ความมั่นคงแห่งชาติด้านการเมือง
ความหมาย
- ความมั่นคงแห่งชาติด้านการเมือง คือ สถานการณ์ทางการเมืองที่ทำให้ประชากรมีความเชื่อถือและศรัทธาต่อระบอบการปกครอง ต่อรัฐบาลผู้บริหารการปกครองประชาชร มีความเคารพเชื่อฟัง และยอมปฏิบัติตามนโยบายของรัฐบาล และปฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่รัฐบาล มีความเชื่อมั่นในรัฐบาลว่าจะสามารถสร้างความเป็นธรรมในหมู่ประชากร และสามารถป้องกันความแตกแยกระหว่างชนในชาติ สามารถรักาดินแดนให้ปลอดภัยจากการแบ่งแยกยึดครอง มีเอกภาพ และรักษาศักดิ์ศรีของชาติในวงการเมืองระหว่างประเทศ รัฐบาลมีความชอบธรรม สามารถบริหารประเทศ ได้อย่างมีประสิทธิผล มีอิสระปลอดจากอิทธิพล และกรบวนการในการดำเนินนโยบายของประเทศ ประชากร ดินแดน รัฐบาล อำนาจอธิปไตย ตลอดจนเสถียรภาพของประเทศ ปลอดจากการคุกคามทั้งภายในและภายนอกและปฏิบัติการภายใต้อิทธิพลของต่างประเทศ
- การเมืองคือแบบแผนของความสัมพันธ์ของมนุษย์ที่เกี่ยกับอำนาจและการปกครองและการใช้กำลังอำนาจเป็นประการสำคัญ
องค์ประกอบต่างๆ ที่เป็นพืนฐานของการเมืองไทยที่ควรรู้ และวิเคราะห์ผกระทบขององค์ประกอบต่างๆ เหล่านี้ต่อกระบวนการทางการเมืองของไทย และความมั่นคงของชาติ คือ รัฐธรรมนูญ สถาบันการเือง รัฐบาล รัฐสภา ข้าราชการ สื่อมวลชน กลุ่มอิทะิพลและกลุ่มผลประโยชน์ วัฒนธรรมทางการเมือง และการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน
ลักษณะวิชาการเมือง มีเนื้อหาเกี่ยวกับการบริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น การปฏิรูประบบราชการ การกระจายอำนาจ การตวรจราชการ การตรวจเงินแผ่นดิน การบริหารที่ดี การบริหารงานบุคคล การบริาหรแบบใหม่ งานนิติตบัญญัติ พรรคการเมือง การเลือกตั้ง งานตุลาการ องค์กรอิสระ อุดมการณ์ทางการเมือง การปกครอง คามเป็นชาตินิยม องค์กรระหว่างประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การทูต
เครื่องมือทางการเมือง การดำเนินการทางการทูตถือได้ว่าเป็นหัวของเครื่องมือทางการเมือง การทูตมีความเกี่ยวข้องกับการดำเนินการระหว่างรัฐบาลต่อรัฐบาลโดยตรงที่ว่าโดยตรงก็เนื่องจากการทูตสามารถสร้างความกดดันต่อเจ้าหน้าที่สำคัญๆ ของรัฐอื่นโดยตรงได้ นอกจากนั้นการทูตก็เป็นเครื่องมือซึ่งอาจใช้เทคนิคหล่ยๆ ประการ เช่น ทางด้านเศรษฐฏิจ จิตวิทยาห หรือแม้แต่การทหาร เพื่อกดันรัฐเป้าหมายได้ด้วย
ความสัมพันธ์กับพลังอำนาจของชาติด้านอื่น
- ปัจจัยภายนอกประเทศมีความสำคัญต่อการกำหนดแนวนโยบายต่างประเทศของประเทศหสึ่งให้สอดคล้องกับสภาวะทางการเมืองระหว่างประเทศในขณะใดขณะหนึ่งอย่างไร การตัดสินใจของคณะผู้กำหนดนโยบายหรือของตัวผุ้นำอาจต้องอาศัยปัจจัยอื่นๆ การกำหนดนโยบายต่างประเทศนั้นต้องยึคดผลประโยชน์แห่งชาติเป็นหลัก การกำหนดนโยบายต่างประเทศนั้นขขึ้นอยุู่กับขีดความสามารถของชาติ คือกำลงอำนาจของชาติ ในด้านการเมือง ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมจิตวิทยาและด้านการทหาร
- เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการด้านการเมืองระหว่างประเทศ ประกอบด้วย
เครื่องมือทางการเมืองและการทูต เป็ฯเครื่องมือที่ใช้กันอยู่โดยทั่วไปการใช้มักพยายามใ้กลวิีหลายประการเข้ามาประกอบเพื่อทำให้ประเทศคุ่เจรจาหรืออีกฝ่ายใหนการลงความเห็น ลงคะแนนเสียง หรือดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามความต้องการของฝ่ายตน
เครื่องมือทางเศรษฐกิจ อาจหมายถึง การค้าขาย การให้ความช่วยเหลือทางด้านเศรษฐฏิจ โดยใช้พลานะภาพทางเศรษฐกิจที่ตนมีอยู่เป็นเครื่องมือให้ประเทศที่ด้อยกว่าทางด้านเศรษบกิจตกอยู่ายใต้อิทะิพลของตนได้
เครื่องมือทางจิตวิทยา ได้แก่ การโฆษณาจูงใจ การทำสงคราม จิตวิทยา เป้าหมาย คือ ควาพยายามที่จะสร้างความรู้สึกและภาพพจน์ที่ดีเก่ยวกับประเทศตนให้เข้าใจแพร่หลายในหมู่ประชาช และผุ้นำของประเทศอื่นๆ
เครื่องมือทางการทหาร ถือเป็นเครื่องมือสำคัญที่สุดและมักใช้เป็นเครื่องมือสุดท้ายในการตัดสินข้อขัดแย้งระหว่างประเทศและช่วยรักษาผลประโยชน์ของประเทศตนไว้ เมื่อไม่สามารถจะตกลงกนได้ด้วยวิธีการเจรจาทางการทูต
เครื่องมือทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศนั้นๆ จะส่งผลโดยตรงต่อความมีเสถียรภาพของรัฐบาล ก่อให้เกิดความสัมพันธ์อันดีทางการเมืองกับประเทศต่างๆ
ปัจจัยการเมืองภายในประเทศ จะเป็นผู้จัดสรรทรัพยากรของประเทศทั้งงบประมาณ คน และทรัพยากรให้กับพลังอำนาจด้านเศรษฐฏิจ ด้านสังคมจิตวิทยา ด้านการทหารและด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี รวมทั้งเป็นผู้บริหารจัดการในภาพรวมของประเทศ..(คู่มือ ใช้เป็นแนวทางในการศึกษาตามหลักสูตร ของ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร 2553-2554,น.10 -12,)
การรวมกลุ่มระหว่างประเทศ เฮร์นศ์ บี ฮาส กล่าวว่า "การรวมกลุ่มเป็นกระบวนการที่ผุ้ใช้อำนาจทางการเมือง ที่มีอำนาจหน้าที่ในตำแหน่งต่างๆ ถูกชักนำให้เปลี่ยนผัน ความจงรักภักดี ความคาดหมายและกิจกรรมทางการเมืองไปสู่ศูนย์อำนาจแห่งใหม่ ซึ่งสถาบันหลังนี้ดำรงไว้ซึ่งอำนาจหน้าที่อยู่เหนือชาติรัฐที่มีอยู่แต่เดิม".. ลีออน เอน ลินด์เบิร์ก ยกตัวอย่าง การรวมกลุ่มเศรษฐกิจยุโรปโดยให้อรรถาธิบายความหายการรวมกลุ่มดังนี้
- กรรมวิธีที่ชาติหลายๆ ชาติเต็มใจสละเจตจำนงและความสามารถในการดำเนินนโยบายต่างประเทศ และนโยบายที่สำคัญบางประเภทภายในประเทศของตนไปสู่การตัดสินใจในนโยบายเลห่านั้นร่วมกัน หรือยินยอมมอบอำนาจกรรมวิธีในการตกลงใจของแต่ละชาติให้เป็นขององค์การศูนย์กลางแห่งใหม่ และ
- กรรมวิธีที่ผู้ใช้อำนาจทางการเมือง ในระดับต่างๆ ของชาติที่มารวมกลุ่ม ถูกชักจูงให้ผันแปรความคาดหมายและกิจกรรมทางการเมืองไปสู่ศูนย์กลางแห่งใหม่
ในกรณี มีการรวมกลุ่มเกิดขึ้นแล้ว ยังต้องคำนึงกันต่อไปว่ากลุ่มหรือองค์การระหว่างประเทศที่เกิดขึ้นนั้นจะดำเนินการไปได้ราบรื่นและก่อให้เกิดสันติภาพขึ้นมากน้อยเพียงใด แต่เป็นที่เชื่อกันได้อย่างแน่นอนว่าสิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นไม่ได้ ถ้าหากไม่ได้จัดให้มีการผสมผสานเข้ากันได้ระหว่างผลประโยชน์ของรัฐกับผลประโยชน์ขององค์การระหว่างประเทศ รวมทั้งการจัดระเบียบและให้อำนาจขององค์การระหว่างประเทศที่เป็นองค์การใหม่นั้นสอดคล้อง ต้องกันกับความต้องการส่วนรวมของรัฐมาชิก
ซึ่งจะเห็นได้ว่า สิ่งที่เข้ามาเกี่ยวข้องหรือเป็นปัจจัยต่อความมั่นคง แข็งแกร่งของการรวมกลุ่มห รือองค์การระวห่างประเทศนั้นได้แก่ ผลประโยชน์ อำนาจและอิทธิพลของรัฐสมาชิกของกลุ่มประเทศนั้นเอง และหากพิจารณาอย่างลึกซึ้งจะเห็นว่า การถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่างรัฐต่อรัฐจะบังเกิดผลเท่าเที่ยมกันได้ก็แต่โดยรัฐเหล่านนั้นมีความร่วมมือกันและตั้งอยู่บนพื้นฐานของการเกื้อหนุนกันด้วยความเป็นธรรมแต่หากฝ่ายหนึ่งฝ่านใดมีกิจกรรมไม่ว่าในทางใด ๆ เหนือกว่าอีกฝ่ายหนึ่งหรือได้รับประดยชน์ไปมากกว่าอีกฝ่าย ย่อมจะทำให้เการร่วมกลุ่มนี้ไม่มั่นคง แข็งแรง
"อำนาจรัฐ"อำนาจคือความสามารถในการที่จะเอาชนะอุสรรคต่างๆ แต่เพียงการที่รัฐใช้อำนาจของรัฐเพื่อชนะอุสรรคภายในรัฐของตน ก็ย่อมจะไม่กระทบหรือมีผลต่อรัฐอื่น แต่พฤติกรรมของรัฐที่ใช้อำนาจของรัฐเหนือกว่ารัฐอื่น และกระทำต่อรัฐที่มอำนาจรัฐน้อยกว่านั้น ทำให้ความหมายของคำว่าอำนาจของรัฐกลายเป็นความสามารถในการทำให้รัฐอื่นทำตามหรือยอมตามสิ่งที่ตนปรารถนา
การใช้ความสามารถในการทำให้รัฐอื่นกระทำตามหรือยอมทำตามสิ่งที่ตนปรารถนาได้นี้ก็คือการใช้อิทธิพล ฉะนั้น จึงถื่อได้ว่า "อิทธิพลเป็นส่วนประกอบอันดับแรกของความคิดเกี่ยวกับอำนาจ"
การที่รัฐสมาชิก กระทำต่อรัฐอื่นในกลุ่มรัฐสมาชิกโดยอาศัยอิทธิพลของรัฐไม่ว่าทางใดก็ตาม ผลกระทบที่เกิดจากรัฐอื่นนั้นยอ่มจขะมีขึ้นเป็นธรรมดา ท้งนี้ถือว่าเป็นไปตามทฤษฎีปฏิกริยาต่อกัน ในความร่วมมือระหว่างประเทศจะถึงระดับที่เรียกว่าเป็นการรวมกลุ่มระเทศขึ้นนั้น แมว่าโดยเจตนารมณ์ในเบื้องต้นรัฐสมาชิกประสงค์จะแสวงหานโยบายที่สอดคล้องกัีน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่งหนึค่งอย่างไดของกลุ่มประเทศนั้นก็ตาม แต่ในการศึกษาตามสภาพความเป็นจริง แล้วรัฐอื่นที่ถูกกระทำต่อย่อมจะเกิดปฏิกริยาตอบโต้ ในทางใดทางหนึ่ง เช่น การแข่งขัน การร่วมมือ การต่อรอง หรือความขัดแย้ง สภาวะการณ์ที่เกิดขึ้นเหล่านนี้เป็ฯส่ิงทีเกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ แม้ว่ารัฐผู้แสดงหรือผู้มีบทบาท ในกลุ่มประเทศที่รวมกันอยู่จะพยายามหลีกเลี่ยงหรือจะพยายามปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้ปฏิกิริยา เช่นที่กว่างแล้วลดน้อยลงก็ตาม ตามทฤษฎีปฏิกิริยาต่อกันนี้ยอมรับว่าปัจจัยภายนอกที่เกิดจากรัฐหนึ่งกระทำต่ออีกรัฐหนึ่งนั้นย่อมเกิดขึ้นได้เสมอ แม้รัฐที่รวงมกลุ่มหรืออยู่นอกกลุ่ม อย่างไรก็ตามการที่รัฐต่างๆ ยังมีความร่วมมือกันอยู่เนื่องจากรัฐบาลต่างๆ เหล่านั้นยังคงต้องการรักษาอำนาจและอิทธิพล รวมถึงความต้องการที่จะให้ได้มาซึ่งอำนาจและอิทธิพล
ดังนั้น ในพฤติกรรมระหว่างประเทศที่ผ่านมาจึงมีความพยายามที่จะรักษาอำนาจของรัฐหรือกลุ่มของรัฐให้อยู่ในลักษณะทัดเทียมกัน หรืออยู่ในลักษณะทัดเทียมกัน หรืออยู่ในลัษณะที่ได้ดุลยภาพ ซึ่ได้ก่อให้เกิดทฤษฎีดุลอำนาจ
อรุณ ภาณุพงศ์ ให้ความเห็นว่า "เรื่องของดุลแห่งอำนาจ เป็นเรื่องที่อยู่ในความสนใจมากที่สุดเรื่องหนึค่ง ทั้งของนักทฤษฎีด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และของผุ้ที่ปฏิบัติงานหรือเกี่ยวข้องกับงานด้านต่างประเทศ ทั้งของนักทฤษฎีด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และของผุ้ที่ปฏิบัติงานหรือเกี่ยวข้องกับงานด้านต่างประเทศ ทั้งนี้โดยความเชือ่ว่าดุลแห่งำนาจจะทำให้เกิดสันติภาพในความสัมพันะ์ระหว่างประเทศทั่วไป และทำให้เกิดความมั่นคงแห่งชาติ สำหรับผู้ที่สามารถจะปรับดุลแห่งอำนาจให้เป็นคุณแก่ตน..."
ดุลอำนาจมีความหมายที่ใช้กันอยู่ 2 ลักษณะที่แตกต่างกัน ความหมายแรกมองจากแง่ สภานะเชิงส่วนสัดของอำนาจว่ากระจายกันอย่างไร และอีกความหมายหนึ่ง มองดุลแห่งอำนาจในฐานทางปฏิบัติตามนโยบาย
การรวมกลุ่มอันเป็นความร่วมมือระหว่างประเทศตามทฤษฎีความมั่นคงร่วมกัน ศาสตราจารย์ โจเซฟ ไนย์ ให้ความเห็นว่า
" แนวความคิดในการรวมกลุ่มระหว่างประเทศ เมื่อจะต้องแยกพิจารณาในแง่ส่วนประกอบของรัฐแต่ละรัฐเพื่อจัดรวมขึ้นเป็นองค์กรระหว่างรัฐองค์กรใหม่แล้ว ก็อาจจะแยกออกได้เป็นการรวมกลุ่มในทางเศรษฐกิจ การรวมกลุ่มในทางสังคม และการรวมกลุ่มในทางการเมือง การรวมกลุ่มทั้งสามลักษณะนี้ ในทางปฏิบัติอาจจะแยกออกเป็นการรวมกลุ่มในเรื่องย่อยอื่น ๆ ที่อยุ่ในความสนใจร่วมกัน ในลักษณะที่หวังผลแน่นอนเป็นเรื่องๆ ไป"
วันศุกร์ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2560
วันพฤหัสบดีที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2560
Nation Security
แนวความคิดความมั่นคงโดยทั่วไป มีดังนี้
- ความมั่นคงแห่งชาติ แนวความคิดมุ่งเน้นในการดำเนินการที่ก่อให้เกิดความมั่นคง โดยอาศัยพลังอำนาจของชาติ เพราะพลังอำนาจของชาติจะเป็นเครื่องมือที่ใช้ในกาารพิทักษ์รักษาสิ่งสำคัญที่เปรียบเสมือนหัวใจของชาติ นั่นคือ ความมุ่งประสงค์ของชาติและผลประโยชน์ของชาติ ความมุ่งประสงค์ของและผลประโยชน์ของแต่ละชาติก็จะแตกต่างกันไปใแต่ละชาติ
- ความมั่นภายใน ซึ่งเกี่ยวพันโดยตรงกับความมั่นคงคงของชาติ โดยความมั่นคงภายในจะมุ่งเน้นไปในเรื่องของความมั่นคงภายในประเทศที่จะนำไปสู่ความมั่นคงของชาติในที่สุด
- ความมั่นคงของโลก เป็นเหมือนกับความมั่นคงของภูมิภาค แต่จะแตกต่างกันที่การรวมตัวกันเป็นกลุ่มที่ใหญ่ขึ้น คือทุกประเทศในโลกนี้ ซึ่งจะรวมความมั่นคงภายในแต่ละชาติและความมั่นคงของชาติแต่ละชาติ
- ความมั่นคงของสภาวะแวดล้อม เป็ฯแนวความคิดที่พยายามจะรักษาภาวะเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมภายในโลก เพื่อให้สังคมมนุษย์ยังคงอยู่ต่อไปภายในโลกนี้ร่วมกับธรรมชาติได้ การพิจารณาแนวความคิดนี้จะมองไปในอนาคต
โดยใช้หลักวิชาการทางวิทยาศาสตร สำหรับประเด็นสำคัญของความมั่นคงประเภทนี้ คือ ประเทศที่ก่อให้เกิดการทำลายสิงแวดล้อมมากมักจะเป็นประเทศมหาอำนาจ หรือ ประเทศที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจสูง ดังนั้น ความรับผิดชอบในการออกค่าใช้จ่ายในการรักษาสิ่งแวดล้อมจะต้องเป็นสัดส่วนที่แตกต่างกัน
- ความมั่นคงของบุคคล เป็นแนวความคิดที่หลายประเทศให้ความสนใจเป็นพิเศษ โดยเฉพาะอย่างยิง ประเด็นของสิทธิความเท่าเทียมกันของมนุษย์ โดยการดำเนินการเพื่อให้เกิดความมั่นคงวของมนุษย์นั้น จะต้องใช้พลังอำนาจของชาติในด้านต่างๆ มาเป็นเครื่่องมือจำนวนมากเพราะแต่ละบุคคลจะมีความมั่นคงได้ จะมีองค์ประกอบที่ต้องพิจารณาหลายประการเช่น สิทธิมนุษยชน คุณภาพชีวิต การศึกษา ฐานะทางการเงิน อนามัยชุมชน
ความมั่นคงของชาติส่งผลให้ประาชนมีความปลอดภัย สงบสุข ผู้ที่มีหน้าที่เีก่ยข้องในบล้านเมือง ได้มีการร่วมกันศึกษา หาแนวทางที่จะให้ชาติเกิดความมั่นคง เพื่อให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ซึ่งความมั่นคงของชาตินั้นขึ้นอยู่กับสิ่งต่างๆ ดังนี้
1. ความมั่นคงด้านการเมืองภายในประเทศ กระแสการเบ่งบานของประชาธิปไตยพร้อมกับความสามารถในการรับรุ้ข้อมูลข่าวสารของประชาชน อีกทั้งความเข้มแข็.ที่เพ่ิมขึ้นของประชาชนกลุ่มต่างๆ ในสังคมที่รวมตัวกัน กลุ่มเหล่านี้เรียกว่าประชาสังคม ความเข้มแข็งของกลุ่มประชาสังคมนี้ส่งผลให้เกิดความซับซ้อนในการดำเนินงานการเมืองภายในประเทศ อำนาจที่แท้จริงของปวงชนชาวไทยกำลังถูกนำกลับคืนมาสู่ประชาชนผู้เป็นเจ้าของอำนาจด้วยการเพ่ิมอำนาจในการถอดถอนผู้ที่ดำรงตำแหน่งทางการเมืองหลังจากที่ประชาชนได้ใช้อำนาจผ่านผู้แทนของเขาเหล่านั้นในอดีตผู้แทน ได้ใช้อำนาจอย่างละเลยความต้องการที่แท้จริงของประชาชน การมีบทบาทและการมีส่วนร่วมมากขึ้นของประชาชนในการปกครองประเทศ
2 . ความมีบทบาทขององค์กรเหนือรัฐ เช่น สหประชาชาติ สหภาพยุโรป องค์การค้าโลกฯ ได้เข้ามามีบทบาทต่อการดำเนินงานการเมืองของประเทศ ซึ่งในบางครั้งได้ส่งผลคาบเกี่ยวต่ออำนาจอธิปไตยของชาติ
3. ความมั่นคงด้านเศรษฐกิจ เช่นการทำความเข้าใจในรูปแบบธุรกิจแบบใหม่หรือธุรกิจออนไลน์จะช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน นำไปสู่ความมั่นคงแห่งชาติในที่สุด
4 . ความมั่นคงด้านสังคมจิตวิทยา การให้น้ำหนักระหว่างความสามารถ และ คุณธรรมจริยธรรม จะทำให้ประเทศเกิดความมั่นคงที่ยั่งยืน
5 . ความมั่นคงด้านการป้องกันประเทศ การปรับกองกำลังให้เหมาะสมกับสภานะการณ์ปัจจุบัน การหันมาใช้วิธีการทางการทูต เป็นต้น
6. ความมั่นคงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยีในด้านต่างๆ การจดสิทธิบัตรจำเป็นที่จะต้องมีความเข้าใจและกำหนดทิศทางเพื่อที่จะนำไปใช้กในการรักษาผลประโยชน์ของชาติเป็นต้น
7. ความมั่นคงด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สังคมแห่งการบริโภคตามลักษณะของทุนนิยมจะส่งผลกระทบอย่างรุนแรง และมีลักษณะเป็นลูกโซ่ ต่อสิ่งแวดล้อม และทรัพยกรธรรมชาติ
8. ความมั่นคงด้านสารสนเทศ สารสนเทศ หรือข้อมูลข่าวสาร กลายเป็นทรัพย์สินมีค่า ดังนั้น การป้องกันการลักลอบแก้ไขข้อมูล ป้องกันการขโมยข้อมูล การทำให้ข้อมูลพร้มอใช้งาน และอิทธิพลของการใช้สารสนเทศในการจัดการความเข้าใจ จะส่งผลกระทบต่อบุคคล หน่วยงาน และปรเทศได้ และนำมาซึ่งความมั่นคงในที่สุด
9 . ระบาดวิทยา การเกิดขึ้นของโรคระบาดใหม่ๆ ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ การควบคุมและป้องกันจึงมีผลต่อความมั่นคงของประเทศ
10. ความมั่นคงด้านการอพยพย้ายถิ่นฐาน ทั้งการย้ายถิ่นฐานจากชนบทเข้าสู่เมือง และการย้ายถิ่นข้ามประเทศ ที่เป็นปัญหาต่อความมั่นคงโดยตรงคือ แรงงานเถื่อน การค้ามนุษย์ ค้าแรงงาน เป็นต้น ส่วนปัญหารต่อความมั่นคงทางอ้อมคือ ปัญหาการนำพาเชื้อโรค ปัญหาอาชญกรรม เป็นต้น
11 . ความมั่นคงของมนุษย์ ที่ส่งผลต่อความมั่นคงของประเทศ เช่น ปัญหาการค้ามนุษย์ การด้อยการศึกษา ปัญหาความยากจน ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของคนทั้งประเทศ และส่งผลต่อขีดความามารถของประเทศในการแข่งขัน การยกระดับความมั่นคงมนุษย์จึงเป็นการช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และส่งผลต่อความมั่นคงของชาติ
12 . ความมั่นคงด้านอาชญากรรมข้ามชาติ ซึ่งเป็นภัยคุกคามรูปแบบหนึ่งต่อประเทศชาตินั้นๆ
13 . ความมั่นคงด้านพลังงาน การประหยัดพลังงานเป็นแนวทางซึ่งจะนำไปสู่ความมั่นคงของชาติ
14. ความมั่นคงด้านภัยพิบัติ ซึงส่งผลต่อความเสียหายทั้งชีวิต เศรษบกิจ การจัดการระบบ กระบวนการ และการดำเนินงานทางด้านแจ้งเตือนภัย ช่วยเหลือผู้ประสบภัย จะช่วยลดการสูญเสีย
15. ความมั่นคงด้านวัฒนธรรมและชาติพันธ์ุ ความเป็นรัฐ-ชาติในปัจจุบันกำลังเผชิญกับปัญหาของขาติพันธุ์ที่อาจสำไปสู่กาแตกเป็นประเทศเล็ก ดังจะเห็นได้จากหลายๆ ประเทศทั่วโลก
กฎหมายลักษณะพิเศษ
ในภาวะที่เกิดสภานการณ์ร้ายแรง หรือ ความไม่สงบเรียบร้อยของบ้านเมืองที่จะเป็นอันตรายต่อประเทศอันเป็นประโยชน์สาธารณะของของชาติอย่างร้ายแรงขึ้น เช่น สงคราม จลาจล กบฎ ภัยพิบัติ สาธารณะ เป็นต้น ในสถานการณ์เช่นนี ทุกประเทศต่างถือเป็นเรื่องสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเร่งรัดแก้ไขเพื่อรักษาไว้ซึ่งความมั่นคงของประเทศ หรือประโยชน์สารธารณะให้ยุติลง และฟื้นคืนกลับมาโดยเร็วที่สุด และยอมรับถึงความจำเป็นที่รั๘จะต้องมีอำนาจ เครื่องมือ สรรพกำลัง และอาวุธในการดำเนิการได้อย่างเต็มที่และเหมาะสม ซึ่งการใช้อำนาจดังกล่าวข่อมเป็นที่แน่นอนว่าจะต้องมีผลกระทบในทางจำกัดสิทธิ และเสรีภาพของประชาชนอย่างไม่อาจหลักเลี่ยงได้กว้างขวางมากน้อยขึ้นอยู่กับระดับความร้ายแรงของสถานกาณ์เป็นสำคัญ และกฎหมายทั่วไปที่มีใช้อยู่ในยามปกติย่อมไม่ม่ีบทบัญญัติให้รัฐมีอำนาจกระทำการเช่นนั้นได้ตามหลักนิติธรรม ส่วนอำนาจที่รัีฐพอจะมีอยู่บ้างตามกฎหมายบางฉบับก็อาจไม่เหมาะสม หรือ ไม่เพียงพอจะเยียวยาแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภา ด้วยเหตุนี้จึงทำให้นานาอารยประเทศต่างยอมรับโดยทั่วกัน ถึงความจำเป็นต้องมีกฎหมายพิเศษในสภานะการอันไม่ปกติมอบอำนาจให้รัฐมีและใช้อำนาจได้อว้างขวางเบ็ดเสร็จรวมถึงจำกัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนได้มากกว่ายามปกติ โดยถือเป็นกรณีที่ประโยชน์ของเอกชนชัดแย้งกับประโยชน์สาธารณะ ซึ่งรัฐจำเป็นต้องนำข้อยกเว้นของหลักนิติธรรมมาใช้ในการตรากฎหมาย และใช้อำนาจจำกัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนเพื่อคุ้มครองรักษาประโยชน์สาธารณะไว้ ขณะเดี่ยกันก็ได้พยายามวางกรอบให้มีและการใช้อำนาจตามกฎหมายพิเศษนี้ได้เพียงเท่าที่จำเป็นจริงๆ และอย่างจำกัดเท่านั้น ดังจะเห็นได้ว่าในเวลาต่อมาประเทศต่างๆ ก็ได้มีการบัญญัติกรอบอำนาจของรัฐในการตรากฎหมายพิเศษในสถานการณ์ไม่ปกติดังกล่าวได้เพียงเท่าที่อยู่ภายใต้เงื่อนไข ขอบเขตและระยะเวลาอย่างจำกัดไว้ในรัฐธรรมนูญของแต่ละประเทศ เพื่อรับรองความชอบธรรมไว้อีกชั้นหนึ่งด้วยกันทั้งสิ้น
- ความมั่นคงแห่งชาติ แนวความคิดมุ่งเน้นในการดำเนินการที่ก่อให้เกิดความมั่นคง โดยอาศัยพลังอำนาจของชาติ เพราะพลังอำนาจของชาติจะเป็นเครื่องมือที่ใช้ในกาารพิทักษ์รักษาสิ่งสำคัญที่เปรียบเสมือนหัวใจของชาติ นั่นคือ ความมุ่งประสงค์ของชาติและผลประโยชน์ของชาติ ความมุ่งประสงค์ของและผลประโยชน์ของแต่ละชาติก็จะแตกต่างกันไปใแต่ละชาติ
- ความมั่นภายใน ซึ่งเกี่ยวพันโดยตรงกับความมั่นคงคงของชาติ โดยความมั่นคงภายในจะมุ่งเน้นไปในเรื่องของความมั่นคงภายในประเทศที่จะนำไปสู่ความมั่นคงของชาติในที่สุด
- ความมั่นคงของโลก เป็นเหมือนกับความมั่นคงของภูมิภาค แต่จะแตกต่างกันที่การรวมตัวกันเป็นกลุ่มที่ใหญ่ขึ้น คือทุกประเทศในโลกนี้ ซึ่งจะรวมความมั่นคงภายในแต่ละชาติและความมั่นคงของชาติแต่ละชาติ
- ความมั่นคงของสภาวะแวดล้อม เป็ฯแนวความคิดที่พยายามจะรักษาภาวะเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมภายในโลก เพื่อให้สังคมมนุษย์ยังคงอยู่ต่อไปภายในโลกนี้ร่วมกับธรรมชาติได้ การพิจารณาแนวความคิดนี้จะมองไปในอนาคต
โดยใช้หลักวิชาการทางวิทยาศาสตร สำหรับประเด็นสำคัญของความมั่นคงประเภทนี้ คือ ประเทศที่ก่อให้เกิดการทำลายสิงแวดล้อมมากมักจะเป็นประเทศมหาอำนาจ หรือ ประเทศที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจสูง ดังนั้น ความรับผิดชอบในการออกค่าใช้จ่ายในการรักษาสิ่งแวดล้อมจะต้องเป็นสัดส่วนที่แตกต่างกัน
- ความมั่นคงของบุคคล เป็นแนวความคิดที่หลายประเทศให้ความสนใจเป็นพิเศษ โดยเฉพาะอย่างยิง ประเด็นของสิทธิความเท่าเทียมกันของมนุษย์ โดยการดำเนินการเพื่อให้เกิดความมั่นคงวของมนุษย์นั้น จะต้องใช้พลังอำนาจของชาติในด้านต่างๆ มาเป็นเครื่่องมือจำนวนมากเพราะแต่ละบุคคลจะมีความมั่นคงได้ จะมีองค์ประกอบที่ต้องพิจารณาหลายประการเช่น สิทธิมนุษยชน คุณภาพชีวิต การศึกษา ฐานะทางการเงิน อนามัยชุมชน
ความมั่นคงของชาติส่งผลให้ประาชนมีความปลอดภัย สงบสุข ผู้ที่มีหน้าที่เีก่ยข้องในบล้านเมือง ได้มีการร่วมกันศึกษา หาแนวทางที่จะให้ชาติเกิดความมั่นคง เพื่อให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ซึ่งความมั่นคงของชาตินั้นขึ้นอยู่กับสิ่งต่างๆ ดังนี้
1. ความมั่นคงด้านการเมืองภายในประเทศ กระแสการเบ่งบานของประชาธิปไตยพร้อมกับความสามารถในการรับรุ้ข้อมูลข่าวสารของประชาชน อีกทั้งความเข้มแข็.ที่เพ่ิมขึ้นของประชาชนกลุ่มต่างๆ ในสังคมที่รวมตัวกัน กลุ่มเหล่านี้เรียกว่าประชาสังคม ความเข้มแข็งของกลุ่มประชาสังคมนี้ส่งผลให้เกิดความซับซ้อนในการดำเนินงานการเมืองภายในประเทศ อำนาจที่แท้จริงของปวงชนชาวไทยกำลังถูกนำกลับคืนมาสู่ประชาชนผู้เป็นเจ้าของอำนาจด้วยการเพ่ิมอำนาจในการถอดถอนผู้ที่ดำรงตำแหน่งทางการเมืองหลังจากที่ประชาชนได้ใช้อำนาจผ่านผู้แทนของเขาเหล่านั้นในอดีตผู้แทน ได้ใช้อำนาจอย่างละเลยความต้องการที่แท้จริงของประชาชน การมีบทบาทและการมีส่วนร่วมมากขึ้นของประชาชนในการปกครองประเทศ
2 . ความมีบทบาทขององค์กรเหนือรัฐ เช่น สหประชาชาติ สหภาพยุโรป องค์การค้าโลกฯ ได้เข้ามามีบทบาทต่อการดำเนินงานการเมืองของประเทศ ซึ่งในบางครั้งได้ส่งผลคาบเกี่ยวต่ออำนาจอธิปไตยของชาติ
3. ความมั่นคงด้านเศรษฐกิจ เช่นการทำความเข้าใจในรูปแบบธุรกิจแบบใหม่หรือธุรกิจออนไลน์จะช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน นำไปสู่ความมั่นคงแห่งชาติในที่สุด
4 . ความมั่นคงด้านสังคมจิตวิทยา การให้น้ำหนักระหว่างความสามารถ และ คุณธรรมจริยธรรม จะทำให้ประเทศเกิดความมั่นคงที่ยั่งยืน
5 . ความมั่นคงด้านการป้องกันประเทศ การปรับกองกำลังให้เหมาะสมกับสภานะการณ์ปัจจุบัน การหันมาใช้วิธีการทางการทูต เป็นต้น
6. ความมั่นคงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยีในด้านต่างๆ การจดสิทธิบัตรจำเป็นที่จะต้องมีความเข้าใจและกำหนดทิศทางเพื่อที่จะนำไปใช้กในการรักษาผลประโยชน์ของชาติเป็นต้น
7. ความมั่นคงด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สังคมแห่งการบริโภคตามลักษณะของทุนนิยมจะส่งผลกระทบอย่างรุนแรง และมีลักษณะเป็นลูกโซ่ ต่อสิ่งแวดล้อม และทรัพยกรธรรมชาติ
8. ความมั่นคงด้านสารสนเทศ สารสนเทศ หรือข้อมูลข่าวสาร กลายเป็นทรัพย์สินมีค่า ดังนั้น การป้องกันการลักลอบแก้ไขข้อมูล ป้องกันการขโมยข้อมูล การทำให้ข้อมูลพร้มอใช้งาน และอิทธิพลของการใช้สารสนเทศในการจัดการความเข้าใจ จะส่งผลกระทบต่อบุคคล หน่วยงาน และปรเทศได้ และนำมาซึ่งความมั่นคงในที่สุด
9 . ระบาดวิทยา การเกิดขึ้นของโรคระบาดใหม่ๆ ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ การควบคุมและป้องกันจึงมีผลต่อความมั่นคงของประเทศ
10. ความมั่นคงด้านการอพยพย้ายถิ่นฐาน ทั้งการย้ายถิ่นฐานจากชนบทเข้าสู่เมือง และการย้ายถิ่นข้ามประเทศ ที่เป็นปัญหาต่อความมั่นคงโดยตรงคือ แรงงานเถื่อน การค้ามนุษย์ ค้าแรงงาน เป็นต้น ส่วนปัญหารต่อความมั่นคงทางอ้อมคือ ปัญหาการนำพาเชื้อโรค ปัญหาอาชญกรรม เป็นต้น
11 . ความมั่นคงของมนุษย์ ที่ส่งผลต่อความมั่นคงของประเทศ เช่น ปัญหาการค้ามนุษย์ การด้อยการศึกษา ปัญหาความยากจน ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของคนทั้งประเทศ และส่งผลต่อขีดความามารถของประเทศในการแข่งขัน การยกระดับความมั่นคงมนุษย์จึงเป็นการช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และส่งผลต่อความมั่นคงของชาติ
12 . ความมั่นคงด้านอาชญากรรมข้ามชาติ ซึ่งเป็นภัยคุกคามรูปแบบหนึ่งต่อประเทศชาตินั้นๆ
13 . ความมั่นคงด้านพลังงาน การประหยัดพลังงานเป็นแนวทางซึ่งจะนำไปสู่ความมั่นคงของชาติ
14. ความมั่นคงด้านภัยพิบัติ ซึงส่งผลต่อความเสียหายทั้งชีวิต เศรษบกิจ การจัดการระบบ กระบวนการ และการดำเนินงานทางด้านแจ้งเตือนภัย ช่วยเหลือผู้ประสบภัย จะช่วยลดการสูญเสีย
15. ความมั่นคงด้านวัฒนธรรมและชาติพันธ์ุ ความเป็นรัฐ-ชาติในปัจจุบันกำลังเผชิญกับปัญหาของขาติพันธุ์ที่อาจสำไปสู่กาแตกเป็นประเทศเล็ก ดังจะเห็นได้จากหลายๆ ประเทศทั่วโลก
กฎหมายลักษณะพิเศษ
ในภาวะที่เกิดสภานการณ์ร้ายแรง หรือ ความไม่สงบเรียบร้อยของบ้านเมืองที่จะเป็นอันตรายต่อประเทศอันเป็นประโยชน์สาธารณะของของชาติอย่างร้ายแรงขึ้น เช่น สงคราม จลาจล กบฎ ภัยพิบัติ สาธารณะ เป็นต้น ในสถานการณ์เช่นนี ทุกประเทศต่างถือเป็นเรื่องสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเร่งรัดแก้ไขเพื่อรักษาไว้ซึ่งความมั่นคงของประเทศ หรือประโยชน์สารธารณะให้ยุติลง และฟื้นคืนกลับมาโดยเร็วที่สุด และยอมรับถึงความจำเป็นที่รั๘จะต้องมีอำนาจ เครื่องมือ สรรพกำลัง และอาวุธในการดำเนิการได้อย่างเต็มที่และเหมาะสม ซึ่งการใช้อำนาจดังกล่าวข่อมเป็นที่แน่นอนว่าจะต้องมีผลกระทบในทางจำกัดสิทธิ และเสรีภาพของประชาชนอย่างไม่อาจหลักเลี่ยงได้กว้างขวางมากน้อยขึ้นอยู่กับระดับความร้ายแรงของสถานกาณ์เป็นสำคัญ และกฎหมายทั่วไปที่มีใช้อยู่ในยามปกติย่อมไม่ม่ีบทบัญญัติให้รัฐมีอำนาจกระทำการเช่นนั้นได้ตามหลักนิติธรรม ส่วนอำนาจที่รัีฐพอจะมีอยู่บ้างตามกฎหมายบางฉบับก็อาจไม่เหมาะสม หรือ ไม่เพียงพอจะเยียวยาแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภา ด้วยเหตุนี้จึงทำให้นานาอารยประเทศต่างยอมรับโดยทั่วกัน ถึงความจำเป็นต้องมีกฎหมายพิเศษในสภานะการอันไม่ปกติมอบอำนาจให้รัฐมีและใช้อำนาจได้อว้างขวางเบ็ดเสร็จรวมถึงจำกัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนได้มากกว่ายามปกติ โดยถือเป็นกรณีที่ประโยชน์ของเอกชนชัดแย้งกับประโยชน์สาธารณะ ซึ่งรัฐจำเป็นต้องนำข้อยกเว้นของหลักนิติธรรมมาใช้ในการตรากฎหมาย และใช้อำนาจจำกัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนเพื่อคุ้มครองรักษาประโยชน์สาธารณะไว้ ขณะเดี่ยกันก็ได้พยายามวางกรอบให้มีและการใช้อำนาจตามกฎหมายพิเศษนี้ได้เพียงเท่าที่จำเป็นจริงๆ และอย่างจำกัดเท่านั้น ดังจะเห็นได้ว่าในเวลาต่อมาประเทศต่างๆ ก็ได้มีการบัญญัติกรอบอำนาจของรัฐในการตรากฎหมายพิเศษในสถานการณ์ไม่ปกติดังกล่าวได้เพียงเท่าที่อยู่ภายใต้เงื่อนไข ขอบเขตและระยะเวลาอย่างจำกัดไว้ในรัฐธรรมนูญของแต่ละประเทศ เพื่อรับรองความชอบธรรมไว้อีกชั้นหนึ่งด้วยกันทั้งสิ้น
วันพุธที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2560
Justice
"นิติปรัชญา"เป็นการศึกษาภาพรวมๆ ของกฎหมายในเชิงปรัชญา กล่าวคือเรื่องธรรมชาติของกฎหมายหรือความสัมพันธ์ของกฎหมายกับจริยธรรม เป็นต้น มีผู้ให้ความหมายของนิติปรัชญาไว้ดังนังนี้
- จอร์ช ไวท์เทอร์ครอส ปาตัน : นิติปรัชญาเป็นวิธีการศึกษาที่มีลักษณะเฉพาะอย่างหนึ่งเนื่องด้วยมิใช่เป็นการศึกษากฎหมายของประเทศใดประเทศหนึ่ง แต่หากเป็นการศึกษาแนวความคิดทั่วไปในตัวกฎหมาย
- อาร์. ดับบลิว. เอ็ม. ดิแอส : นิติปรัชญาเป็ฯการศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้าง การใช้และบทบาทของกฎหมาย ตลอดจนแนวความคิดเกี่ยวกับกฎหมาย
- จูเรียส สโตน : นิติปรัชญาเป็นเรื่องการตรวจสอบศึกษาของนักกฎหมายต่อหลักการ อุดมคติ และเทคนิคของกฎหมายในแง่มุมความคิดจากความรอบรู้ปัจจุบัน
หรือในทรรศนะของผู้สอนวิชานิติปรัชญาของไทยก็ได้ให้คำนยามไว้ต่างๆ กัน อาทิ
" นิติปรัชญาศึกษาถึงรากฐานทางทฤษฎีของกฎหมาย ศึกษาถึงอุดมคติสูงสุด หรือคุณค่าอันแท้จริงของกฎหมาย หรือแก่นสาระของกฎหมาย.. ความมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ของกฎหมายอยุ่ที่ไหน คำตอบเหล่านี้ย่อมจะแตกต่างไปตามสำนักความคิดทางปรัชญานิติปรัชญาศึกษาว่าทำไมคนจึงต้องยอมรัีบนับถือกฎหมาย นอกจากนี้แล้ว นิติปรัชญาจะกล่าวถึงเรื่องความยุติธรรม และความสัมพันธ์ ระหว่างกฎหมายกับความยุติธรรม"...
"วิชาปรัชญากฎหมาย ได้แก่ การศึกษาถึงหลักการพื้นฐานอย่างลึกซึ้งในกฎหมายเพื่อแสวงหาอุดมการขั้นสุดท้าย และค่านิยมที่แท้จริงของกฎหมาย เช่น ปัญหาว่าด้วยลักษณะอันแท้จริงของกฎหมายคืออะไร เหตุใดจึงต้องมีกฎหมาย เช่น ปัญหาว่าด้วยลักษณะอันแท้จริงของกฎหมายคืออะไร เหตุใดจึงต้องมีกฎหมาย กฎหมายมีคุณประโยชน์อย่างไร รากฐานของกฎหมายมีอยู่อย่างไร เจตนารมณ์ของกฎหมายคืออะไร เหตุใดจึงต้องมีกฎหมาย กฎหมายมีคุณประโยชน์อย่างไร รากฐานของกฎหมายมีอยู่อย่างไร เจตนารมณ์ของกฎหมายคืออะไร แนวความคิดและทฤษฎีทางกฎหมายโบราณกับปัจจุบันมีข้อแตกต่างกันอย่างไร เป็นต้น .."
" นิติปรัชญาเป็นการศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับความยุติธรรม เป็นการศึกษาให้เข้าถึงซึ่งสัจธรรม, วิญญาณกฎหมาย หรือสิ่งที่เป็นคุณค่าหลักการ และทฤษฎีซึ่งอยู่เบื้องหลังกัวบท และวิธิการทางกฎหมาย"
" นิติปรัชญา หมายถึงวิชาที่ศึกษาถึงกฎหมายในลักษณะที่เป็ฯทฤษฎีมิใช่หลักหรือตัวบทกฎหมายเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ ทฤษฎีที่ว่านี้หมายถึงทฤษฎีว่าด้วยความหาายของกฎหมาย กำเนิดของกฎหมาย ประเภทของกฎหมาย เจตนารมณ์ของกฎหมาย และเรื่องราวต่างๆ อันแทรกอยุ่ในระบบกฎหมายทุกระบบตลอดเวลา เช่น ความยุติธรรม สิทธิ เสรีภาพ ความรับผิดชอบ อำนาจหน้าที่เป็นต้น ซึ่งเห็นได้ว่าเป็นการศึกษาหัวข้อนามธรรมในทางกฎหมายมิใช่ตัวบทกฎหมายใดโดยเฉพาะ ทั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำมาคิดรวบยอดในทางกฎหมายเหล่านี้ไปตอบคำถามที่ว่าทำอย่างไรจึงจะออกกฎหมายใช้กฎหมายหรือตีความกฎหมายได้อย่างยุติธรรม ส่วนวิธีการให้คำตอบหรือวิธีการอธิบายคำตอบย่อมแตกต่างไปตามสำนักความคิดแต่ละสำนัก ซึ่งจะนำมาศึกษาในวิชานี้เพื่อให้ผู้ศึกษาได้ทราบ และเลือกความคิดที่ตนเห็นชอบด้วย"
ปรัชญากฎหมายธรรมชาติ คงไม่ผิดนักหากกล่าวว่ากฎหมายธรรมชาติถือำเนิดพร้อมๆ กับอารยธรรมตะวันตก นับแต่ยุคกรีกโบราณ, โรมันโบราณและเติบโตพัฒนากระทั่งปัจจุบัน และกล่าวได้เช่นกันในวัฒนธรรมกฎหมายของตะวันออกไม่ว่าจะเป็นมุสลิม ฮินดู พุทธหรือประเพณีความคิดของจีน การปรากฎตัวของกฎหมายธรรมชาติ อาจตีความได้ว่าเป็นการแสดงออกซึ่งความบันดาลใจของมนุษย์ที่มุ่งมั่นจะค้นหาหลักการอันสุงสังสำหรับกฎหมายที่มนุษย์บัญญัติขึ้น วิวัฒนาการของปรัชญากฎหมายธรรมชาติจึงเป็นเสมือนประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ ในความพยายามที่จะค้นหาหลกความยุติธรรมที่แท้จริงในฐานนะเป็นหลักอุดมคติของกฎหมาย หรือความพยายามที่จะค้นหาหลักอุดมคติซึ่งจะใช้ประสานความขัดแย้งพื้นฐานในสังคมมนุษญ์ แม้จะต้องถูกเย้ยหยันหรือปฏิเสธจากเพื่อมนุษย์ด้วยกันเองว่าเป็นความคิดเพ้อฝันเลื่อนลอย
หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง การกำเนิด ดำรงอยู่และพัฒนาการของกฎหมายธรรมชาติจึงเป็นเหมือนสัญลักษณ์ของความขัดแย้ง หรือความไม่สมบูรณ์ในสังคมมนุษย์ที่ปรากฎอยู่ จนทำให้ต้องมีการเรียกร้องหรืออ้างอิงกฎหมายอุดมคติขึ้นยันต่อรัฐในฐานะผู้ออกกฎหมาย และผุ้ใช้อำนาจปกครองต่อประชาชน ข้อนี้จะห็นได้ว่าในยุคสมัยที่ย้านเมืองวุ่นวายสับสน รหือมีปัญหาเรื่องการใช้อำนาจรัฐอย่างไม่เป็นระบบ กฎหมายธรรมชาติมักถูกนำขึ้นกล่าวอ้างอย่างหนักแน่นแสมอจากบรรดาบุคคลผู้คับข้องหรือถูกกดขี่ เพื่อการขบถต่อต้านอำนาจรัฐที่ตนเห็ฯว่าไม่เป็นธรรม กฎหมายธรรมชาติในแง่นี้จึงเป็นเสมือนกฎหมายอุดมคติที่คุ้มครองและค้ำประกันสิทธิเสรีภาพแก่ปัเจกชนทั่วไปในลัษณะที่เป็นพลังความคิดปฏิวัติซึ่งที่กล่าวมานี้เกิดขึ้นในโลกตะวันตก ซึ่งไม่มีบทบาทมากนักหากนำมาใขช้กล่าวอ้างหลักสิทธิมนุษยชนขึ้นในสังคมไทยในแง่บทบาททางการเมือง ..อย่างไรก็ตาม ในอีกแง่หนึ่งกฎหมายธรรมชาติก็เป็นความคิดเชิงอนุรักษ์ฯที่ถูกสร้างและใช้เพื่อรองรับความชอบธรรมในการใช้อำนาจปกครองของรัฐเช่นกัน ในลักษณะการแอบอ้างทฤษฎีกฎหมายธรรมชาติขึ้นบังหน้าเพื่อซ่อนเร้นความทะเยอทะยานในทางการเมือง ดังนั้นในโลกตะวันตกกฎหมายธรรมชาติจึงแกว่งไปมาระหว่างขั่วปฏิวัติและอนุรักษณ์นะยมตลอดประวัติศาสตร์ของกฎหมายธรรมชาติ (ถูกใช้เป็นเครื่องมือ)...
การเชื่อมต่อปัญหาเรื่องความยุติธรรมกับความกลมกลืนอาจไม่ให้ภาพที่ชัดเจนนักต่อการแปลความหมายความยุติธรรมจากแง่มุมนี้ แต่ดูเหมือจะชี้ให้เห็นว่า ความยุติธรรมเป็นหลักคุณค่าหรือคุณธรรมอันจำเป็นเพื่อยุติปัญหาขัดแย้งที่เกิดขึ้นซึ่งอาจดำรงอยู่ในระดับเอกชนหรือในระดับวังคม ก่อนที่ความขัดแย้งต่างๆ จะขยายวงหว้างไปสู่จุดแห่งการทำลายล้างซึ่งกันและกัน ความยุติธรรมจะเป็นหลักคุณค่าที่ถูกใช้เพื่อจำกัดความขัดแย้งวนั้นให้ดำรงอยู่ในระดับที่เหมาะสมประนีประนอมกันมากขึ้นหรือมิฉะนั้นก็ทำให้มันยุติลงด้วยความเรียบร้อย
- จอร์ช ไวท์เทอร์ครอส ปาตัน : นิติปรัชญาเป็นวิธีการศึกษาที่มีลักษณะเฉพาะอย่างหนึ่งเนื่องด้วยมิใช่เป็นการศึกษากฎหมายของประเทศใดประเทศหนึ่ง แต่หากเป็นการศึกษาแนวความคิดทั่วไปในตัวกฎหมาย
- อาร์. ดับบลิว. เอ็ม. ดิแอส : นิติปรัชญาเป็ฯการศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้าง การใช้และบทบาทของกฎหมาย ตลอดจนแนวความคิดเกี่ยวกับกฎหมาย
- จูเรียส สโตน : นิติปรัชญาเป็นเรื่องการตรวจสอบศึกษาของนักกฎหมายต่อหลักการ อุดมคติ และเทคนิคของกฎหมายในแง่มุมความคิดจากความรอบรู้ปัจจุบัน
หรือในทรรศนะของผู้สอนวิชานิติปรัชญาของไทยก็ได้ให้คำนยามไว้ต่างๆ กัน อาทิ
" นิติปรัชญาศึกษาถึงรากฐานทางทฤษฎีของกฎหมาย ศึกษาถึงอุดมคติสูงสุด หรือคุณค่าอันแท้จริงของกฎหมาย หรือแก่นสาระของกฎหมาย.. ความมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ของกฎหมายอยุ่ที่ไหน คำตอบเหล่านี้ย่อมจะแตกต่างไปตามสำนักความคิดทางปรัชญานิติปรัชญาศึกษาว่าทำไมคนจึงต้องยอมรัีบนับถือกฎหมาย นอกจากนี้แล้ว นิติปรัชญาจะกล่าวถึงเรื่องความยุติธรรม และความสัมพันธ์ ระหว่างกฎหมายกับความยุติธรรม"...
"วิชาปรัชญากฎหมาย ได้แก่ การศึกษาถึงหลักการพื้นฐานอย่างลึกซึ้งในกฎหมายเพื่อแสวงหาอุดมการขั้นสุดท้าย และค่านิยมที่แท้จริงของกฎหมาย เช่น ปัญหาว่าด้วยลักษณะอันแท้จริงของกฎหมายคืออะไร เหตุใดจึงต้องมีกฎหมาย เช่น ปัญหาว่าด้วยลักษณะอันแท้จริงของกฎหมายคืออะไร เหตุใดจึงต้องมีกฎหมาย กฎหมายมีคุณประโยชน์อย่างไร รากฐานของกฎหมายมีอยู่อย่างไร เจตนารมณ์ของกฎหมายคืออะไร เหตุใดจึงต้องมีกฎหมาย กฎหมายมีคุณประโยชน์อย่างไร รากฐานของกฎหมายมีอยู่อย่างไร เจตนารมณ์ของกฎหมายคืออะไร แนวความคิดและทฤษฎีทางกฎหมายโบราณกับปัจจุบันมีข้อแตกต่างกันอย่างไร เป็นต้น .."
" นิติปรัชญาเป็นการศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับความยุติธรรม เป็นการศึกษาให้เข้าถึงซึ่งสัจธรรม, วิญญาณกฎหมาย หรือสิ่งที่เป็นคุณค่าหลักการ และทฤษฎีซึ่งอยู่เบื้องหลังกัวบท และวิธิการทางกฎหมาย"
" นิติปรัชญา หมายถึงวิชาที่ศึกษาถึงกฎหมายในลักษณะที่เป็ฯทฤษฎีมิใช่หลักหรือตัวบทกฎหมายเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ ทฤษฎีที่ว่านี้หมายถึงทฤษฎีว่าด้วยความหาายของกฎหมาย กำเนิดของกฎหมาย ประเภทของกฎหมาย เจตนารมณ์ของกฎหมาย และเรื่องราวต่างๆ อันแทรกอยุ่ในระบบกฎหมายทุกระบบตลอดเวลา เช่น ความยุติธรรม สิทธิ เสรีภาพ ความรับผิดชอบ อำนาจหน้าที่เป็นต้น ซึ่งเห็นได้ว่าเป็นการศึกษาหัวข้อนามธรรมในทางกฎหมายมิใช่ตัวบทกฎหมายใดโดยเฉพาะ ทั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำมาคิดรวบยอดในทางกฎหมายเหล่านี้ไปตอบคำถามที่ว่าทำอย่างไรจึงจะออกกฎหมายใช้กฎหมายหรือตีความกฎหมายได้อย่างยุติธรรม ส่วนวิธีการให้คำตอบหรือวิธีการอธิบายคำตอบย่อมแตกต่างไปตามสำนักความคิดแต่ละสำนัก ซึ่งจะนำมาศึกษาในวิชานี้เพื่อให้ผู้ศึกษาได้ทราบ และเลือกความคิดที่ตนเห็นชอบด้วย"
ปรัชญากฎหมายธรรมชาติ คงไม่ผิดนักหากกล่าวว่ากฎหมายธรรมชาติถือำเนิดพร้อมๆ กับอารยธรรมตะวันตก นับแต่ยุคกรีกโบราณ, โรมันโบราณและเติบโตพัฒนากระทั่งปัจจุบัน และกล่าวได้เช่นกันในวัฒนธรรมกฎหมายของตะวันออกไม่ว่าจะเป็นมุสลิม ฮินดู พุทธหรือประเพณีความคิดของจีน การปรากฎตัวของกฎหมายธรรมชาติ อาจตีความได้ว่าเป็นการแสดงออกซึ่งความบันดาลใจของมนุษย์ที่มุ่งมั่นจะค้นหาหลักการอันสุงสังสำหรับกฎหมายที่มนุษย์บัญญัติขึ้น วิวัฒนาการของปรัชญากฎหมายธรรมชาติจึงเป็นเสมือนประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ ในความพยายามที่จะค้นหาหลกความยุติธรรมที่แท้จริงในฐานนะเป็นหลักอุดมคติของกฎหมาย หรือความพยายามที่จะค้นหาหลักอุดมคติซึ่งจะใช้ประสานความขัดแย้งพื้นฐานในสังคมมนุษญ์ แม้จะต้องถูกเย้ยหยันหรือปฏิเสธจากเพื่อมนุษย์ด้วยกันเองว่าเป็นความคิดเพ้อฝันเลื่อนลอย
หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง การกำเนิด ดำรงอยู่และพัฒนาการของกฎหมายธรรมชาติจึงเป็นเหมือนสัญลักษณ์ของความขัดแย้ง หรือความไม่สมบูรณ์ในสังคมมนุษย์ที่ปรากฎอยู่ จนทำให้ต้องมีการเรียกร้องหรืออ้างอิงกฎหมายอุดมคติขึ้นยันต่อรัฐในฐานะผู้ออกกฎหมาย และผุ้ใช้อำนาจปกครองต่อประชาชน ข้อนี้จะห็นได้ว่าในยุคสมัยที่ย้านเมืองวุ่นวายสับสน รหือมีปัญหาเรื่องการใช้อำนาจรัฐอย่างไม่เป็นระบบ กฎหมายธรรมชาติมักถูกนำขึ้นกล่าวอ้างอย่างหนักแน่นแสมอจากบรรดาบุคคลผู้คับข้องหรือถูกกดขี่ เพื่อการขบถต่อต้านอำนาจรัฐที่ตนเห็ฯว่าไม่เป็นธรรม กฎหมายธรรมชาติในแง่นี้จึงเป็นเสมือนกฎหมายอุดมคติที่คุ้มครองและค้ำประกันสิทธิเสรีภาพแก่ปัเจกชนทั่วไปในลัษณะที่เป็นพลังความคิดปฏิวัติซึ่งที่กล่าวมานี้เกิดขึ้นในโลกตะวันตก ซึ่งไม่มีบทบาทมากนักหากนำมาใขช้กล่าวอ้างหลักสิทธิมนุษยชนขึ้นในสังคมไทยในแง่บทบาททางการเมือง ..อย่างไรก็ตาม ในอีกแง่หนึ่งกฎหมายธรรมชาติก็เป็นความคิดเชิงอนุรักษ์ฯที่ถูกสร้างและใช้เพื่อรองรับความชอบธรรมในการใช้อำนาจปกครองของรัฐเช่นกัน ในลักษณะการแอบอ้างทฤษฎีกฎหมายธรรมชาติขึ้นบังหน้าเพื่อซ่อนเร้นความทะเยอทะยานในทางการเมือง ดังนั้นในโลกตะวันตกกฎหมายธรรมชาติจึงแกว่งไปมาระหว่างขั่วปฏิวัติและอนุรักษณ์นะยมตลอดประวัติศาสตร์ของกฎหมายธรรมชาติ (ถูกใช้เป็นเครื่องมือ)...
ความยุติธรรม
พิเคราะห์ความหมายจากมหากาพย์เทพนิยายกรีกโบราณของโฮเมอร์ ซึ่งไม่ให้คำอธิบายที่เป็ฯระบบใดๆ เกี่ยวกับแนวคิดเรื่องความยุติธรรม ตัวละครที่แฝงความหายไปในเชิงบุคลาธิษฐานก็บ่งให้แปลโดยว่า เมื่อกว่า 3000 ปีก่อนความเข้าใจกันว่าความยุติธรรม(Dike) เป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับการใช้อำนาจ (Zeus) อย่างมีเหตุผล (Themis) โดยสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสันติภาพ (Eirene) ความเป็นระเบียบมั่นคง (Eunomia) และโอกาสหรือความผันแปร (Tyche) ขณะเดียวกันความยุติธรรมก็เป็นสิ่งตรงข้ามกับความเกินเลยและการบิดเบือน (Hybris) ความขัดแย้ง (Eris) ความไม่เป็นระเบียบ (Dysnomia) ความหลงลืมและปกปิดซ่อนเร้น (Lethe) และความผิดพลาดหรือคลุมเคลือ (Amphilogiai) สำหรับการอำนวยความยุติธรรมนั้นก็เกี่ยวข้องกับการใช้บังคับกฎหมาย หรือการพิพากษาลงโทษผู้กระทำความผิดต่างๆ จุดที่น่่าสังเกตอย่างยิ่งในเทพนิยายนี้ก็คือ ทำไมจึงถือว่าคำตัดสินของเทพธิดาแห่งความยุติธรรมยังเปิดช่องหให้มีการโต้แย้งได้หรือยังมีผลลัพธ์ที่มีความไม่แน่นอน (Tyche) ประกอบอยู่ ประเด็นนี้น่าคิดว่าเป็นไปได้หรือไม่ที่กวีผู้ประพันธ์ พิจารณาสิ่งที่เรียกว่า ยุติธรรมในลักษณะเป็นคุณธรรมหรือความถูกต้องเชิงสัมพันธ์มากกว่าจะมองว่าเป็นธรรมหรือคำตอบสำเร็จรูปที่ใช้แก้ไขข้อพิพาททุกๆ เรื่องในทุกกาละหรือทุกสถานที่พูดอีกย่างก็คือ ไม่มีสิ่งที่เป็ฯคำตอบของความยุติธรรมซึ่งเป็นนิรันดร์ หรือค้นพบได้ล่วงหน้า สิ่งที่น่่าสังเกตอีกประการคือ ความสัมพันธ์อย่างยิ่งระหว่างความยุติธรรมและกฎหายจนอาจกล่าวได้ว่า รวมตัวเป็นอินทรีย์เดียวกัน กฎหมายทำหน้าที่เป็นแขนขา หรือเครื่องมือของความยุติธรรม โดยที่ทังสิงสอ่งล้วนมีกำเนิดจากโองการของเทพเบื้องบน และเป็นสิ่งน่าอัศจรรย์ว่าวิธีการอธิบายและตีความหมายในเทพนิยายกรีก สอดคล้องกันกับคำอธิบายเรื่องกฎหมายและความยุติธรรม ในคัมภีร์มานวธรรมศาสตร์ ของฮินดูโบราณ ซึ่งอ้างว่า "ทัณฑ์" หรือเทพโอรสของพระอิศวก็คือ ตัวกฎหมาย ขณะเดี่ยวกันก็ถือว่าทัณฑ์กับความยุติธรรมคือ สิ่งเดี่ยวกันด้วย นอกจากนี้ลักษณธร่วมของความยุติธรรมยังแสดงออกที่การเน้นเรื่องเอกภาพหรือความกลมกลืน ซึ่งเป็นขั้วตรงข้ามกับเรื่องความขัดแย้งหรือความรุนแรงหรือความไม่เป็นระเบียบต่างๆ ตรงจุดนี้นับว่ามีข้อสังเกตอีกครั้งที่แก่นสารเรื่องความยุติธรรมของกรีกโบราณสอดคล้องกับความคิดของขงจื้อ และลัทธิเต๋า อันเป็นภูมิปัญญาของตะวันออกโบราณที่เน้นความสำคัญของเรื่อง "ความกลมกลืน" เช่นกันในฐานะเป็นสารัตถุของความถูกต้อง หรือความดีงามต่างๆการเชื่อมต่อปัญหาเรื่องความยุติธรรมกับความกลมกลืนอาจไม่ให้ภาพที่ชัดเจนนักต่อการแปลความหมายความยุติธรรมจากแง่มุมนี้ แต่ดูเหมือจะชี้ให้เห็นว่า ความยุติธรรมเป็นหลักคุณค่าหรือคุณธรรมอันจำเป็นเพื่อยุติปัญหาขัดแย้งที่เกิดขึ้นซึ่งอาจดำรงอยู่ในระดับเอกชนหรือในระดับวังคม ก่อนที่ความขัดแย้งต่างๆ จะขยายวงหว้างไปสู่จุดแห่งการทำลายล้างซึ่งกันและกัน ความยุติธรรมจะเป็นหลักคุณค่าที่ถูกใช้เพื่อจำกัดความขัดแย้งวนั้นให้ดำรงอยู่ในระดับที่เหมาะสมประนีประนอมกันมากขึ้นหรือมิฉะนั้นก็ทำให้มันยุติลงด้วยความเรียบร้อย
วันอังคารที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2560
Spiritual Secutiry
ความมั่นคงทางจิตใจ Spiritual Secutiry
มาสโลว์ : ความต้องการความมั่นคง เป็นความต้องการทั้งทางร่างกายและจิตใจ เป็นอิสระจากความกลัว ขู่เข็ญ บังคับ จากผู้อื่นและสิ่งเเวดล้อม เป็นความต้องการที่จะได้รับการปกป้องคุ้มกัน ซึ่งควงามต้องการประเภทนี้เป็นความต้องการตั้งแต่ทารกกระวัยชรา
อมาร์ทยา เซน : ความมั่นคงทางด้านจิตใจนั้นสำคัญและมีมานานแล้วตั้งแต่ในสมัยพุทธกาลกว่า 2,500 ปี พระพุทธเจ้าสร้างความมั่นคงทางจิตใจให้แก่มวลมนุษย์ พระองค์พยายามหาเหตุแห่งความทุกข์และพยายามค้นหาหนทางเพื่อดับทุกข์ ซึ่งเป็นรากฐานของความมั่นคงในระดับจิตใจ
พระธรรมปิฎก : กล่าวไว้ว่า ความมั่นคงทางจิตใจนั้นเป็นความมั่นคงพื้นฐาน อยู่ในชุดความมั่นคงของชีวิต ซึ่งเริ่มด้วยความมั่นคงปลอดภัยทางด้านร่างกายที่จะเป็นฐานให้ชีวิตเป็นอยู่ได้ ความมั่นคงทางจิตใจ และความมั่นคงทางสังคม ทั้งสามอย่างนี้เป็นพื้นฐานมาแต่เดิม ส่วนความมั่นคงด้านอื่นๆ มักจะเป็นของที่เพ่ิมขึ้นมาทีหลัง ความมั่นคงทางจิตใจ เป็นเรื่องของจิตที่ลึกซึ้ง มักจะไปเกี่ยวข้องกับเรื่องทางศรัทธาโดยเฉพาะเรื่องทางศาสนา อาจแปลได้ว่าเป็นเรื่องของจิตวิญญาณ เมื่อพูดถึงในเรื่องทางพุทธต้องโยงมาหาปัญญา เพราะจิตใจจะมั่นคงแท้จริงต้องอาศยปัญญา สำหรับในความหมายของต่างชาติ เป็นเรื่องของการที่จิตใจมีที่พึ่งพำนัก มีที่ยึดเหนี่ยว มีความรู้สึกมั่นคงปลอดภัยรวมทั้งมีคุณความดีที่ทำให้เกิดความภูมิใจ
นอกจากนี้ยังมีผู้ให้ความหมายไว้อีกว่า ความมั่นคงทางจิตใจคือ ความรู้สึก อารมณ์ สภาพการณ์ที่บุคคลเชื่อมั่นต่อผลการปฏิบัติงาน มีความสุขที่ได้ปฏิบัติงานจนสำเร็จตามวัตถุประสงค์ขององค์กร ซึ่งไดแก่ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การยอมรับจากผู้อื่นและการยกย่องชม เชย หรือ หมายถึงสภาพจิตของบุคคลที่รู้สึกว่าปลอดภัย แน่ใจ ปราศจากความหวั่นไหว ไม่มีความเกรงกลัว หรือหวาดระแวง ไม่ลังเลหรือวิตกกังวล
และยังมีคำที่มีลักาณะและความหมายใกล้เคียงกับความมั่นคงด้านจิตใจ ซึ่งได้แก่ ขวัญ morale มีผู้ให้ความหมายไว้ว่า ขวัญ คือ สภาพของจิตใจและอารมณ์ ซึ่งกระทบต่อความตั้งใจในการทำงาน ซึ่ผง
ผลกระทบนั้นจะมีต่อบุคคลและวัตถุประสงค์ขององค์กร
กองวิชาการและแผน กรมประชาสงเคราะห์ : ขวัญ ในการปฏิบัติงาน เป็นสภาพทางจิตใจ หมายถึง ความรู้สึกนึกคิด อารมณ์ ท่าที ซึ่งมีลักษณะนามธรรมมองไม่เห็น แต่สมารถสังเกตได้จากการแสดงออกในรูปของการมีความรู้สึกหรือไม่มีความรู้สึกว่าเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยงาน
ความมั่นคงทางจิตใจ เป็นสภาพจิตใจ สภาพของอารมณ์และความรุ้สึกของบุคคล ซึ่งมีทังควมรู้สึกพึงพอใจและไม่พึงพอใจ ที่มีผลต่อการแสดงพฤติกรรมปกติ หรือพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการทำงาน หรืออาจทำให้เกิดพฤติกรรมใหม่ทั้งที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ โดยพฟติกรรมนี้แสดงออกได้ทั้งในขณะที่รู้สึกตัว สามารถควบคุมพฤติกรรมที่เกิดขึ้นได้ หรือแสดงออกโดยไม่รู้สึกตัว ซึ่งมีผลกระทบต่อตัวบุคคลและองค์การ
ความมั่นคงทางจิตใจสามารถแสดงผลออกลัพท์ออกมาทางสุขภาพจิต จากข่าวสารเพื่อการเผยแพร่ให้ความรู้แก่ประชาชนของมหาวิทยาลัยมหิดลได้เสนอว่า สุขภาพจิตเป็นสภวะทางจิตใจของบุคคล ซึ่งโดยธรรมชาติภาวะทางจิตใจ มีการปรับ เปลี่ยนแปลงตามสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวบุคคลนั้น การเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันซึ่งเป็นไปอย่างรวดเร็วในทุกๆ ด้าน ทำให้คนเราต้องมีการปรับตัว เปลี่ยนแปลง ซึ่ง สุขภาพจิตของคนเราก็ต้องมีการปรับ และเปลี่ยนแปลงตามด้วยเช่นกัน บุคคลใดที่สามารถปรับตัวได้ในสังคมและสิ่งแวดล้อมโดยตนเองมีความสุข สามารถปรับปรุงเปลี่ยนสแปลงตนเองได้ตามสถานการณ์ด้วยเหตุด้วยผลอันเหมาะสม มีความยือหยุ่น ก็คือผู้ที่มีสุขภาพจิตดี สุขภาพจิตดีเปรียบได้กับต้นไม่ที่รากเต็มไปด้วยความเป็นมิตร ความมีเมตตา การให้อภัย ความอดทนและสำนึกในบุญคุณผู้อื่น มีความรับผิดชอบ มีความมั่นคงปลอดภัยในชีวิต จิตใจมั่นคง มีความรัก ก่อให้เกิดความไว้วางใจ กลายเป็นลำต้นที่แข็งแรง แตกกิ่งก้านสาขาเป็นความคิดริเริ่มสร้างสรร ได้รับการยอมรับ มีแรงจูงใจ พอใจ และรู้จักตนเองอย่างแท้จริง รู้รับผิดชอบ มีความสามารถใช้ศักยภาพของตนได้อย่างดี ทำประโยชน์ให้กับสังคม และมีความสุขในชีวิต
ความเข้มแข้งทางใจ Resilience,Resiliency ในทางจิตวิทยา หมายถึงกระบวนการ หรือศักยภาพในทางบวกของบุคคลในการจัดการกับภาวะเครียดหรือความล้มเหลวของชีวิต ซึ่งใช้เป็นตัวบ่งชี้ถึงคุณลักษณะของบุคคลเกี่ยวกับความรู้สึกอดทนและสามารถเผชิญต่อเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต โดยที่คุณลักษณะเช่นนี้มีความหมายเป็นปัจจัยปกป้อง จากปัจจัยเสี่ยงต่างๆ
นอกจากนี้ความเข้มแข็งทางใจยังหมายถึง พฤติกรรมทางบวกที่บุคคลใช้ในการปรับตัวเมื่อเผชิญกับความโชคร้าย หายนะ หรือความรู้สึกบาดเจ็บ หรือใช้เป็นการกล่าวถึงการเผชิญกับปัญหาและอุปสรรคโดยเกิดผลลัพธ์ที่ดี ซึ่งแสดงออกได้โดยกายืนหยัดต่อสู้แม้อยู่ในภาวะเสียงหรืออันตรยสูง ความคงทนอย่างต่อเนื่องแม้อยู่ใต้ภาวะกดดัน และความสามารถในการฟิ้นพลังอย่างรวดเร็วจากการบาดเจ็บ รวมทั้งการที่บุคคลสามารถมีชีวิตและเจริญเติบโตมาได้อย่างดี แม้ว่าจะต้องประสบกับปัญหา อุปสรรค ต่างๆ นับประกาณ ซึ่งปัญหาต่างๆ หรือความโชคร้าย
จรอทเบิร์ก : ความเข็มแข็งทางใจ หรือความยืนหยุ่นทางอารมณ์เป็นศักยภาพของบุคคล กลุ่มหรือชุมชนที่มีความสามารถในการฟื้นตัวการป้องกันความสูญเสีย การลดความรุนแรง และการผ่านพ้นจากการได้รับผลกระทบที่เกดจากภาวะบีบคั้นต่างๆ ที่ต้องเผชิญได้ด้วยดี
เดเยอร์ : เป็นความสามารถหรือทักษะ ซึ่งสามารถพบได้ใน 3 มิติ คือ มิติบุคคล มิติระหว่างบุคคลและครอบครัว โดยที่ปัจจัยเหล่านี้จะส่งผลหรือมีอิทธิพลให้บุคคลเกิดความเข้มแข็งทางใจในขณะหรือภายหลังเผชิญกับเหตุการณ์วิกฤติ
วองซ์ : คือลักษณะนิสัยการประสบความสำเร็จในนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ที่เผชิญกับเหตุการณ์ที่ไม่ดี หรืออุปสรรคที่รุนแรงแต่สามารถประสบความสำเร็จทางการศึกษาและเจริญงอกงามได้
ทูรเนอร์ : ความสามารถพิเศษของบุคคลในการอดทนต่อความยากลำบาก สามารถผ่านมรสุมและดำเนินชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผุ้ที่มีความหยุ่นตัว มีความสามารถ "งอโดยไม่หัก" และหวนกลับคืนสู่สภาพปกติดังเดิม
มาโยว์ : ความสามารถในการปรับตัวได้อย่างดีต่อความเครียด เคราะห์กรรมบาดแผลทางใจ หรือเรื่องโศกเศร้า สามารถคงไว้ซึ่งความคงที่และระดับสุขภาวะของการทำหน้าที่ทางกายแะจิตใจเมื่อเผชิญความยากลำบาก โดยสามารถทำกิจกรรม ประจำวันได้ ยังมองชีวิตในแง่ดี ไม่สับสนและกลับสู่สภาพเดิมได้อย่างรวดเร็ซ
ความเข้มแข็งทางจิตใจ คือ กระบวนการที่มีพลังและความคิดสร้างสรรค์ที่บุคคลแสดงออกมา ซึ่งเป็นการปรับตัวในเชิงพฤติกรรมทางบวก เมื่อเผชิญกับเคราะห์กรรมหรือบาดแผลทางจิตใจ โดยที่บุคคลสามารถประคับประคองตนเองให้ผ่านพ้นสถานการณ์ที่ยากลำบากมรสุมหรือความหระทบกระเทือนทางจิตที่รุนแรงได้อย่างมีประสิทธิภาพ และกลับคืนสู่สภาวะเดิมได้...
มาสโลว์ : ความต้องการความมั่นคง เป็นความต้องการทั้งทางร่างกายและจิตใจ เป็นอิสระจากความกลัว ขู่เข็ญ บังคับ จากผู้อื่นและสิ่งเเวดล้อม เป็นความต้องการที่จะได้รับการปกป้องคุ้มกัน ซึ่งควงามต้องการประเภทนี้เป็นความต้องการตั้งแต่ทารกกระวัยชรา
อมาร์ทยา เซน : ความมั่นคงทางด้านจิตใจนั้นสำคัญและมีมานานแล้วตั้งแต่ในสมัยพุทธกาลกว่า 2,500 ปี พระพุทธเจ้าสร้างความมั่นคงทางจิตใจให้แก่มวลมนุษย์ พระองค์พยายามหาเหตุแห่งความทุกข์และพยายามค้นหาหนทางเพื่อดับทุกข์ ซึ่งเป็นรากฐานของความมั่นคงในระดับจิตใจ
พระธรรมปิฎก : กล่าวไว้ว่า ความมั่นคงทางจิตใจนั้นเป็นความมั่นคงพื้นฐาน อยู่ในชุดความมั่นคงของชีวิต ซึ่งเริ่มด้วยความมั่นคงปลอดภัยทางด้านร่างกายที่จะเป็นฐานให้ชีวิตเป็นอยู่ได้ ความมั่นคงทางจิตใจ และความมั่นคงทางสังคม ทั้งสามอย่างนี้เป็นพื้นฐานมาแต่เดิม ส่วนความมั่นคงด้านอื่นๆ มักจะเป็นของที่เพ่ิมขึ้นมาทีหลัง ความมั่นคงทางจิตใจ เป็นเรื่องของจิตที่ลึกซึ้ง มักจะไปเกี่ยวข้องกับเรื่องทางศรัทธาโดยเฉพาะเรื่องทางศาสนา อาจแปลได้ว่าเป็นเรื่องของจิตวิญญาณ เมื่อพูดถึงในเรื่องทางพุทธต้องโยงมาหาปัญญา เพราะจิตใจจะมั่นคงแท้จริงต้องอาศยปัญญา สำหรับในความหมายของต่างชาติ เป็นเรื่องของการที่จิตใจมีที่พึ่งพำนัก มีที่ยึดเหนี่ยว มีความรู้สึกมั่นคงปลอดภัยรวมทั้งมีคุณความดีที่ทำให้เกิดความภูมิใจ
นอกจากนี้ยังมีผู้ให้ความหมายไว้อีกว่า ความมั่นคงทางจิตใจคือ ความรู้สึก อารมณ์ สภาพการณ์ที่บุคคลเชื่อมั่นต่อผลการปฏิบัติงาน มีความสุขที่ได้ปฏิบัติงานจนสำเร็จตามวัตถุประสงค์ขององค์กร ซึ่งไดแก่ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การยอมรับจากผู้อื่นและการยกย่องชม เชย หรือ หมายถึงสภาพจิตของบุคคลที่รู้สึกว่าปลอดภัย แน่ใจ ปราศจากความหวั่นไหว ไม่มีความเกรงกลัว หรือหวาดระแวง ไม่ลังเลหรือวิตกกังวล
และยังมีคำที่มีลักาณะและความหมายใกล้เคียงกับความมั่นคงด้านจิตใจ ซึ่งได้แก่ ขวัญ morale มีผู้ให้ความหมายไว้ว่า ขวัญ คือ สภาพของจิตใจและอารมณ์ ซึ่งกระทบต่อความตั้งใจในการทำงาน ซึ่ผง
ผลกระทบนั้นจะมีต่อบุคคลและวัตถุประสงค์ขององค์กร
กองวิชาการและแผน กรมประชาสงเคราะห์ : ขวัญ ในการปฏิบัติงาน เป็นสภาพทางจิตใจ หมายถึง ความรู้สึกนึกคิด อารมณ์ ท่าที ซึ่งมีลักษณะนามธรรมมองไม่เห็น แต่สมารถสังเกตได้จากการแสดงออกในรูปของการมีความรู้สึกหรือไม่มีความรู้สึกว่าเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยงาน
ความมั่นคงทางจิตใจ เป็นสภาพจิตใจ สภาพของอารมณ์และความรุ้สึกของบุคคล ซึ่งมีทังควมรู้สึกพึงพอใจและไม่พึงพอใจ ที่มีผลต่อการแสดงพฤติกรรมปกติ หรือพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการทำงาน หรืออาจทำให้เกิดพฤติกรรมใหม่ทั้งที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ โดยพฟติกรรมนี้แสดงออกได้ทั้งในขณะที่รู้สึกตัว สามารถควบคุมพฤติกรรมที่เกิดขึ้นได้ หรือแสดงออกโดยไม่รู้สึกตัว ซึ่งมีผลกระทบต่อตัวบุคคลและองค์การ
ความมั่นคงทางจิตใจสามารถแสดงผลออกลัพท์ออกมาทางสุขภาพจิต จากข่าวสารเพื่อการเผยแพร่ให้ความรู้แก่ประชาชนของมหาวิทยาลัยมหิดลได้เสนอว่า สุขภาพจิตเป็นสภวะทางจิตใจของบุคคล ซึ่งโดยธรรมชาติภาวะทางจิตใจ มีการปรับ เปลี่ยนแปลงตามสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวบุคคลนั้น การเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันซึ่งเป็นไปอย่างรวดเร็วในทุกๆ ด้าน ทำให้คนเราต้องมีการปรับตัว เปลี่ยนแปลง ซึ่ง สุขภาพจิตของคนเราก็ต้องมีการปรับ และเปลี่ยนแปลงตามด้วยเช่นกัน บุคคลใดที่สามารถปรับตัวได้ในสังคมและสิ่งแวดล้อมโดยตนเองมีความสุข สามารถปรับปรุงเปลี่ยนสแปลงตนเองได้ตามสถานการณ์ด้วยเหตุด้วยผลอันเหมาะสม มีความยือหยุ่น ก็คือผู้ที่มีสุขภาพจิตดี สุขภาพจิตดีเปรียบได้กับต้นไม่ที่รากเต็มไปด้วยความเป็นมิตร ความมีเมตตา การให้อภัย ความอดทนและสำนึกในบุญคุณผู้อื่น มีความรับผิดชอบ มีความมั่นคงปลอดภัยในชีวิต จิตใจมั่นคง มีความรัก ก่อให้เกิดความไว้วางใจ กลายเป็นลำต้นที่แข็งแรง แตกกิ่งก้านสาขาเป็นความคิดริเริ่มสร้างสรร ได้รับการยอมรับ มีแรงจูงใจ พอใจ และรู้จักตนเองอย่างแท้จริง รู้รับผิดชอบ มีความสามารถใช้ศักยภาพของตนได้อย่างดี ทำประโยชน์ให้กับสังคม และมีความสุขในชีวิต
ความเข้มแข้งทางใจ Resilience,Resiliency ในทางจิตวิทยา หมายถึงกระบวนการ หรือศักยภาพในทางบวกของบุคคลในการจัดการกับภาวะเครียดหรือความล้มเหลวของชีวิต ซึ่งใช้เป็นตัวบ่งชี้ถึงคุณลักษณะของบุคคลเกี่ยวกับความรู้สึกอดทนและสามารถเผชิญต่อเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต โดยที่คุณลักษณะเช่นนี้มีความหมายเป็นปัจจัยปกป้อง จากปัจจัยเสี่ยงต่างๆ
นอกจากนี้ความเข้มแข็งทางใจยังหมายถึง พฤติกรรมทางบวกที่บุคคลใช้ในการปรับตัวเมื่อเผชิญกับความโชคร้าย หายนะ หรือความรู้สึกบาดเจ็บ หรือใช้เป็นการกล่าวถึงการเผชิญกับปัญหาและอุปสรรคโดยเกิดผลลัพธ์ที่ดี ซึ่งแสดงออกได้โดยกายืนหยัดต่อสู้แม้อยู่ในภาวะเสียงหรืออันตรยสูง ความคงทนอย่างต่อเนื่องแม้อยู่ใต้ภาวะกดดัน และความสามารถในการฟิ้นพลังอย่างรวดเร็วจากการบาดเจ็บ รวมทั้งการที่บุคคลสามารถมีชีวิตและเจริญเติบโตมาได้อย่างดี แม้ว่าจะต้องประสบกับปัญหา อุปสรรค ต่างๆ นับประกาณ ซึ่งปัญหาต่างๆ หรือความโชคร้าย
จรอทเบิร์ก : ความเข็มแข็งทางใจ หรือความยืนหยุ่นทางอารมณ์เป็นศักยภาพของบุคคล กลุ่มหรือชุมชนที่มีความสามารถในการฟื้นตัวการป้องกันความสูญเสีย การลดความรุนแรง และการผ่านพ้นจากการได้รับผลกระทบที่เกดจากภาวะบีบคั้นต่างๆ ที่ต้องเผชิญได้ด้วยดี
เดเยอร์ : เป็นความสามารถหรือทักษะ ซึ่งสามารถพบได้ใน 3 มิติ คือ มิติบุคคล มิติระหว่างบุคคลและครอบครัว โดยที่ปัจจัยเหล่านี้จะส่งผลหรือมีอิทธิพลให้บุคคลเกิดความเข้มแข็งทางใจในขณะหรือภายหลังเผชิญกับเหตุการณ์วิกฤติ
วองซ์ : คือลักษณะนิสัยการประสบความสำเร็จในนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ที่เผชิญกับเหตุการณ์ที่ไม่ดี หรืออุปสรรคที่รุนแรงแต่สามารถประสบความสำเร็จทางการศึกษาและเจริญงอกงามได้
ทูรเนอร์ : ความสามารถพิเศษของบุคคลในการอดทนต่อความยากลำบาก สามารถผ่านมรสุมและดำเนินชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผุ้ที่มีความหยุ่นตัว มีความสามารถ "งอโดยไม่หัก" และหวนกลับคืนสู่สภาพปกติดังเดิม
มาโยว์ : ความสามารถในการปรับตัวได้อย่างดีต่อความเครียด เคราะห์กรรมบาดแผลทางใจ หรือเรื่องโศกเศร้า สามารถคงไว้ซึ่งความคงที่และระดับสุขภาวะของการทำหน้าที่ทางกายแะจิตใจเมื่อเผชิญความยากลำบาก โดยสามารถทำกิจกรรม ประจำวันได้ ยังมองชีวิตในแง่ดี ไม่สับสนและกลับสู่สภาพเดิมได้อย่างรวดเร็ซ
ความเข้มแข็งทางจิตใจ คือ กระบวนการที่มีพลังและความคิดสร้างสรรค์ที่บุคคลแสดงออกมา ซึ่งเป็นการปรับตัวในเชิงพฤติกรรมทางบวก เมื่อเผชิญกับเคราะห์กรรมหรือบาดแผลทางจิตใจ โดยที่บุคคลสามารถประคับประคองตนเองให้ผ่านพ้นสถานการณ์ที่ยากลำบากมรสุมหรือความหระทบกระเทือนทางจิตที่รุนแรงได้อย่างมีประสิทธิภาพ และกลับคืนสู่สภาวะเดิมได้...
วันจันทร์ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2560
์Nation Security and King
เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเรียนรู้เกี่ยวกับการปกครองแบบประชาธิปไตยจากประเทศต่างๆ ในยุโรปด้วพระองค์เอง และจากประสบการณ์ของพระองค์ที่ได้รับเมื่อครั้งอยู่ต่างประเทศ จึงมีอิทธิพลต่อแนวคิดทางการปกครองประชาชนของพระองค์ด้วยทั้งสองพระองค์
พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าฯ ทรงชี้ให้เห็นว่า พระมหากษัตริย์ทรงเป็นมนุษย์ ที่ทรงอยู่ในฐานะของผู้นำประเทศ โดยความยินยอมพร้อมใจของประชาชนทุกคน ทั้งนี้เพราะอำนาจในการปกครองแผ่นดินของพระมหากษัตริย์นั้น ได้มาจากการที่ประชาชนแต่ละคนยอมสละอำนาจของตนมอบให้แก่พระมกากษัตริย์ ที่จะใช้อำนาจนั้นปกครองประเทศเพื่อความเจริญของส่วนรวม
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีแผนเปลี่ยนแปลงการปกครองให้เป็ฯระบอบประชาธิปไตย ในต้นปี 2475 แต่คณะราษฎรได้ทำการยึดอำนาจจากพระมหากษัตริย์ และเปลี่ยนแปลงการปกครอง...
"ข้าพเจ้าเห็นว่าคณะรัฐบาลและพวกพ้อง
ใช้วิธีการปกครอง ซึ่งไม่ถูกต้อง
ตามหลักการของเสรีภาพในตัวบุคคล
และหลักความยุติธรรม ตามความเข้าใจของข้าพเจ้า
ข้าพเจ้าไม่สามารถที่จะยินยอมให้ผู้ใดคณะใด
ใช้วิธีการปกครองอย่างนั้น ในนามของข้าพเจ้าต่อไปได้
ข้าพเจ้ามีความเต็มใจที่จสละราชอำนาจ
อันเป็นของข้าพเจ้าอยู่แต่เดิมให้แกราษฎรโดยทั่วไป
แต่ข้าพเจ้าไม่ยินยอมยกอำนาจทั้งหลายของข้าพเจ้า
ให้แก่ผู้ใด คณะใดโดยเฉพาะเพื่อใช้อำนาจนั้นโดยสิทธิขาด
และโดยไม่ฟังเสียงอันแท้จริงของราษฎร"
2 มีนาคม 2477
คณะราษฎรประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับแรก เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นก่อให้เกิดการแย่งชิงอำนาจกัน ระหว่างทหารกับพลเรือน และทหารด้วยกันเอง ในระยะแรกของการเปลี่ยนแปลงเป็นยุคประชาธิปไตยแบบไทยๆ กึ่งเผด็จการที่เต็มไปด้วยความวุ่นวายและสับสน ล่วงเข้า
รัชสมัยรัชกาลที่ 8 ในวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ล้นเกล้ารัชกาลที่ 8 ก็ถูกปลงพระชนน์และโยงเข้าหาการเมือง นายปรีดี พนมยงค์ได้เสนอพระอนุชาขึ้นครองราชย์ในวันเดียวกัน พร้อมเกิดความวุ่นวายในบ้านเมือง การฉวยโอกาส กับคำกล่าวที่ว่า ปรีดี ฆ่าในหลวง..ทำให้ไม่ยึดมั่นในสัจจะ กลายมาเป็นวัฒนธรรมทางการเมืองไทยในการขึ้นสู่อำนาจนับแต่นั้นมา..
การเมืองไทยจึงเป็นการแก่งแย่งอำนาจระหว่างผ่ายกลุ่มผู้นำในคณะราษฎร์ และมีการแก่งแย่งชิอำนาจระหว่างฝ่ายทหารและฝ่ายพลเรือน ก่อให้เกิดความไม่แน่นอนและไม่มั่นคงทางการเมือง เมื่อฝ่ายพลเรือนถูกผลักออกมานอกวงการเมือง ผู้นำฝ่ายทหารเองก็แก่งแย่งอำนาจการปกคอรงในยุคต่อมา โดยมีพลเรือนอยู่รอบนอก
การปกครองของไทยนั้น การเปลี่ยนแปลงการปกครองหรือระบอบการปกครองไม่ใช่ปัญหาสำคัญ แต่การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่และนักการเมือง หรืออาจกล่าวได้ว่าปัญหาที่แท้จริงคือปัญหาของคุณภาพของการเป็นคนของแผ่นดิน
ในวันที่ 5 พฤษภาคน พ.ศ. 2493 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ตั้งพระราชลพิธีบรมราชาภิเษก พระองค์ทรงพระรชาทางพระปฐมบรมราชโองการว่า
" เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์แห่งมหาชนชาวสยาม"
5 เมษายน พ.ศ. 2525 พระบามสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระบรมราโชวาท ในพระราชพิธีบวงสรวงสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า ณ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง เนื่องในการพระราชพิธีสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี ว่า
" การรักษาอิสรภาพและความเป็นไทยให้ดำรงมั่นคงยืนยาวไป ถือว่าเป็นกรณียกิจอัน
สำคัญสูงสุด นอกจากต้องอาศัยการบริหารประเทศที่ฉลาด สามารถและสุจริตเป็นธรรมแล้วยังต้องอาศัยความร่วมมือสนับสนุนจากประชาชนทังประเทศด้วย คือ ประชาชนแต่ละคนจะต้องขวนขวาย สร้างสรรค์
12 มิถุนายน 2549 ทรงดำรัสตอบผุ้เผ้าทูลละอองธุลีพระบาทถวายพระพรชัยมงคึล ในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม
" คุณธรรมซึ่งเป็นที่ตั้งของความรัก ความสามัคคีที่ทำให้คนไทยเราสามารถร่วมมือร่วมใจกัน และรักษาและพัฒนาชาติบ้านเมืองให้เจริญรุ่งเรืองสืบต่อกันไปได้ตลอดรอดฝั่ง
ประการแรก คือการที่ทุกคนคิดพูดทำด้วยความเมตตา มุ่งดี มุ่งเจริญต่อกายต่อใจต่อกัน
ประการที่ 2 คือ การที่แต่ละคนต่างช่วยเหลือเกื้อกูลกันประสานงานประสานประโยชน์กันให้งานที่ทำสำเร็จผล ทั้งแก่ตน แก่ผู้อื่น และแก่ประเทศชาติ
ประการที่ 3 คือ การที่ทุกคนประพฤติปฏิบัติตนสุจริต ในกฎกติกา และในระเบียบแบบแผนโดยเท่าเทียมเสมอกัน
ประการที่ 4 คือ การที่ต่างคนต่างพยายามทำความคิดความเห็นของตนให้ถูกต้องเที่ยงตรงและมั่นคึงอยู่ในเหตุผล หากความคิดจิตใจและการประพฤติปฏิบัติที่ลงรอบเดียวกัน ในทางที่ดีที่เจริญนี้ยังมีพร้อมมูลในกายในใจคนไทย ก็มั่นใจว่า ประเทศชาติไทยจะดำรงมั่นคงอยู่ไปได้"
และทรงมีพระราชดำรัชตอนหนึ่ง ที่ตรัสขอบพระทัยพระราชอาคันตุกะที่เข้าเฝ้าฯ ถวายพระพรชัยมงคล ณ พระที่นังอนันตสมาคม ในวันเดียวกันนั้นว่า
" ข้าพเจ้าใคร่จะกล่าวแก่ทุกท่านว่า การทำนุบำรุงประเทศชาตินั้นมิใช่เป็นหน้าที่ของผุ้หนึ่งผุ้ใดโดยเฉพาะหากเป็นภาระความรับผิดชอบของคนไทยทุกคน ที่ต้องขวนขวายกระทำหน้าที่ของตนให้ดีที่สุดเพื่อธำรงและพัฒนาชาติบ้านเมืองให้เจิรญมั่นคงแลผาสุกร่มเย็นข้าพเจ้าในฐานะที่เป็นคนไทยคนหนึ่ง จึงมีภาระหน้าที่เช่นเดี่ยวกันกับคนไทยทั้งมวล จึงของขอบใจทุกๆ คน ที่ต่างพยายามกระทำหน้าที่ของตน ด้วยเต็มกำลังความสามรถ"
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลฯ ทรงดำเนินพระราชวิเทโศบาย ทำให้ไทยเป็นที่ยอมรับและรู้จักกันทั่วโลก จนกระทั่ง "พระประมุขและพระราชวงศ์จากราชอาณาจักรตา่งๆ เสด็จมาประชุม ณ ราชอาณาจักรไทยโดยพร้อมเพรียงกัน สิ่งนั้นย่อมเป็นปัจจัยสำคัญอีกส่วนหนึค่งที่จะเกื้อกูลให้สัมพันธภาพ มิตรภาพ และความร่วมมือระหว่างราชตระกูล และความร่วมมือระหว่างตาชตระกูล ปละราชอาณาจักรทั้งปวงดำรงมั่นคง ทั้งเจริญงอกงามและแน่นแฟ้นยิ่งๆ ขึ้นไป " ซึ่งในครั้งนั้นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งบรูไน ดารุสซาลาม ในฐานะทรงเป็นผุ้แทนพระประมุขและพระราชวงศ์ต่างผระเทศ ได้ถวายพระพรชยมงคลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ พระที่นั่งบรมราชสถิตยมมโหฆาร เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2549 มีใจความว่า " ข้าพระองค์ องค์พระประมุข และพระราชอาคัฯตุกะทุกพระองค์ ได้มาพร้อมเพรียงกัน ณ ที่นี้ ก็เพื่อถวายพระพรแต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยุ่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตพระบรมราชินีนาถ ผู้เป็นที่รักของพระองค์ด้วยความเคารพ ชืนชมในพระบารมีล้นพ้น ตลอดจนเพื่อความปรารถนาดีอย่างจริงใจ ให้แก่ปวงชนชาวไทยทุกคน
60 ปี ที่พระองค์ทรงครองสิริรราชสมบัติ มิได้เป็นเพียง 60 ปี ในประวัติศาสาตร์ของชาติไทย แต่เป็น 60 ปี ที่ประวัติศาสตร์ของเราทุกคน เป็นประวัติศาสตร์ที่ประสบทั้งสิ่งที่ดีและสิ่งร้าย ทั้งความปลื้มปิติ และความโศกเศร้า ทั้งเรื่องที่น่าตื่นเต้นยินดี และเรื่องที่น่าสิ้นหวังและทุกครั้งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงใช้พระราชปรีชาญาณ พระสติปัญญา พระวิริยะ อุตสาหะ ตลอดจนความองอาจและกล้าหาญที่พระองค์ทรงมีอยู่อย่างท่วมท้น ในการนำประเทศให้พ้นภัย พรเปรีชาสามารถของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นศูนย์รวมแห่งแรงบันดาลใจให้แก่ประชาชนของพระองค์ตลอดมา..
วันนี้ ประชาคมโลกต่างตระหนักถึงความสำเร็จทั้งหลายทังปวงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หม่อมฉัน องค์พระประมุขและพระราชาอาคันตุกะทุกพระองค์ ที่มาพร้อมเพียงกัน ณ ที่นี้ จึงมีความปลาบปลื้มปิติยินดีเป็นอย่างยิ่ง ที่องค์การสหประชาชาติทูลเหล้าทูลกระหม่อมถวายรางวัลความสำเร็จอันสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์แด่ฝ่าพระบาท แต่หม่อมฉันตลอดจรองค์พระประมุขและพระราชอาคัฯตุกะทุกพระองค์ที่มีไมตรีจิต พรั่งพร้อมกันมาร่วมงานในวันนี้ ของวถายพระราชสมัญญาที่เรียบง่าย แต่มีค่า และสะท้อนถึงความรู้สึกของหม่อมฉันและทุกพระองค์ ณ ที่นี้ คือ ฝ่าพระบาททรงเป็นมิตรที่รัก และพึงเคารพอย่างที่สุดของพวกเรา"
King and Nation Security
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงขึ้นครองราชด้วยพระชนม์เพียง 15 ชรรษา ยึ่แนวทางที่สมเด็จพระราชบิดาทางวางไว้ ด้วยการออกเยี่ยมราษฎร และปฏิรูปการปกครองด้วยการเลิกระบบการเกณฑ์แรงงานจาำประชาชน ใช้วธีการเก็บเงินราชการแทน ทรงตั้งกองทหารประจำการแทนเพื่อปฏิบัติการรบในยามสงคราม และทรงประกาศ เลิกทาส ทรงกระจายอำนาจไปสู่คณะเสนาบดี จัดระบบการปกครองให้เป็นระเบียบ เพื่อประสิทธิภาพในการบริหารประเทศ
ขณะเดียวกันทรงเห็นว่า ชาติมหาอำนาจตะวันตกยึดครองดินแดนต่างๆในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้จนทั่ว และกำลังคุกคามดินแดนไทย จึงจำเป็นต้องจัดให้มีการปฏิรูปการปกครองในเมืองไทย เพื่อมิให้ต่างชาติถือเป็นข้ออ้างในการเข้ายึดอำนาจการปกครอง
เนื่องจากความเยาว์วัยของกษัตริย์และกอรปกับความมีอำนาจอย่างยิ่งของขุนนางผู้ใหญ่ พระองค์สึคงต้องแสวงหาฐานกำลังที่จะสนับสนุนให้ทรงสามารถคานอำนาจของอีกฝ่าย และทรงเห็นว่าขุนนางหัวใหม่และประชาชนจะเป็นฐานกำลังสำคัญอย่างยิ่ง พระองค์จึงทรงยึคดมั่นในการปกครองโดยธรรมและให้ความใกล้ชิดกับประชาชน
พระราชกรณีกิจนี้เองที่ได้เปรียนทัศนะคติ และเพิ่มความจงรักภักดีของประชาชนต่อพระเจ้าแผ่นดินซึ่งยังคงมีผลกระทั่งตราบเท่าทุกวันนี้ คือ การทรงปลอดพระองค์เป็นสามัญชนออกเยี่ยมราษฎร ทรงคลุกคลีเสวยพระกระยาหาร ร่วมทำอาหารกับราษฎร ผลจากราชกรณียกิจนี้ทำให้เกิดเสถียรภาพมากขึ้น
ต่อมาทรงประกาศตั้ง สภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน มีสมาชิก 12 คน เพื่อเป็นที่ปรึกษาและ่วยกำหนดนโยบลายบริหารประเทศรวมทั้งคอยยับยั้งคัดค้านหากพระองค์มีนโยบายที่ผิดพลาด
ทรงมีพระบรมราโชวาท พระราชทานแก่สมเด็จเจ้าฟ้าวชิรุณหิศ พระบรมโอรสาธิราช ว่า
" พระมหากษัตริย์มิใช่ผู้มั่งคั่ง และมีอำนาจที่จะกดขี่ประชาชนได้ หากแต่เป็นนายผุ้น่าสงสารที่จะต้องทำงานหนักเพื่อความสุขของประชาชน และถ้าพระมหากษัตริย์ไม่ทรงสามารถปฏิบัติหน้าที่ของพระองค์ได้ พระองค์ก็ไม่สามารถจะปกครองแผ่นดินได้เช่นกัน"
ทรงตั้ง สภาองค์มนตรี จำนาน 49 คนเพื่อทำหน้าที่ต่างพระเนตรพระกรรณ
สภาทั้งสองเป็นการเคลื่อนไหวการกระจายอำนาจการปกครองสู่สมาชิกสภาและฝึกฝนสมาชิกให้รู้จักออกเสียงแสดงความคิดเห็น เพื่อช่วยกันพัฒนาประเทศ
แต่การปฏิรูปดังกล่าวต้องหยุดชะงักเมือขุนนางฝ่ายอนุรักษ์นิยม(หัวเก่า)ขัดขวางอย่างรุนแรงในรูปแบบต่าง ๆ กระทั่งผู้นำฝ่ายอนุรักษ์ถึงแก่อนิจกรรม ฝ่ายค้ดค้านเสือมอำนาจลง
กระทั่ง ปี ร.ศ. 103 ( พ.ศ. 2428) เจ้านายและขุนนาง ที่ได้ไปศึกษาและปฏิบัติหน้าที่ในยุโรป ทราบถึงนโยบายการล่าอาณานิคมของตะวันตก ซึ่งเป็นภัยจากตะวันตกที่กำลังคุกคามไทย จึงนำความกราบบังคมทูล รัชกาลที่ 5 ใจความว่า ประเทศไทยด้อยพัฒนา ประเทศทางตะวันตกจะเข้ามาปกครองเพื่อช่วยพัฒนาประเทศไทย..เปรียบได้กับการจับจองไร่นา ถ้าเจ้าของไม่สามารถทำประโยชน์ให้เกิดขึ้นได้ ก็สมควรที่จะให้ผุ้อื่นเข้ามาทำประโยชน์ต่อไป.. การปกครองที่ชาวตะวันตกเห็นว่าล้าหลังคือการปกครองในระบบสมบูรณาญาสิทธิราชที่อำนาจในการปกครองอยู่ที่พระมหากษัตริย์ลำพังเพียงพระองค์เดียว ซึ่งเป็นเรื่องสุดวิสัยที่จะควบคุมบริหารทั้งปวงให้มีประสิทธิภาพได้ ...
หนทางที่จะพ้นภัยคุกคามในครั้งนี้คอ ต้องจัดให้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นแบบประชาธปิไตยตามแบบตะวันตก ซึ่งหากจัดให้มีการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวก็จะเกิดความเชื่อถือในหมู่ชาวต่างชาต การคุกคามจะลอน้อยลงไป แต่ประเทศไทยในขณะนั้นยังไม่พร้อมที่จะเป็นประชาธิปไตยโดยสมบูรณ์แบบ แต่ก็เห็นสมควรที่จัดให้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองบางส่วน เพื่อเตรียมการสำหรับที่จะเป็นประชธิปไตยในอนาคต การเปลี่ยนแปลงต่างๆ เช่น
- ที่มาของอำนาจ โดยให้มีการกระจายอำนาจในการกำหนดนโยบายและบริหารงานไปสู่คณะเสนาบดี บทบามของกษัตริย์จจึงมิใช่ผู้อำนาจสิทธิขาดในการกำหนดนโยบายต่างๆ เพียงลำพัง
- ให้มีเกณฑ์ที่แน่นอนเกี่ยวกับการสืบสันตติวงศ์ โดยมิต้องให้คณะเณาบดีเป็นผู้พิจารณา อันเป็นหนทางให้คณะเสนาบดีใช้อิทธิพลและสร้างอำนาจให้ตนเองและเป็นปัญหาในการปกครองต่อไป
- ป้องกันการใช้อำนาจทุจริตในวงรัฐบาล จัดให้ข้าราชการได้รับเงินเดือนอันสมควรแก่ภาระหน้าที่
- ยกเลิกธรรมเนียมประเพณีอันใด ที่จะเป็นเครื่องกีดขวางความเจริญก้าวหน้าของประเทศ
- ให้ประชาชนและข้าราชการมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น อันจะเป็นประโยชน์แก่บ้านเมือง การแสดงความคิดเห็นให้ปรากฎแก่สาธารณะนี้กระทำได้โดยผ่านหนังสือบพิมพ์หรือในที่ประชุม แต่บุคลที่ใช้เสรีภาพในทางที่ผิด เช่น กล่าวร้ายป้ายสี ให้มีการลงโทษ
- การคัดเลือกบุคคลเข้ารับราชการ ให้คำนึงถึงที่ความสามารถและความประพฤติเป็นสำคัญ
จากตรงนี้จะเห็นถึงประปรีชาสามารถในการปกครองและสร้างความมั่นคงให้เกิดในการปกครองบ้านเมือง กล่าวคือ ไม่เปลี่ยนแปลงเร็วเกินไป ซึ่งการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและฉับพลันจะก่อให้เกิดความสับสนวุ่นวาย ประชาชนและข้าราชการปรับตัวไม่ทัน อาจเกิดการแข็งข้อขัดขืนจากผู้เสียอำนาจ เป็นต้น หรือไม่เรียนแปลงในลักษณะที่ช้าเกิดไป ซึ่งจะทำให้เกิดภัยคุกคามจากชาติตะวันตก
วันอาทิตย์ที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2560
Security
"... ฟ้ากระแฉ่นเรือนผยองช่วยดู เอาธงเปนหมอกหว้าย
เจ้าผาหลวงผากลายช่วยดู แสนผีพึงยอมท้าวฯ
เจ้าผาดำผาเผือกช่วยดู หันย้าวปู่สมิงพลาย
เจ้าหลวงผากลายช่วยดูฯ
ดีร้ายบอกคนจำ ผีพรายผีชรหมื่นคำช่วยดู
กำรูคลื่นเปนเปลว บ่ซื่อน้ำตัดคอฯ
ตัดคอเรวให้ขาด บ่ซื่อล้าออเอาใส่เล้าฯ
บ่ซื่อนำอยาดท้องเปนรุง บ่ซื่อหมาหมีหมูเข่นเขี้ยว
เขี้ยวชาชแวงยายี ยมราชเกี่้ยวตาตคาวช่วยดูฯ
ชื่อทุณพีตัวโตรด ลมฝนฉาวทั่วฟ้าช่วยดู
เคล้าเคลื่อกเปลวลาม สิบหน้าเจ้าอสุรช่วยดู
พระรามพระลักษณชวักอร แผนทูลเขาเงือกปล้ำช่วยดูฯ..."
บางส่วนจาก ลิลิตโองการแช่งน้ำ"
ความมั่นคงของมนุษย์ คือ การที่บุคคลแต่ละคนได้รับความเท่าเที่ยมกันใรเรื่อหลักประกัน สิทธิ ความปลอดภัยและโอกาสในการตอบสนองต่อความจำเป็นขั้นพื้นฐานตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตาย ตลอดจนการมีคุณภาพชีวิตที่ดีปราศจากความกลัวและความขาดแคลนอยู่ในสังคมได้อย่างมีเกี่ยรติและมีศักดิ์ศรี
องค์ประกอบความมั่นคงของมนุษย์ ดังนี้
- ความมั่นคงด้านสุขภาพ หมายถึง การที่มนุษย์มีความสุขภาวะทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ
- ความมั่นคงของมนุษย์ด้านอาหาร หมายถึงสิ่งที่มนุษย์จำเป็นต้องบริโภคเพื่อการดำรงชีวิตอย่างเพียงพอ เหมาะสม มีประโยชน์และปราศจากโทษ
- ความมั่นคงด้านการศึกษา หมายถึง การเข้าถึงบริการด้านการศึกษาพื้นฐานของรัฐในทุกรูปแบบ (ในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย) โดยครอบคลุมองค์กรความรู้และข้อมูลข่าวสารที่มนุษย์จำเป็นต้องรับรู้และเข้าใจเพื่อการดำรงชีวิตอย่างสอดคล้องกับความสามารถในการรับรู้ข้อมูลของกลุ่มเป้าหมายโดยปราศจากการครอบงำ
- ความมั่นคงของมนุษย์ด้านศาสนาและความเชื่อ หมายถึง การดำรงชขีวิตของมนุษย์โดยมีหลักธรรม คำสอนที่มนุษย์ยึดถือศรัทธา
- ความมั่นคงของมนุษย์ด้านที่อยู่อาศัย หมายถึง การที่มนุษย์สามารถใช้ชีวิตส่วนตัวในอาคารหรือสิ่งก่อสร้างที่มีความมั่นคง และปลอดจากการไล่รื้อ ไล่ออก หรือการเวนคืนที่ไม่เหมาะสม
- ความมั่นคงของมนุษย์ด้านสิ่งแวดล้อม หมายถึง สภาพของความสัมพันธ์ที่มนุษย์ต้องกี่ยวข้องกับธรรมชาติที่แวดล้อม และเป็นผลต่อการดำรงชีวิต ได้แก่ ดิน น้ำ อากาศ และธรรมชาติส่วนอื่นๆ ทั้งนี้ ธรรมชาติที่แวดล้อมดังกล่าวต้องปลอดจากสิ่งปนเปื้อน และปลอดจากการถูกทำลาย
- ความมั่นคงของบมนุษย์ส่วนบุคคล หมายถึง ความมั่นคงปลอดภัยจากความรุนแรงทางกายภาพ และภัยคุกคามจาปัจจัยทั้งปวงที่มีต่อบุคคล ได้แก่ การประทุษร้าย อาชญากรรม การทำงาน อุบัติเหตุ และภัยคุกคามจากตนเอง เช่น การทำร้ายเด็ก การข่มขืน การทรมานร่างกาย การใช้สารเสพติด และการฆ่าตัวตาย (ภัยคุกคามต่อตนเอง) เป็นต้น
- ความมั่นคงของมนุษย์ด้านครอบครัว หมายถึง การที่มนุษย์มีสิทธิและความชอบธรรมตามกฎหมายของบุคคลในการตัดสินใจเลือกคู่และเลือกมีทายาทด้วยความพึงพอใจร่วมกัน ทั้งนี้ต่างฝ่ายต่างมีหน้าที่อันเหมาะสมที่พึงปฏิบัติต่อกัน โดยมี การให้คำปรึกษาแนะนำทั้งก่อน ระหว่าง และภายหลังการครองคู่ ในกรณีที่มีปัญหาอันเกิดจากความขัดแย้งกัน ย่อมมีสิทธิรับคำปรึกษา แนะนำ และความช่วยเหลือจาหน่วยงานที่เชียวชาญเฉพาะเพื่อให้เกิดความมั่นคงในครอบครัวในานะที่เป้นสภาบันพื้ฐ.านของสังคม และการปลอดจากการคุกคาม ครอบงำจากสมาชิกในครอบครัว
- ความมั่นคงของมนุษย์ด้านชุมชน หมายถึง การที่มนุษย์สามารถดำรงอยู่ในกลุ่มคนแห่งใดแห่งหนึ่งซึ่งมีการติดต่อสัมพันะ์กันในช่วงระยะเวลาที่ต่อเนื่องโดยการดำรงอยู่นั้นสามารถคงความเป็นอัตลักษณ์ของตน มีสิทธิ โอกาส และศักดิ์ศรี ตลอดจนปลอดจากภาวะคุกคามและครอบงำจากสมาชิกชุมชน กรณีมีความขัดแย้งใช้การแก้ปัญหาอย่างสันติ
- ความมั่นคงของมนุษย์ด้านการเมือง หมายถึง การที่มนุษย์สามารถดำรงชีวิตในสังคมโดยมีสิทธิ โอกาส และศักดิ์ศรีในการเข้าถึงอำนาจการตัดสินใจ และากรรับผลประโยชน์สาธารณะ โดยปลอดจากกรคุกคาม ครอบงำจากผู้มีอำนาจและอิทธิพลอื่นๆ
นักวิชาการกล่าวว่า ความมั่นคงของมนุษย์จะเกิดขึ้นได้จะต้องมีมาตรการและกลไกดูแลคุ้มครองดังนี้
การพัฒนาสังคม เป็นการพัฒนาทุกส่วนของสังคมให้เข้มแข็งและมีคุณภาพ
สวัสดิการสังคม เพื่อช่วยเหลือให้ทุกคนในสังคมมีชีวิตความเป็นอยู่ได้มาตรฐาน
ป้องกัน คนในสังคมอาจจะมีปัญหา/ความยากลำบากต้องป้องกัน เช่น ปัญหาด้านสุขภาพ
คุ้มครอง มองว่า คนจะเจอภัยพิบัติอะไรบ้าง จะต้องมีการคุ้มครองเป็นมาตรฐานขั้นต่ำ
รองรับ เป็นที่มาของแนวคิดโครงข่างความคุ้มครองทางสังคมว่าแม้จะมีมาตรการทั้ง 4 อย่างข้างต้นแล้วก็อาจมีคนตกหลุมทางสังคม เช่น ปรับโครงสร้างการผลิต การเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ การสร้างเขื่อนขนาดใหญ่ จึงต้องมีการรองรับทางสังคม นอกจากนี้ ยังต้องมีมาตรการและกลไกเพิ่มเติมอีก ได้แก่ การบริหารความเสี่ยง เพื่อจัดการกับความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได้ รวมทั้งต้องมีความมั่นคงทางสังคม ในความหมายใหม่จะเชื่อมโยงกับความมั่นคงของคน
อาจกล่าวได้ว่าความมั่นคงของมนุษย์ แบ่งเป็น 2 ประการ คือความปลอดภัยจากสภาพปัญหาเรื้อรัง เช่นความหิวโหยโรคภัยการปิดกั้นสิทธิ เป็นต้น และ ประการที่สอง การได้รับการปกป้องจากากรที่แบบแผนการดำเนินชีวิตต้องถูกทำให้ยุติโดยฉับพลัน และสภาพขอวสิ่งรบกวนหรือความยุ่งเหยิงที่เกิดขึ้นโดยฉับพลัน และทำให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงไม่ว่าจะเป็นในบ้าน ที่ทำงานตลอดจนชุมชน
ภาวะการเสูญเสียความมั่นคงของมนุษย์นั้น อาจเกิดจากแรงบีบคั้นจากภัยธรรมชาติหรือการดำเนินนโยบายที่ผิดในการบริหารประเทศ หรืออาจเกิดจากสาเหตุทั้งสองอย่าง อย่างไรก็ตามพึงตระหนักว่า เรื่องความมัี่นคงของมนุษย์นั้น ไม่สามารถือได้ว่าเป็นเรื่องเดียวกันหรือมีความเทียบเท่ากันกับเรื่องการพัฒนามนุษย์ ทั้งนี้เพราะในขณะที่เรื่องการพัฒนามนุษย์เป็นเรื่องของการให้มนุษย์นั้นมีชีวิตอยู่ในวันนี้ มีสิทธิเสรีภาพที่พึงมีพึงได้และมีความมั่นใจว่าจะไม่สูญเสียสิทธิเสรีภาพเหล่านั้นไปในอนาคต อย่างไรก็ตาม ตัวเชื่อมโยงระหว่างสองเรื่องนี้ คือการยะกระดับทางโอกาสของมนุษย์ แต่ความล้มเหลวในเรื่องใดเรื่องหนึ่งอาจนำมาซึ่งความล้มเหลวในอีกเรื่องหนึ่งก็เป็นได้ อาทิ หากการพัฒนามนุษย์ที่ล้มเหลวนำมาซึ่งความยากจน โรคภัย ความหิวโหยของชุมชน ความขัดแย้งทางเชื่อชาติซึ่งจะร้างให้เกิดปัญหาด้านความมั่นคงของมุษย์ตามมาอีกด้วย
การสร้างความมั่นใจในความมั่นคงของมนุษย์นั้น จึงไม่ได้หมายความว่าประชาชนจะรับผิดชอบในการสร้างโอกาสและเรียกร้องสิทธิเสรีภาพของตนเอง แต่หมายถึงการที่ประชาขชนจะต้องมีส่วนร่วมในการรับแบกภาระอันเหนื่องมาจากการกดขี่และความไม่เป็นธรรมนั้นด้วย เพื่อช่วยกันสร้างให้เกิดความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตมากขึ้น แนวคิดเกี่ยวกับความมั่นคงของมนุษย์อีกประการหนึ่ง จึงให้น้ำหนักในเรื่องที่ประชาชนต้องสามารดูแลตนเองได โดยที่ประชาชนทุกคนควรมีโอกาส มีสิทธิในกาเข้าถึงิ่งที่มีความจำเป็นต่อตนเอง หรือมีความต้องการในการยังชีพ สามารถที่จะไ้รับความมั่นใจว่าชีวิต ชุมชน ประเทศชาติของตน และโลกนี้จะได้รับการพัฒนาไปสู่สิ่งที่ดีขึ้นกว่าเดิม
ดังนั้น ความมั่นคงของมนุษย์จึงมิได้เป็นเพียงเรื่องแนวคิดเกี่ยวกับการป้องกันเท่านั้น แต่เป็นแนวคิดเชิงบูรณาการที่จะต้องคำนึกถึงประเด็นทั้งระดับประชาชนและระดับประเทศชาติ
ความมั่นคงของชาติ
ความมั่นคงของชาติคือ การดำรงอยู่ของประเทศอย่างสงบและปลอดภัยจากอันตรายทั้งภายในและภายนอกประเทศ พร้อมทั้งมีการพัฒนาเจริญก้าวหน้าทุกด้านความมั่นคงของชาติ จึงสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งต่อความอยู่รอด ความสุขสงบ และความเจริญของประชาชนในชาติ ดังนั้น ประชาชนจึงต้องรู้หน้าที่และมีความรับผิดชอบต่อประเทศชาติของตนเพื่อ
- ดำรงไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งราชอาณาจักร
- ดำรงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
- ดำรงรักษาไว้ซึ่งพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมอันดีงามของไทย
- เสริมสร้างสวัสดิภาพและความผาสุขของประชาชน
- พัฒนาพลังอำนาจของชาติ
เมื่อปรัชญาเกี่ยวกับเนื้อหาความรู้เกี่ยวกับพื้นฐานความจริง ความรู้ แนวการปฏิบัติเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและสังคม การศึกษาปรัชญาของชาติจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะห้คนไทยรู้และเข้าใจพื้นฐานความจริงของชาติ และสามารถนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ เพื่อทำให้คนในประเทศชาติรักและดำเนินชีวิตตามแนวทางที่จะเป็นไปเพื่อความสงบสุขเจริญรุ่งเรื่องยั่งยืนของชาติ และเมื่อเกิดปัญหาในชาติ มีผู้รู้เสนอแนวแก้ไขว่า "ต้องมุ่งไปที่รากฐานปรัชญาความคิดของคนในสังคม มากกว่าการแก้ไขเฉพาะพฤติกรรมหรือความรู้สึกที่ไม่ถูกต้อง" จากคำกล่าวนี้ การรักษาความมั่นคงของชาต จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องอาศัยปรัชญาเป็นพื้นฐาน ดังผู้รู้สรุปไว้ดังนี้
- การตั้งอุดมการณ์แห่งชาติต้องมีปรัชญาเป็นพื้นฐาน โดยเฉพาะอย่งยิ่งพทธปรัชญา
- การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ต้องนำทฟษฎีสมัยใหม่มาปรับให้เข้ากับลักษณะสังคมไทยและลักษณะนิสัยของคนไทย
- การรักษาความมั่นคงของชาติ ต้องอาศัยความคิดหลักร่วมกันของประชาชน กล่าวคือ ต้องสอดคล้องกับปรัชญาการดำรงชีวิตของคนไทย เพื่อประชาชนจะได้ให้การสนับสนุน หรือมีการรวมกลุ่มเพื่อประชาชนที่ถูกต้อง
- การดำเนินการหรือการปฏิบัติเพื่อรักษาความมั่นคงของชาติ ต้องยึดหลักคุณธรรมประจำชาติ มิใช่ใช้ความรุนแรงสถานเดียว
- การรักษาความมั่นคงของชาติ ต้องเกี่ยวพันกับปรัชญาและอุดมการณ์ของชาติอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อประโยชน์แก่การดำเนินการของชาติ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...