยังรวมไปถึง เทคโนโลยี ศิลปะ วทิยาศาสตร์ และศีลธรรมด้วย
วัฒนธรรมทางการเมือง เป็นตัวแปรที่สำคัญของแต่ละประเทศที่จะทำให้ประเทศนั้น ๆ ม่ีเสถียรภาพทางการเมือง แม้จะเป็นประเทศที่มีระบอบการปกครองเหมือนกัน มีระบบโครงสร้างเหมือนกันแต่เสถียรภาพทางการเมืองอาจไม่เหมือนกัน คำว่าวัฒนธรรมทางการเมืองมีผู้ให้นิยามไว้ดังนี้
Lucain W. Pye ได้ให้นิยามว่า "วัฒนธรรมทางการเมือง คือแบบแผนของทัศนคติ ความเชื่อสภาวะอารมณ์ ความรู้สึกซึ่งเป็นสิ่งที่สั่งการ และมีความหมายต่อกระบวนการทางการเมือง เป็นกรอบของพฤติกรรมของระบบการเมืองนั้นๆ ส่วนประกอบของวัฒนธรีรมทางการเมืองมีทั้งอุดมคติทางการเมือง และปทัสถาน ในการดำเนินการของระบบการเมือง กล่าวอีกนัยหนึ่ง วัฒนธรรมทางการเมือง คือ รูปแบบของมิติทางจิตวิทยา และอัตวิสัยของการเมืองที่ปรากฎอยู่ในระบบการเมืองแต่ละระบบ"......
Jarol B. Manheim ได้ให้นิยามว่า "วัฒนธรรมทางการเมือง คือแบบแผนของความเชื่อและทัีศนคติร่วมที่เกี่ยวกับเป้าหมายอันเดียวกันและการประเมินค่าที่เหมือนกัน ตลอดจนการมีความเห็นพ้องต้องกัน อันเป็นผลจากการที่ได้รับประสบการณ์ทางประวัติศาสตร์เดียวกัน"
Gabriel A Almond & G" Binghsm Powell Jr. ได้ให้นิยามว่า "เป็นแบบแผนทัศนคติ และความโน้มเอียงต่อการเมืองของบุคคลแต่ละคนที่เป็นสมาชิกของระบบการเมืองใดๆ แบบแผนของทัศนคติและความโน้มเอียงนีเป็นเรื่องเชิงอัตวิสัย ซึ่งเป็นฐานที่สำคัญอันก่อให้เกิดกิจกรรมทางการเมืองขึ้น ความโน้ามเอียงของบุคคลแต่ละคนนีจะเกี่ยวกับองค์ประกอบหลายอย่าง ได้แก่ ความโน้มเอียงทางการรับรู้ หมายถึง ความรู้เรื่องที่เกี่ยวกับยสรรพสิ่งหรือความเชื่อทางการเมืองซึ่งอาจจะถูกต้องหรือไม่ก็ได้ ความโน้มเอียงทางความรู้สึก หมายถึง ความรู้สึกเกี่ยวพัน เกี่ยวข้อง การยอมรับหรือไม่ยอมรับในสรรพสิ่งทางการเมือง และ ความโน้มเอียงทางการประเมินค่า หมายถึงการตีค่าและความคิดเห็นในสรรพสิ่งทางการเมือง ซึ่งมักจะมีการใช้มาตรการค่านิยมมาเกี่ยวข้องกับสรรพสิ่ง และเหตุการณ์ทางการเมือง"
Eric Rowe ได้ให้ความเห็นในลักษณะเดียวกันว่า วัฒนธรรมทางการเมืองเป็นแบบแผนอย่างหนึ่งของค่านิยม ความเชื่อ และทัศนคติด้านความรู้สึกทั้งหลายของบุคคลแตะละคน
Gabriel Almond& Jomes Coleman ได้สรุปไว้ว่า "วัฒนธรรมทางการเมือง หมายถึง ทรรศนะและความโน้มเอียงทางการเมืองที่คนมีต่อระบบและส่วนต่างๆ ของระบบการเมืองตลอดจนทัศนคติเกี่ยวกับบทบาทของตนเองที่มีในระบบการเมือง... ดังนั้น วัฒนธรรมทางการเมืองของชนชาตคิหนึ่งๆ ก็คือ ลักษณะทัศนคติและความโน้มเอียงในรูปแบบต่างๆ ของสมาชิกในสังคมที่มีต่อระบบแลฃะส่วนต่าง ๆ หรือกิจกรรมทางการเมืองซึ่งมีอยู่โดยทั่วๆ ไปในชาตินั้นๆ
Sidney Verba ได้ให้ความเห็นว่า วัฒนธรรมทางการเมือง หมายถึง "ระบบความเชื่อที่เกี่ยวกับแบบแผนของกิจกรรมทางการเมือง และสถาบันทางการเมืองไม่ได้หมายถึง สิ่งต่างๆ ทางการเมืองที่เกิดขึ้นทั้งมวล แต่หมายถึงสิ่งที่ประชนเชื่อในสิ่งที่เกิดขึ้น ซึ่งความเชื่อเหล่านี้อาจจะอยู่ในหลายลักษณะ เช่นควยามเชื่อในแง่ประจักษ์ในวิถีชีวิตที่เป็นจริงในทางการเมือง หรืออาจจะเป็นความเชื่อในเป้าหมาย หรือคึ่านิยมซึ่งควรจะเข้ามาใช้ปฏิบัติก็เป็นได้"
Milton Yinger ได้สรุปไว้ว่า วัฒนธรรมทางการเมือง หมายถึง ทัศนคติและการอบรมที่บุคคลแต่ละคนได้รับจากระบบการเมืองนั้น ซึ่งประกอบด้วย ความรู้สึกนิยมหรือไม่นิยมในระบบการเมืองและการประเมินค่าต่อเหตุการณ์ทางการเมือง
อาจสรุปได้ว่าวัฒนธรรมทางการเมืองหมายถึงแบบแผนของทัศนคติ หรือความโน้มเอียงทางความเชื่อ และค่านิยมของบุคคลที่พึงมีต่อระบบการเมืองและส่วนต่าง ที่ประกอบเป็นระบบการเมืองซึ่งสิงเหล่านี้จะเป็นปัจจัยที่สำคัญในการกำหนดพฤติกรรมทางการเมืองของบุคคลในระบบการเมืองนั้นๆ ด้วย
และความโน้มเอียงทางความเชื่อนี้ Almond & Verba ได้ให้รายละเอียดไว้ว่า หมายถึง "ประเด็นที่อยู่ภายในของสิ่งใดๆ ตลอดจนความสัมพันธ์ด้วย" ความโน้มเอียงนี้ประกอบไปด้วย
- ความโน้มเอียงทางการการรับรู้ นั่นคือ ความรู้และความเชื่อเกี่ยวกับระบบการเมืองบทบาทตลอดจนอิทธิพลของบทบาท ปัจจัยนำเข้าและปัจจัยที่ออกนอกระบบ เช่นรู้ว่าระบอบประชาธิปไตยมีการเลือกตั้งฯ
- ความโน้มเอียงทางความรู้สึก หมายถึง ความพึงพอใจต่อระบบการเมืองที่เป็น บทบาท บุคลากร ตลอดจนการดำเนินงานต่าง ๆ เช่น รู้สึกไม่พึงพอใจในการทำงานของนายดรัฐมนตรี
- ความโน้มเอียงทางการประเมินค่า หมายถึง การตีค่าและความเหนเกี่ยวกับสรรพสิ่งทางการเมือง ซึ่งปกติจะเกี่ยวพันกับมาตรฐานค่านิยมรวกับ ข่าวสารและความรู้สึกของบุคคล เช่น เห็นว่ารัฐมนตรีกระทรวงพาณิชย์ควรจะเด็ดขาดกว่าที่เป็นอยู่
ในการที่จะทราบได้ว่า ความโน้มเอียงทางการเมืองของบุคคลแต่ละคนจะเป็นอย่างไรนั้น เราอาจดูได้จากปัจจัยหลัก 4 ประการ คือ บุคคลนั้นมีความรู้เกี่ยวกับประเทศชาติ และระบบการเมืองในแง่ทั่วๆ ไปอย่างไร รู้ประวัติศาสตร์ ขนาดของประเทศ ที่ตั้ง อำนาจลักษณะของรูปการปกครองอย่างไร,ประการที่สอง บุคคลนั้นมีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างแลบทบาทางการเมืองของผู้นำทางการเมืองอย่างไ รู้เกี่ยวกับยกร่างนโยบายอย่างไร และมความรู้สึกหรือความเห็นต่อโครงสร้างผู้นำและยกร่างนโยบายอย่างไร, ประการที่สาม บุคคลนั้น มีความรู้เกี่ยวกับการบังคับใช้นโยบาย โครงสร้างบุคคล ตลอดจนกระบวนการในการตัดสินนโยบายอย่างไร บุคคลมีความรู้สึกและความเห็นต่อประเด็นเหล่านี้อย่างไร, ประการที่สี่ บุคคลนั้นมองตนเองในฐานะที่เป็นสมาชิกของระบบการเมืองอย่างไร มีความรู้เกี่ยวกับสิทธิ อำนาจ พันธกรณี และกลยุทธ์ในการที่จะเข้าไปมีอิทธิพลต่อการตัดสินนโยบายอย่างไร มีความรู้สึกและสามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองอย่างไร
ความโน้มเอียงทางการเมืองของบุคคลแต่ละคนที่พึงมีต่อปัจจัยหลักทั้ง 4 ประการนี้เองจะนำไปสู่การจัดประเภทของวัฒนธรรมทางการเมือง ดังที่เราจะได้กล่าวต่อไป
ประเภทของวัฒนธรรมทางการเมือง Almond & Verba ได้จำแนกวัฒนธรรมทางการเมืองตามลักษณะของแนวโน้มทางการเมืองออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ วัฒนธรรมทางการเมืองแบบดังเดิม (Parochial Political Culture), วัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟ้า (Subject Political Culture), วัฒนธรรมทางการเมืองแบบเข้ามีส่วนร่วม (Participant Political Culture)
1. วัฒนธรรมการเมืองแบบดั้งเดิม เป็นวัฒนธรรมทางการเมืองของสังคมดั้งเดิม เช่น สังคมเผ่าในอัฟริกา ซึ่งเป็นสังคมที่ไม่มีบทบาททางการเมืองในลักษณะของความชำนาญเฉพาะด้านกล่าวคือ หัวหน้าเผ่าคงวมีบทบาทที่เหลื่อมล้ำกันอยู่ทั้งทางเศรษฐกิจ การเมืองและทางศาสนา และสังคมได้ ฉะนั้นเราจึงพบว่า ความรู้ ความเข้าใจ และความผูกพันที่คนพึงมีต่อระบบการเมืองโดยทั่วๆ ไปจึงไม่มี เช่น ไม่รู้ว่าใครเป็นนายกรัฐมนตรี ไม่รู้ถึงระบอบการปกครองที่เป็นอยู่ ไม่เรียกร้องต่อระบบการเมือง ไม่รู้จักกฎเกณฑ์หรือนโยบายใดๆ
2. วัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟ้า ในสังคมที่มี่ลักษณะของวัฒนธรรมทางการเมืองแบบนี้ สมาชิกของสังคมจะมีความรู้ ความเข้าใจ ในระบบการเมืองโดยทั่วๆ ไป เช่น รู้ว่าใครเป็นนายกรัฐมนตรี ระบอบการปกครองที่เป็นอยู่เป็นระบอบประชาธิปไตย ในขณะเดียวกัน พวกนี้จะยอมรับอำนาจรัฐ เคารพเชื่อฟังและปฏิบัติตามกฏหมาย แต่พวกนี้จะไม่เรียกร้อง ไม่เข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมือง โดยถือว่าตนเองกับการเมืองอยู่คนละโลก การเมืองเป็ฯเรื่องของผู้มีอำนาจหรือมีบารมี ส่วนตนเป็ฯเพียงประชาชนซึค่งอยู่ใต้การบังคับบัญชา และมีหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติตามคำสั่งหรือนโยบายเท่านั้น
3. วัฒนธรรมทางการเมืองแบบเข้ามีส่วนร่วม หมายถึง วัฒนธรรมทางการเมืองของสังคมที่บรรดาสมาชิกต่างมีความรู้ ความเข้าใจ มีความผูกพันต่อระบบการเมือง พวกนี้จะเรียกร้องหรือเข้าไปมีส่วนร่วมในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้ระบบการเมืองสนองตอบต่อการความต้องการของพวกเขานั้นคือ คนในสังคมนี้จะมีความรู้สึกว่าเขาสามารถที่จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางการเมืองได้ นอกจากนี้ พวกนี้ยังรู้และเข้าในใจกฎเกณฑ์และนโยบายต่างๆ เป็นอย่างดี
อย่างไรก็ตาม ในความเป็นจริง ทุกๆ สังคมจะประกอบไปด้วยลักษณะวัฒนธรรมทางการเมืองทั้ง 3 ประเภทผสมปนเปอยู่ด้วยกันในระดับที่แตกต่างกันไ ปซึ่งลักษณะวัฒนธรรมทางการเมืองแบบผสมนี้ สรุปได้ดังนี้
- วัฒนธรรมทางการเมืองแบบดั้งเดิมผสมไพร่ฟ้า หมายถึง วัฒนธรรมทางการเมืองของสังคมที่คนส่วนใหญ่ไม่ยอมรับอำนาจของเผ่าหมู่บ้านหรือเจ้าของที่ดินอีกต่อไป แต่กลับมาให้ความภักดีต่อระบบการเมืองที่สลับซับซ้อนกว่าเดิม โดยมีรัฐบาลกลางเป็นผู้กุมอำนาจ พวกนี้ยังคงไม่สนใจที่จะเรียกร้องหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใด ลักษณะของการผสมกันระหว่างสองวัฒนธรรมนี้ ในบลางประเทศอาจให้สัดส่วนของแบบดั้งเดิมมากกว่าแบบไพร่ฟ้า แต่ในอีกประเทศอาจตรงข้ามกัน
- วัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟ้าปสมแบบเข้ามีส่วนร่วม เป็นวัฒนธรรมทางการเมืองในสังคมที่มีสมาชิกบ้างส่วนเริ่มเรียกร้อง และเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองและเริ่มมองว่าตนเองมีความสามารถที่จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองได้ แต่ก็มีประชาชนอีกจำนวนหนึ่งที่ไม่กระตือรือล้นที่จะเข้าไปมีส่วนร่วม และยังคงยอมรับในอำนาจรัฐโดยปราศจากเงื่อนไข และเนื่องจากวัฒนธรรมทางการเมืองแบบเข้ามีส่วนร่วม มักจะแพร่หลายในหมู่คนส่วนน้อยของสังคมจึงมักจะถูกบีบคั้และท้าทาย จากวัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟ้า และจากระบบอำนาจนิยมเป็นผลให้ประชาชนที่มีแนวโน้มที่จะยอมรับในวัฒนธรรมทางการเมืองแบบนี้ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง และไม่สามรถที่จะดำเนินการใดๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในระยะแรกของสังคมที่มีวัฒนธรรมทางการเมืองแบบผสมนี้ เขาเอาระบอบประชาธิปไตยมาใช้ สังคมจะไร้เสถียรภาพแต่ในระยะยาว ถ้ามีการสร้างองค์กรหรือสถาบันต่างๆ ขึ้นมารองรับ เช่น พรรคการเมืองก็ดีหลุ่มผลประโยชน์ก็ดี หรือหนังสือพิมพ์ก็ดี จะยังผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในลักษณะของวัฒนธรรมทาการเมืองแบบไพร่ฟ้า ซึ่งอาจจะทำให้ระบอบประชาธิปไตยยืนยงอยู่ได้
- วัฒนธรรมทางการเมืองแบบดั้งเดิมผสมแบบเข้ามีส่วนร่วม หมายถึงวัฒนธรรมทางการเมืองของสังคมที่ประชาชนส่วนใหญ่ยังคมทีความจงรักภักดีอย่างแน่่นแฟ้นต่อเผ่าหรือกลุ่มเชื้อชาติ เมื่อวัฒนธรรมทางการเมืองแบบเข้ามีส่วนร่วม เข้ามมามีบทบาทในสังคม คนก็จะยอมรับเอาไว้ส่วนหนึ่ง แต่ทั้งนี้ก็คงอยู่ภายใต้อิทธิพลของแบบดั้งเดิม กล่าวคือ คนจะหวังเข้าไปมีส่วนร่วมเพื่อผลประโยชน์เฉพาะตัว หรือเฉพาะกลุ่มเชื่อชาติ ไม่มีการยึดหยุ่นประนีประนอมในระหว่างกลุ่มที่แตกต่างกัน ความขัดแย้งในสังคมเหล่านี้จึงมีอยู่มาก
อย่างไรก็ตามวัฒนธรรมทางการเมืองแบบเข้ามีส่วนร่วมนั้น เป็นวัฒนธรรมที่เอื้ออำนวยต่อระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ซึ่งถ้าเรามองการตามความหมายแล้ว การมีส่วนร่วมลักษะนี้อยู่ในรุปของอารมณ์ปราศจากเหตุผลทำไปโดยความชอบหรือความเกลี่ยดส่วนตัว Almond และ Verba จึงเสนอวัฒนธรรมทางการเมืองแบบผสม ในอีกรูปแบบหนึ่งซึ่งเขาเรียกว่า Civic culture ระบบการเมืองที่มีวัฒนธรรมทางการเมืองแบบนี้จะเน้นที่การเข้ามีส่วนร่วมอย่างกระตือรือล้นและมีเหตุผล นอกจากนี้ยังผสมกับวัฒนธรรมทางการเมืองแบบ civic จะมีลักษณะร่วม 2 ประการโดยสรุปคือ มีความสามารถในการเป็นผู้อยู่ใต้ปกครองที่ดี และ มีความสามารถในการเป็นราษฎรที่ดี หรือการมีส่วนร่วมอย่างมีเหตุผล
วัฒนธรรมทางการเมือง เป็นตัวแปรที่สำคัญของแต่ละประเทศที่จะทำให้ประเทศนั้น ๆ ม่ีเสถียรภาพทางการเมือง แม้จะเป็นประเทศที่มีระบอบการปกครองเหมือนกัน มีระบบโครงสร้างเหมือนกันแต่เสถียรภาพทางการเมืองอาจไม่เหมือนกัน คำว่าวัฒนธรรมทางการเมืองมีผู้ให้นิยามไว้ดังนี้
Lucain W. Pye ได้ให้นิยามว่า "วัฒนธรรมทางการเมือง คือแบบแผนของทัศนคติ ความเชื่อสภาวะอารมณ์ ความรู้สึกซึ่งเป็นสิ่งที่สั่งการ และมีความหมายต่อกระบวนการทางการเมือง เป็นกรอบของพฤติกรรมของระบบการเมืองนั้นๆ ส่วนประกอบของวัฒนธรีรมทางการเมืองมีทั้งอุดมคติทางการเมือง และปทัสถาน ในการดำเนินการของระบบการเมือง กล่าวอีกนัยหนึ่ง วัฒนธรรมทางการเมือง คือ รูปแบบของมิติทางจิตวิทยา และอัตวิสัยของการเมืองที่ปรากฎอยู่ในระบบการเมืองแต่ละระบบ"......
Jarol B. Manheim ได้ให้นิยามว่า "วัฒนธรรมทางการเมือง คือแบบแผนของความเชื่อและทัีศนคติร่วมที่เกี่ยวกับเป้าหมายอันเดียวกันและการประเมินค่าที่เหมือนกัน ตลอดจนการมีความเห็นพ้องต้องกัน อันเป็นผลจากการที่ได้รับประสบการณ์ทางประวัติศาสตร์เดียวกัน"
Gabriel A Almond & G" Binghsm Powell Jr. ได้ให้นิยามว่า "เป็นแบบแผนทัศนคติ และความโน้มเอียงต่อการเมืองของบุคคลแต่ละคนที่เป็นสมาชิกของระบบการเมืองใดๆ แบบแผนของทัศนคติและความโน้มเอียงนีเป็นเรื่องเชิงอัตวิสัย ซึ่งเป็นฐานที่สำคัญอันก่อให้เกิดกิจกรรมทางการเมืองขึ้น ความโน้ามเอียงของบุคคลแต่ละคนนีจะเกี่ยวกับองค์ประกอบหลายอย่าง ได้แก่ ความโน้มเอียงทางการรับรู้ หมายถึง ความรู้เรื่องที่เกี่ยวกับยสรรพสิ่งหรือความเชื่อทางการเมืองซึ่งอาจจะถูกต้องหรือไม่ก็ได้ ความโน้มเอียงทางความรู้สึก หมายถึง ความรู้สึกเกี่ยวพัน เกี่ยวข้อง การยอมรับหรือไม่ยอมรับในสรรพสิ่งทางการเมือง และ ความโน้มเอียงทางการประเมินค่า หมายถึงการตีค่าและความคิดเห็นในสรรพสิ่งทางการเมือง ซึ่งมักจะมีการใช้มาตรการค่านิยมมาเกี่ยวข้องกับสรรพสิ่ง และเหตุการณ์ทางการเมือง"
Eric Rowe ได้ให้ความเห็นในลักษณะเดียวกันว่า วัฒนธรรมทางการเมืองเป็นแบบแผนอย่างหนึ่งของค่านิยม ความเชื่อ และทัศนคติด้านความรู้สึกทั้งหลายของบุคคลแตะละคน
Gabriel Almond& Jomes Coleman ได้สรุปไว้ว่า "วัฒนธรรมทางการเมือง หมายถึง ทรรศนะและความโน้มเอียงทางการเมืองที่คนมีต่อระบบและส่วนต่างๆ ของระบบการเมืองตลอดจนทัศนคติเกี่ยวกับบทบาทของตนเองที่มีในระบบการเมือง... ดังนั้น วัฒนธรรมทางการเมืองของชนชาตคิหนึ่งๆ ก็คือ ลักษณะทัศนคติและความโน้มเอียงในรูปแบบต่างๆ ของสมาชิกในสังคมที่มีต่อระบบแลฃะส่วนต่าง ๆ หรือกิจกรรมทางการเมืองซึ่งมีอยู่โดยทั่วๆ ไปในชาตินั้นๆ
Sidney Verba ได้ให้ความเห็นว่า วัฒนธรรมทางการเมือง หมายถึง "ระบบความเชื่อที่เกี่ยวกับแบบแผนของกิจกรรมทางการเมือง และสถาบันทางการเมืองไม่ได้หมายถึง สิ่งต่างๆ ทางการเมืองที่เกิดขึ้นทั้งมวล แต่หมายถึงสิ่งที่ประชนเชื่อในสิ่งที่เกิดขึ้น ซึ่งความเชื่อเหล่านี้อาจจะอยู่ในหลายลักษณะ เช่นควยามเชื่อในแง่ประจักษ์ในวิถีชีวิตที่เป็นจริงในทางการเมือง หรืออาจจะเป็นความเชื่อในเป้าหมาย หรือคึ่านิยมซึ่งควรจะเข้ามาใช้ปฏิบัติก็เป็นได้"
Milton Yinger ได้สรุปไว้ว่า วัฒนธรรมทางการเมือง หมายถึง ทัศนคติและการอบรมที่บุคคลแต่ละคนได้รับจากระบบการเมืองนั้น ซึ่งประกอบด้วย ความรู้สึกนิยมหรือไม่นิยมในระบบการเมืองและการประเมินค่าต่อเหตุการณ์ทางการเมือง
อาจสรุปได้ว่าวัฒนธรรมทางการเมืองหมายถึงแบบแผนของทัศนคติ หรือความโน้มเอียงทางความเชื่อ และค่านิยมของบุคคลที่พึงมีต่อระบบการเมืองและส่วนต่าง ที่ประกอบเป็นระบบการเมืองซึ่งสิงเหล่านี้จะเป็นปัจจัยที่สำคัญในการกำหนดพฤติกรรมทางการเมืองของบุคคลในระบบการเมืองนั้นๆ ด้วย
และความโน้มเอียงทางความเชื่อนี้ Almond & Verba ได้ให้รายละเอียดไว้ว่า หมายถึง "ประเด็นที่อยู่ภายในของสิ่งใดๆ ตลอดจนความสัมพันธ์ด้วย" ความโน้มเอียงนี้ประกอบไปด้วย
- ความโน้มเอียงทางการการรับรู้ นั่นคือ ความรู้และความเชื่อเกี่ยวกับระบบการเมืองบทบาทตลอดจนอิทธิพลของบทบาท ปัจจัยนำเข้าและปัจจัยที่ออกนอกระบบ เช่นรู้ว่าระบอบประชาธิปไตยมีการเลือกตั้งฯ
- ความโน้มเอียงทางความรู้สึก หมายถึง ความพึงพอใจต่อระบบการเมืองที่เป็น บทบาท บุคลากร ตลอดจนการดำเนินงานต่าง ๆ เช่น รู้สึกไม่พึงพอใจในการทำงานของนายดรัฐมนตรี
- ความโน้มเอียงทางการประเมินค่า หมายถึง การตีค่าและความเหนเกี่ยวกับสรรพสิ่งทางการเมือง ซึ่งปกติจะเกี่ยวพันกับมาตรฐานค่านิยมรวกับ ข่าวสารและความรู้สึกของบุคคล เช่น เห็นว่ารัฐมนตรีกระทรวงพาณิชย์ควรจะเด็ดขาดกว่าที่เป็นอยู่
ในการที่จะทราบได้ว่า ความโน้มเอียงทางการเมืองของบุคคลแต่ละคนจะเป็นอย่างไรนั้น เราอาจดูได้จากปัจจัยหลัก 4 ประการ คือ บุคคลนั้นมีความรู้เกี่ยวกับประเทศชาติ และระบบการเมืองในแง่ทั่วๆ ไปอย่างไร รู้ประวัติศาสตร์ ขนาดของประเทศ ที่ตั้ง อำนาจลักษณะของรูปการปกครองอย่างไร,ประการที่สอง บุคคลนั้นมีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างแลบทบาทางการเมืองของผู้นำทางการเมืองอย่างไ รู้เกี่ยวกับยกร่างนโยบายอย่างไร และมความรู้สึกหรือความเห็นต่อโครงสร้างผู้นำและยกร่างนโยบายอย่างไร, ประการที่สาม บุคคลนั้น มีความรู้เกี่ยวกับการบังคับใช้นโยบาย โครงสร้างบุคคล ตลอดจนกระบวนการในการตัดสินนโยบายอย่างไร บุคคลมีความรู้สึกและความเห็นต่อประเด็นเหล่านี้อย่างไร, ประการที่สี่ บุคคลนั้นมองตนเองในฐานะที่เป็นสมาชิกของระบบการเมืองอย่างไร มีความรู้เกี่ยวกับสิทธิ อำนาจ พันธกรณี และกลยุทธ์ในการที่จะเข้าไปมีอิทธิพลต่อการตัดสินนโยบายอย่างไร มีความรู้สึกและสามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองอย่างไร
ความโน้มเอียงทางการเมืองของบุคคลแต่ละคนที่พึงมีต่อปัจจัยหลักทั้ง 4 ประการนี้เองจะนำไปสู่การจัดประเภทของวัฒนธรรมทางการเมือง ดังที่เราจะได้กล่าวต่อไป
ประเภทของวัฒนธรรมทางการเมือง Almond & Verba ได้จำแนกวัฒนธรรมทางการเมืองตามลักษณะของแนวโน้มทางการเมืองออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ วัฒนธรรมทางการเมืองแบบดังเดิม (Parochial Political Culture), วัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟ้า (Subject Political Culture), วัฒนธรรมทางการเมืองแบบเข้ามีส่วนร่วม (Participant Political Culture)
1. วัฒนธรรมการเมืองแบบดั้งเดิม เป็นวัฒนธรรมทางการเมืองของสังคมดั้งเดิม เช่น สังคมเผ่าในอัฟริกา ซึ่งเป็นสังคมที่ไม่มีบทบาททางการเมืองในลักษณะของความชำนาญเฉพาะด้านกล่าวคือ หัวหน้าเผ่าคงวมีบทบาทที่เหลื่อมล้ำกันอยู่ทั้งทางเศรษฐกิจ การเมืองและทางศาสนา และสังคมได้ ฉะนั้นเราจึงพบว่า ความรู้ ความเข้าใจ และความผูกพันที่คนพึงมีต่อระบบการเมืองโดยทั่วๆ ไปจึงไม่มี เช่น ไม่รู้ว่าใครเป็นนายกรัฐมนตรี ไม่รู้ถึงระบอบการปกครองที่เป็นอยู่ ไม่เรียกร้องต่อระบบการเมือง ไม่รู้จักกฎเกณฑ์หรือนโยบายใดๆ
2. วัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟ้า ในสังคมที่มี่ลักษณะของวัฒนธรรมทางการเมืองแบบนี้ สมาชิกของสังคมจะมีความรู้ ความเข้าใจ ในระบบการเมืองโดยทั่วๆ ไป เช่น รู้ว่าใครเป็นนายกรัฐมนตรี ระบอบการปกครองที่เป็นอยู่เป็นระบอบประชาธิปไตย ในขณะเดียวกัน พวกนี้จะยอมรับอำนาจรัฐ เคารพเชื่อฟังและปฏิบัติตามกฏหมาย แต่พวกนี้จะไม่เรียกร้อง ไม่เข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมือง โดยถือว่าตนเองกับการเมืองอยู่คนละโลก การเมืองเป็ฯเรื่องของผู้มีอำนาจหรือมีบารมี ส่วนตนเป็ฯเพียงประชาชนซึค่งอยู่ใต้การบังคับบัญชา และมีหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติตามคำสั่งหรือนโยบายเท่านั้น
3. วัฒนธรรมทางการเมืองแบบเข้ามีส่วนร่วม หมายถึง วัฒนธรรมทางการเมืองของสังคมที่บรรดาสมาชิกต่างมีความรู้ ความเข้าใจ มีความผูกพันต่อระบบการเมือง พวกนี้จะเรียกร้องหรือเข้าไปมีส่วนร่วมในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้ระบบการเมืองสนองตอบต่อการความต้องการของพวกเขานั้นคือ คนในสังคมนี้จะมีความรู้สึกว่าเขาสามารถที่จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางการเมืองได้ นอกจากนี้ พวกนี้ยังรู้และเข้าในใจกฎเกณฑ์และนโยบายต่างๆ เป็นอย่างดี
อย่างไรก็ตาม ในความเป็นจริง ทุกๆ สังคมจะประกอบไปด้วยลักษณะวัฒนธรรมทางการเมืองทั้ง 3 ประเภทผสมปนเปอยู่ด้วยกันในระดับที่แตกต่างกันไ ปซึ่งลักษณะวัฒนธรรมทางการเมืองแบบผสมนี้ สรุปได้ดังนี้
- วัฒนธรรมทางการเมืองแบบดั้งเดิมผสมไพร่ฟ้า หมายถึง วัฒนธรรมทางการเมืองของสังคมที่คนส่วนใหญ่ไม่ยอมรับอำนาจของเผ่าหมู่บ้านหรือเจ้าของที่ดินอีกต่อไป แต่กลับมาให้ความภักดีต่อระบบการเมืองที่สลับซับซ้อนกว่าเดิม โดยมีรัฐบาลกลางเป็นผู้กุมอำนาจ พวกนี้ยังคงไม่สนใจที่จะเรียกร้องหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใด ลักษณะของการผสมกันระหว่างสองวัฒนธรรมนี้ ในบลางประเทศอาจให้สัดส่วนของแบบดั้งเดิมมากกว่าแบบไพร่ฟ้า แต่ในอีกประเทศอาจตรงข้ามกัน
- วัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟ้าปสมแบบเข้ามีส่วนร่วม เป็นวัฒนธรรมทางการเมืองในสังคมที่มีสมาชิกบ้างส่วนเริ่มเรียกร้อง และเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองและเริ่มมองว่าตนเองมีความสามารถที่จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองได้ แต่ก็มีประชาชนอีกจำนวนหนึ่งที่ไม่กระตือรือล้นที่จะเข้าไปมีส่วนร่วม และยังคงยอมรับในอำนาจรัฐโดยปราศจากเงื่อนไข และเนื่องจากวัฒนธรรมทางการเมืองแบบเข้ามีส่วนร่วม มักจะแพร่หลายในหมู่คนส่วนน้อยของสังคมจึงมักจะถูกบีบคั้และท้าทาย จากวัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟ้า และจากระบบอำนาจนิยมเป็นผลให้ประชาชนที่มีแนวโน้มที่จะยอมรับในวัฒนธรรมทางการเมืองแบบนี้ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง และไม่สามรถที่จะดำเนินการใดๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในระยะแรกของสังคมที่มีวัฒนธรรมทางการเมืองแบบผสมนี้ เขาเอาระบอบประชาธิปไตยมาใช้ สังคมจะไร้เสถียรภาพแต่ในระยะยาว ถ้ามีการสร้างองค์กรหรือสถาบันต่างๆ ขึ้นมารองรับ เช่น พรรคการเมืองก็ดีหลุ่มผลประโยชน์ก็ดี หรือหนังสือพิมพ์ก็ดี จะยังผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในลักษณะของวัฒนธรรมทาการเมืองแบบไพร่ฟ้า ซึ่งอาจจะทำให้ระบอบประชาธิปไตยยืนยงอยู่ได้
- วัฒนธรรมทางการเมืองแบบดั้งเดิมผสมแบบเข้ามีส่วนร่วม หมายถึงวัฒนธรรมทางการเมืองของสังคมที่ประชาชนส่วนใหญ่ยังคมทีความจงรักภักดีอย่างแน่่นแฟ้นต่อเผ่าหรือกลุ่มเชื้อชาติ เมื่อวัฒนธรรมทางการเมืองแบบเข้ามีส่วนร่วม เข้ามมามีบทบาทในสังคม คนก็จะยอมรับเอาไว้ส่วนหนึ่ง แต่ทั้งนี้ก็คงอยู่ภายใต้อิทธิพลของแบบดั้งเดิม กล่าวคือ คนจะหวังเข้าไปมีส่วนร่วมเพื่อผลประโยชน์เฉพาะตัว หรือเฉพาะกลุ่มเชื่อชาติ ไม่มีการยึดหยุ่นประนีประนอมในระหว่างกลุ่มที่แตกต่างกัน ความขัดแย้งในสังคมเหล่านี้จึงมีอยู่มาก
อย่างไรก็ตามวัฒนธรรมทางการเมืองแบบเข้ามีส่วนร่วมนั้น เป็นวัฒนธรรมที่เอื้ออำนวยต่อระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ซึ่งถ้าเรามองการตามความหมายแล้ว การมีส่วนร่วมลักษะนี้อยู่ในรุปของอารมณ์ปราศจากเหตุผลทำไปโดยความชอบหรือความเกลี่ยดส่วนตัว Almond และ Verba จึงเสนอวัฒนธรรมทางการเมืองแบบผสม ในอีกรูปแบบหนึ่งซึ่งเขาเรียกว่า Civic culture ระบบการเมืองที่มีวัฒนธรรมทางการเมืองแบบนี้จะเน้นที่การเข้ามีส่วนร่วมอย่างกระตือรือล้นและมีเหตุผล นอกจากนี้ยังผสมกับวัฒนธรรมทางการเมืองแบบ civic จะมีลักษณะร่วม 2 ประการโดยสรุปคือ มีความสามารถในการเป็นผู้อยู่ใต้ปกครองที่ดี และ มีความสามารถในการเป็นราษฎรที่ดี หรือการมีส่วนร่วมอย่างมีเหตุผล
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...