วันอังคารที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2560

History Economic of Sounth East Asia

             เมื่อญี่ปุ่นจากไปหลังสงครามโลกครั้งที่สองพร้อมทั้งทิ้งความเสียหายทางเศรษฐกิจตลอดจนการปลูกฝั่งความเป็นชาตินิยมเอาไว้ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้แล้วปรากฎว่าบรรดาประเทศต่างๆ ในภูมิภาคนี้มีความตื่นตัวในความเป็นชาตินิยม และพยายามดำเนินการแสวงหาเอกราชจามหาอำนาจตะวันตกที่ครอบครองประเทศอยู่แม้บางประเทศ เช่น อินโดนีเซีย พม่า และเวียดนาม จะต้องต่อสุ้อย่างยากลำบากในการได้มาซึ่งเอกราช แต่ในที่สุดต่่างก็ได้รับอิสระภาพ แต่เมื่อได้รับอริสระภาพมาแล้วปัญหาต่างๆ ทั้งภายในประทเศและภายนอกประเทศมิได้หมดไป ความไม่พร้อมของรัฐบาลบางประเทศที่จะยืนหยัดด้วยตนเองปรากฎอยู่ นอกจานั้นความคิดที่วาลัทธิอาณานิคมที่เคยรุ่งเรืองอยู่ในภูมิภาคนี้ได้ถูกทำลายไปสิ้นนั้นเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องแท้จริงเป็นเพรียงการเสื่อมสลายของลัทธิอาณานิคมแบบเก่าแต่รากเหว้าของลัทธินี้ยังคงอยุ่เพียงแต่เปลี่ยนแมาเป็นรูปแบบที่เรียกว่าลัทธิอาณานิคมแบบใหม่ Neo3-Colonialism ซึ่งยังคงลักษณะแห่งการเอารัดเอาเปรียบของประเทศนายทุนอุสาหกรรม ทั้งฝ่ายตะวันตกและญี่ปุ่นไว้อย่างครบครัน การเข้ามาควบคุมเศรษบกิจในรูปผูกขาดในยุคหลังสงครามดลกนี้ บรรดาประเทศมหาอำนาจทั้งหลายได้อาศัยสถาบันระหว่างประเทศ เช่น ธนาคารโลก กองทุนการเงินระหว่างประเทศ ซึ่งตนมีอิทธิพลอยุ่เบื่องหลังเข้ามาช่วยเหลือให้การผูกขาดดำเนินโดยสะดวกยิ่งขึ้น
             ลักษณะพื้นฐานของลัทธิอาณานิคมแบบใหม่ นั้นคือ การผูกขาดทุน และระบบรัฐทุนนิยมผูกขาด ตัวอย่างของการดำเนินงานของลัทธิอาณานิคมแบบใหม่ เช่น บรรษัทข้ามชาติ ซึ่งเข้ามามีบทบาททางเศรษกิจในหลายๆ ประเทศของเอเซีย อัฟริกา และลาตินอเมริกา วิธีการนั้นมีหลายรูปแบบ เช่น การให้เงินกู้แก่ประเทศกำลังพัฒนา การใช้องค์การระหว่างประเทศที่ตนมีอิทธิพลเข้าแทรกแซงนโยบายทางเศราฏิจของรัฐบาลประเทศกำลังพัฒนาโดยให้ความช่วยเหลือเป้นเครื่องแลกเปลี่ยน ลัทธิดังกล่าวนี้ขยายตัวอยุ่ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้เรื่อยมานับจากการสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่สอง ทำให้ประเทศในภูมิภาคนี้มัวเมาอยู่กับความสะดวกสะบายจากความช่วยเหลือด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากเงินที่ได้รับ จนในที่สุดไม่อาจถอนตัวจากการพึ่งพาและภาระหนี้สินที่ท่วมท้นได้ ความเป้ฯอยู่ของประชาชนส่วนใกญ่ในประเทศเหล่านี้ไม่พัฒนาไปมากนักผลประโยชน์ต่างๆ จากความช่วยเหลือแม้จะตกกับประเทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้บ้าง แต่มิได้เป็นไปอย่างทั่วถึงและมักจะตกกับคนกลุ่มน้อยกรืผุ้ที่อยู่ในเขตเมือง นอกจากนั้นผลประโยชน์ส่วนใหญ่จะถูกดึงกลับไปยังประเทศผุ้เป็ฯเจ้าของทุนตามเงื่อนไขต่างๆ ที่ตั้งไว้
            แม้ประเทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้จะเป้นเอกราชแล้วก็ตามที แม่เมื่อพิจารณาอย่างรอบคอบแล้วจะเห็นได้ว่า ประเทศเหล่านี้ตกอยู่ใต้อิทธิพลของประเทศมหาอำนาจฝ่ายโลกเสรีหรือฝ่ายคอมมิวนิสต์ นับจากหลังสงครามโลกครั้งที่สอเป็นต้นมา ประเทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้จึงกลายเป้นกำแพงสงครามลัทธิระหว่างมหาอำนาจทั้งสองฝ่าย และผุ้ที่รับเคราะห์กรรมจากากรแผ่ลัทธิก็คือประชาชนในแถบนี้นั่นเอง ดังตัวอย่างของชาวเวียดนาม ลาว และกัมพูชา
            สภาพภายหลังสงคราโลกซึ่งแท้จริงมีรากฐานมาจากอดีตก็คือ ประเทศเหล่านี้ขาดความผสมกมลกลือนกันทั้งทางเศรษบกิจ การเมือง วัฒนธรรมและภาษาฯลฯ ตลอดจนมีความเชื่อที่ต่างกัน เช่น พม่าเชื่อนโยบายการปิดประเทศ แม้กับประเทศเพื่อนบ้าน นอกจากความแบ่งแยกระหว่างประเทศแล้วยังปรากฎว่า ปัญหาการแตกแยกภายในของหลายๆ ประเทศยังดำรงอยู่หลังสงครามโลก เช่น การแบ่งแยกประเทศเวียดนามเป้ฯสองฝ่าย กล่าวได้ว่า ความไม่สงบและการแบ่งแยกของประเทศในภูมิภาคนี้ทำให้มีอำนาจต่อรองกับประเทศมหาอำนาจต่ำ แต่ในที่สุประเทศเหล่านี้บางประเทศได้ตระหนักถึงปัญหาและความเสียเปรียบต่างๆ ที่เกิดขึ้นจึงพยายามสร้างความร่วมมือระหว่างกนในรูปต่างๆ จนกระทั่งถึงสมาคมอาเซียนซึ่งมีบทบาทสำคัญในเวลาต่อมา
           ปัญหาของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้หลังสงครามดลกครั้งที่สอง
           - ปัญหาการเลือกทางเดินของประเทศ หลังสงครามโลกนั้นปรากฎว่าประเทศในภูมิภาคนี้ต้องเผชิญกับปัญหาว่าจะเลือกพัฒนาเศรษบกิจของประเทศไปในรูปแบบใด เสรีนิยมหรือสังคมนิยม และทางด้านการปกครองจะเลือกเสรีประชาธิปไตยหรือจะเป้นเผด็จการคอมมิวนิสต์ ภายหลักงสงครามนั้นมหาอไนาจทั้งฝ่ายโลกเสรีและคอมมิวนิสต์ต่างก็คุมเชิงกันอยู่ในการช่วงชขิงอำนาจทั้งทางเศรษฐกิจและการเมืองในภูมิภาคนี้
             ในบรรดาประเทศเอกราชหลังสงครามโลกครั้งที่สองนั้นมีเพียงพม่าที่ประกาศตัวเป้ฯกลางในสงครามเย็นระหว่างค่ายทั้งสอง แม้จะได้รับความช่วยเหลือจากประเทศทั้งสองฝ่าย ด้านระบบเศรษฐกิจนั้นมีทางเลือกต่่างๆ กัน เช่น พม่าหรืออินโดนีเซีย เลือกระบบเศรษฐกิจแบบมาร์ก(ในสมัยซูการ์โน) ซึ่งอาจเป็นเพราะเห็นว่าประเทศของตนยังไม่มีความมั่นคงพอ ดังนั้น การรวศูนย์อำนาจจะเป็นวิธีเดี่ยวที่จะแก้ปัญหาต่างๆ ของประเทศได้เร็วที่สุด เช่น ปัญหาทรัพย์สินซึ่งรวมทัี้งปัญหาที่ดิน การอุตสาหกรรม ชนกลุ่มนอยชาวต่างประเทศที่เข้ามาคุมเศรษฐกิจของชาติผุ้นำของพม่าและอินโดนีเซียได้แก่ปัญหาชาวต่า่งขาติเข้าครอบงำเศรษฐกิจของประเทศโดยการเข้ายึดโอนกิจการของชาวต่างชาติเข้าเป็นรัฐเสีย ในประเทศทั้งสองนี้ปัญญาชนซึ่งเป็ฯกำลังสำคัญในการต่อสุ้เพ่เอกราชนั้น มีความรู้สึกว่าการจะได้เอกราชโดยสมบูรณ์นั้นต้องขจัดนายจ้างต่างชาติ และระบบเศรษฐกิจแบบนายทุนเสียด้วย จึงเห็นว่ารัฐแบบสังคมนิยมเป็นทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด แต่ในลบางประเทศซึ่งกาต่อสู้เพื่อเอกราชมิได้มีความยุ่งยาก เช่น ฟิลิปปินส์หรือมิมิได้ตกเป็นเมืองขึ้นของใคร เช่น ไทย มักจะเลอกทิศทางที่ค่อนข้างเป็นเสรีหรือเป็นประชาธิปไตย แต่ขณะเดียวกันยังมีข้อจำกัดสิทธิของคนกลุ่สมน้อยไว้ เช่น ประเทศไทย ฟิลิปปินส์ เป็นต้น อย่างไรก็ดีการรู้จักประนีประนอมเป็นสิ่งสำคัญในอันที่จะประคองประเทศให้ดำรงยอยู่ได้อย่างมั่นคง
               - ปัญหาความยากจนของประชากรและความเหลื่อล้ำระหว่งเมืองกับชนบท เป้ฯรากฐานตั้งแต่อดีตต่อมาจนหลังสงครามโลกครั้งที่สองกระทั่งในปัจจุบัน
               - ปัญหารความขาดเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งเป็นผลมาจาการมีเศรษฐกิจขึนกับสินค้าออกเกษตรกรรมเพียงไม่กี่ประเภท ในขณะที่มีการสั่งสินค้าเข้าอุตสาหกรรมมาก จึงมักประสบปัญหาการขาดดุลชำระเงิน
               - ปัญหาการว่างงานและการเพิ่มขึ้นของประชากร การว่างงานเป็นปัฐหาที่มีความสำคัญต่อประเทศในเอเซียตะวันออกเฉยงวใต้อย่างมาก หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา ปัญหาทวีความรุนแรมากขึ้น เมื่อมีการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ถึงกับกล่าวได้ว่าปัญหาการว่างงานและการเพิ่มขึ้นของประชากรคือ ระเบิดเวลาของเอเซียตะวนออกเฉียงใต้ หากมาตรการต่างๆ ที่ดำเนินไปเืพ่ควบคุมอัตราประชากรให้เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจไม่ประสบความสำเร็จซึ่งจะถึงเวลาวิกฤตในไม่ข้า
             -ปัญหาการบริหารที่ไม่มีประสิทธิภาพและการทุจริตในหน่วยงาน เป้นปัญหาหนักที่แก้ไม่ตกในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ อาจด้วยความยากจนหรือการบริากรงานที่เละหลวม ทำให้การทุจริตมีมากในประเทศแถบนี้ มีผุ้ประมาณว่าการทุจริตในอินโดนีเซียมีประมาณ 30 % ของรายได้ประชาชาติ มีผุ้กล่าวว่ารัฐบาลแถบเอเซียใต้และเอเซียตะวนออกเฉียงใต้เป้นรัฐที่อ่อนเหลว แลอาจเป็นเพราะผุ้นำไม่เต็มใจที่จะแก้ปัญหาทุจริตในราชการหรือเป็นเพราะผุ้นำไร้ความสามารถก็ได้ การทุจริตอย่างมากมายนั้นย่อมมีส่วนทำลายการพัฒนาประเทศ เพราะเมื่อควาททุจริตแพร่ไปในงางานต่างๆ เช่น ขบวนการยุติธรรมย่อมทำให้เกิดความไม่เที่ยวะรรมได้ และหากผลของการทุจริตไปกระทบกับคนส่วนใหญ่อาจก่อให้เกิดปัญหารุนแรงถึงขึ้นจราจลได้ ซึ่งไม่เป้นผลดีต่อเสถียรภาพของประเทศ
          - ขาดการลงทุนที่มีประสิทธิภาพ ถ้าหากใช้แนวคิดการพัฒนาของนัก เศรษฐศาสตร์ ตลอดจนประสบการณ์ในการพัฒนาที่ผท่านมาของประเทศด้อยพัฒนาเป็แนวทางแล้วปัญหาของความยากจน การว่างงาน การทำงานต่ำระดับ ซึ่งเป็นปัญหาวิกฤตของเอเซียออกเฉียงใต้นั้นจะแก้ได้ด้วยวิธีการเพิ่มการลงทุนให้พอเียง ดันจะช่วยให้ประเทศเหล่่านี้มีสมรรถภาพเพ่ิมขึ้น โดนมีนโยบายลงทุนที่จะลืเกใช้ได้สามประการซึ่งมีความเกี่ยวพนอยู่คือ โดยกาเพิ่มการลงทุนในประเทศ โดยเพ่ิมการลงทุน จากต่างประเทศ และโดยการช่วยเหลือจากต่างประเทศ
          - ความไม่คล่องตัวในการโยกย้ายทรัพยากรภายในประเทศ นอกจากการขาดแคลนทุนและผุ้ประกอบการแล้วการไม่คล่อตัวในการโยกย้ายทรัพยากรหรือการจัดสรรทรัพยากรโดยไม่มีประสิทธิภาพล้วนเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการพัฒนาประเทศทั้งสิ้น ประเทศในภูมิภาคแถบนี้มักจะจัดสรรวงประมาณส่วนใหญ่เพื่อความมั่นคงของประเทศ ซึ่งอาจเป้นเพราะประสบการณ์ของแารตกอยุ่ใต้อิทธิพลของตะวันตกมานานตลอดจนมีปัญหาความแตกแยกทางการเมืองภายในด้ย ดดยเฉพาะในปะรเทศที่มีประชานหลายเชื้อชาติ หรือมีความแตกต่างกันมากๆ ทางด้านศาสนาและภาษาูดมีรัฐบาลหลายประเทศในภูมิภาคแถบเอเซียตะวันออกเแียงใต้ที่มองปัญหาของปการพัฒนาอย่งผิวเผิน โดยเชื่อว่าการวบอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลางหรืออาศัยการควบคุมของรัฐ หรือใช้รัฐวิสาหกิจ จะเป็นสิ่งที่ทำให้การพัฒนดำะเนินไปได้โดยราบรื่น
             - ปัญหาชนกลุ่มน้อย เป็นปัญหาที่ไม่อาจละเลยได้ทั้งชนกลุ่มน้อยที่เป้ฯชาวต่างชาติ และชนกลุ่มน้อยที่เป้นชาวพื้เมือง ทั้งนี้เพราะมีคามเกี่ยวพันกับความมัี่นคงทงเศรษบกิจและการเมืองของประเทศ ชนกลุ่มน้อยชาวต่างชาติมักจะมัีอิทธิพลต่อเศรษบกิจของประเทศแถบเอเซียตะวันออกเฉียงใต้มาก เช่น คนจีนในมลายู ชาวอินเดียในประเทศพม่า เป็นต้น  ทีั้งนี้ชาวต่างชาติเหล่านี้ไม่เพียงแต่ครอบงำเศรษบกิจของประเทศเอาไว้เท่านั้น แต่มักจะแผ่อิทธิพลข้าครอบงำทางการเมืองด้วยในมลายูแลในประเทศไทยนั้น ชาวจีนมักเป้ฯเจ้าของกิจการธนาคาร โรงเลื่อย โรงสีข้าว ตลอดจนกิจการต้าสส่งค้าปลีก และการเป้นแรงงานรับจ้าง ปัญหาจีนในมลายูระยะแรกๆ หลังสงครามดลกนั้นค่อนข้างรุนแรง เนื่องจากท้ังสองฝ่ายคือจีนและมลายูต่างไม่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน จึงลงเอยด้วยการแย่งชิงอำนาจทางการเมืองระหว่างเชื้อชาติ...
              ความร่วมมือระหว่งประเทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
              ก่อนหน้าที่สมาคมอาเซียนจะก่อกำเนินขึ้นมานั้น ความร่วมมือในรูปแบบองค์การต่างๆ ที่ภูมิาคนี้เข้าไปม่ส่วนร่วมมีหลายองค์การ เช่น คณะกรรมาธิการเศรษบกิจสำหรับภาคพื้นเอเซียและตะวันออกไกล, สนธิสัญญาร่วมป้องกันแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งทั่งสององค์กรเป็นองค์การความร่วมมือทางเศรฐกิจและทางการทหารจึงส่งผลให้ดินแดนแถบนี้แบ่งเป็นสองค่ย คือฝ่ายที่สนับสนุนโดยคอมมิวนิสต์กับฝ่ายของโลกเสรี ซึ่งองค์กรนี้เป็นองค์ที่มีจุดประสงค์ต่อต้านการรุกรานของคอมมิวนิสต์โดยตรง

                            - ประวัติการพัฒนาเศรษฐกิจของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้, รศ. ญาดา ประภาพันธ์,2531.
       

วันจันทร์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2560

International Political Economy

            พัฒนาการความร่วมมือด้านเศรษฐกิจระหว่างประเทศในอดีต ประเทศทั่วโลกได้เริ่มตระหนักอย่างจริงจังว่าระบบเศรษบกิจตำต่ำทั่วโลกในช่วงทศวรรษที่ 1930 หรือ The Great Depresstion ต่อเนื่องมาจนถึงสงครามโลกครั้งที่ 2 ภาวะเศรษฐกิจของโลกในช่วงนี้เกิดภาวะที่เรียกว่าสงครามทางการต้าระหว่างประเทศและสงครามทางการเงินระหว่าประเทศ สงครามทางการต้าเกิดขึ้นจากการที่แต่ละประเทศต่างมีมาตรการกีอกันทางการค้า  เรียกระบบการค้าที่ใช้ในสมัยนั้นว่า Protectionism คือระบบการต้าแบบกีดกันควลบคู่กับสงคราทางการต้า เกิดสงครามางการเงอน ซึ่งเป้นสภานการณ์ที่แต่ละประเทศใช้มาตรการลดค่าเงิน ของประเทศตน เพื่อที่จะทำให้เศรษบกิจของแต่ละประเทศและของโลกขยายตัวกลับหดตัว
          หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จุดเริ่มจ้นของการจัดระเบียบเศรษฐกิจโลก ธนาคราระหว่าประเทศเพื่อการบูรณฟื้นฟูและพัฒนา หรือเรียกย่อว่า "ธนาคารโลก World Bank", กองทภนการเงินระหว่างประเทศ IMF, ข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการต้า GATT เป็นสามหน่วยงานระหว่างปผระเทศที่ประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกจและการเมืองคือ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และฝรั่งเศส ได้สร้้างขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เพื่อแก้ไขปัญหาและจัดระเบียบการจัดการระบบเศรษฐกิจของโลกใหม่ ปัญหาเศรษบกิจที่โลกต้องเผชิญหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงมี 3 ประการ ประการแรกเป็นปัญหาเรือ่งการเงินระหว่างประเทศ ให้ IMF เป้นหน่วยงานที่ดูแลทั้งนี้ได้จัดตั้งระบบการเงินที่เรียกว่า ระบบ Bretton Wods System ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเสถียรภาพของอัตราและเปลี่ยนปัญหาประการที่สอง เรื่องการกีอดันทางการค้าให้ GATT ดำเนินการจัดการเจรจาไปสู่การต้าเสรี และปัญหาเร่องสุดท้ายคือ การบูรณะและพัฒนาประเทศที่ได้รับความเสียหายจากสงครามโลก ให้ธนาคารโลก เป็นผู้ดูแล
         ฉันทามติวอชิงตัน Washington Consensus รูปแบการแทรกแซงอธิปไตยทางเศรษฐกิจ การล่มสลายของระบบการเงิน Bretton Woods ในปี ค.ศ. 1971 และคามล่าช้าและขาดประสิทธิภาพของการเจรจาภายใต้ GATT นำไปสู่แนวคิดการปฏิรูปนโยบายเศรษฐกิจของโบกอีกครั้ง หรือที่เรียกว่า ฉันทามติวอชิงตัน ในปี 1989 เป้ฯนโยบายเศรษฐกิจที่ร่างโดยองค์กรระหว่างประเทศคือกองทุนการเงินระหว่าง
ประเทศ ธนาคารโลก และกระทรวงการคลังของสหรัฐอเมริกา เพื่อใช้เป็นข้อเสนอในการปฏิรูปเศรษบกิจของกลุ่มประเทศลาตินอเมริกาที่ประสบปัญหาเศรษฐกจและต้องขอความช่วยเหลือจาธนาคารโลกและกองทุนการเงินระหว่าปงระเทศ มีข้อสังเกตว่า ฉนทมติวอชิงตันนี้ก้าวล่วงเข้าไปในการกำหนนโยบายภายในประเทศของแต่ละประเทศ ซึ่งต่งจากที่ผ่านมาที่จำกัดเฉพาะนโบายเศรษฐกิจระหว่างปรเทศคือ เฉาพะทางด้านการเงินและการต้าระหว่างประเทศ ข้อเสนอการปรับนโยบายเศรษฐกิจภายในของแต่ละประเทศ ตามฉันทมติวอชิงตันมีองค์ประอบที่สำคัญ 3 ประการ คือ สร้างวินัยทางนดยบายเสณาฐกิจมหภาค ประการที่สองให้กลไกตลอดทำงาน ซึ่งนำไปสู่แนวนโยบายเรื่องการแปรรูปและการลดบทบาทของภาครัฐ และประการสุดท้ายเปิดตลาดให้เสรีให้ต่างชาติอย่างน้อยก็ทางด้านการต้าการลงทุน นโยบายที่นำเสนอนี้ ธนาคารโลกกองทุนการเงินระหว่งประเทศและองค์กรกระหว่างประเทศอื่น กระทรวงการคลังของสหรัฐอเมริกา รวมทังรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ต่างก็ใช้เป็นข้อเสนอแนะในการปฏิรูปนธยบายเศรษบกิจต่อประเทศสมาชิกที่ต้องการช่วยเลหือ ฉันทมติวอชิงตัน นำปไสู่ความขัดแย้งทางปรัชญาแนวคิดด้านเศรษฐศาสตร์มหภาคของสำนักต่างๆ และนไปสู่ข้อขัดแย้งในทางปฏิบัติ บางกลุ่มบางประเทศไม่เห็นด้ายกับฉันทมติวอชิงตัน เพราะเห็นว่าจะเป้นผลเสียต่อประเทศที่กำลังพัฒนา แต่จะเป้นประดยชน์ต่อประทเสที่พัฒนาและมีศักยภาพในการแข่งขันดีกว่า
           สภาพความไม่สมดุลของโลก สมรภูมิในเอเชีย นโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจตามแยวทางฉันทมติวอชิงตันได้นำไปใช้ในประเทศลาตินอเมริกาในช่วงทศวรรษที่ 1990 รวมทั้งกลุ่มประเทศในยุโรปตะวันออกที่แยกตัวออกจากสหภาพโซเวียตและเปลียนรูปแบบการบริการจัดการประเทศโดยใช้ระบบตลาดแทนการวางแผนจากส่วนกลาง สำหรับในช่วงทศวรรษที่ 2000 นี้คาดว่าแนวนโยบายเสรษฐกิจตามแนวทางของฉันทมติวอชิงตันจะถูกนำมาบังคับใช้ในประเทศเอเวีย ดดยมีประเทศสหรับอเมริกาจะเป้ฯหัวหอกที่กดดันให้ประทเศในเอเซียดำเนินนโยบายเศรษฐกิจทั้งภายในประเทศและต่างประเทศจาที่สหรัฐต้องการมารกยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพราะเกิดสภาพที่เรียกว่า "ความไม่สมดุล"ระหว่งเศรษฐกิจของประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกิจของโลก ความไม่สมดุลด้านหนึ่งเกิดขึ้นในประเทศหรัฐอเมริกา อีด้านเหนึ่งเกิดขึ้นในประเทศอเซียที่สำคัญคือ ประเทศสาธารณรับประชาชนจีน และญี่ปุ่น ความไม่สมดุลนดังกล่าวนี้นิยมเรียกว่า "Global Imbalance"ทั้งนี้เนื่องจากทั้งประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน และปรเทศญี่ปุ่นต่างก็เป็นมหาอำนาจทางเศรษบกิจของโลก ภาวะเศรษบกิจของโลกจะูกกำหนดโดยภาวะเศรบกิจของประเทศเหล่านี้นในสภาวะที่ดลกขาดความสมดุลอาจนำไปสู่ "สึนามิ"ทางเสรษฐกิจ ถ้าไม่ได้รับการแก้ไข
         
 การขาดสภาวะสมดุล หมายถึง กรณีทีประเทศสหรัฐมีการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดในระดับที่สุงและต่อเนื่อง ทำให้ประเทศสมีหนี้สูงมาก เพราะต้องกู้เงินมาใช้ในขณะที่ประทเศที่เกินดุลบัญชีเดินสะพัดและอยู่ในฐานะเจ้าหนี้ของสหรัฐอเมริกาคือประเทศในกลุ่มเอเชีย โดยมีประเทศญี่ปุ่นและประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนเป้นหลัก การขาดความสมดุลดังหล่าว แม้ที่ผ่านมาจะช่วยสร้างการเติบโตให้กับเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาและเศรษฐกิจ ของโลก แต้ถ้าหากไม่มีการปรับแก้ อาจนำไปสู่วิกฤตเศรษฐกิจอย่างรุนแรง เร่ิมจากากรขาดความเชื่อมันในเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งถือว่าเป้นเงินระหว่างประเทศ วิกฤตค่าเงินและนำไปสู่ภาวะการณ์ชะงักงันด้านการต้าและากรลงทุระหว่างปะเทศ ดังเช่นที่เยเกิดขึ้นในอดีตแต่จะรุนแรงกว่า
          ประเทศสหรัฐขาดดุลการต้าและดุลบัญชีเดินสะพัดต่อเนื่องยาวนานถึง 20 ปี รวมทั้งมีขนาดเพิ่มมากขึ้นทำลายสถิติื โดยในปี 2002 ขาดดุลการต้าที่มูลค่า 420 พันฃ้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2003 และ 2004 ขาดดุลมีมูลค่าเพิ่มเป็น 5-6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ตามลำดับการขาดดุลดังกล่าว หมายถึงประเทศสหรัฐอเมริกามีการใช้จ่ายมากว่ารายได้ที่หาได้ ขนาดของการขอดดุลบัฐชีเดินสะพันและจำนวนหนี้ที่สะสมของประทเศสหรัฐอเมริกา ถ้าเป็นประเทศอื่นจะต้องเผชิญกับวิกฤตเศรษฐกิจอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่กรณีของสหรัฐอเมริกา มีแรงจูงใจให้มีเงินทุนไหลเข้ามาชดเชย ดยดที่สหรัฐไม่ต้องขึ้นดอกเบี้ยหรือปรับเพียงเล็กน้อย รวมทั้งรัฐบาลของกลุามประเทศเอเชีย เช่น จีนและญีปุ่น ก็เต็มใจที่จะซื้อตราสารหนี้ของอเมริกา แม้จะได้ผลตอบแทนต่ำ แต่ผลประดยชน์อีกด้านหึ่งคือช่วยพยุงค่าเงินของตนเองไม่ให้แข็งค่าเมืองเที่ยบกับดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นกลยุทธ์ทสนับสนุนนโยบายการสร้างการเติบโตของแลุ่มประทเสเอเชียที่เน้นภาคส่งออกเป็นตัวนำ
           ความสัมพันธ์ภายใต้สภาพความไม่สมดุลตามที่กล่าวมา ทั้งสองกลุ่มได้ผลประโยชน์ร่วมกัน คือทั้งสองฝ่ายต่างก็เติบโตดัวยกันและต่างก็พึ่งพาซึ่งกัน เอเชียพึงพาสหรัฐในฐานะเป็ฯตลาดใหญ่ สหรัฐพึ่งพาเอเชียในฐานะที่ให้กู้ยืมรายไใย๋ การพึ่งพาดังกล่วดำเนิมาจนถึงจุดที่หลายฝ่ายเริ่มตั้งคำถามว่า การกู้ยืมนำเงินมาชดเชยกับการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดของสหรัฐอเมริกาจะเป็นอยู่อย่างนี้ตลอดไปได้หรือไม่ หรือประเทศต่างๆ จะเต็ใจที่จะถือครองหลักทรัพย์ของอเมริกาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ อย่างไม่มีพเพดามกำหนดหรอืไม่คำตอบคือสภานการณ์ทั้งสองแบบน้ไม่สมารถดำเนินต่อไปอย่างไม่มีข้อจำกัด ทั้งนี้เพราะความเชื่อมันในประเทศสหรัฐอเมริกาและความเชื่อมั่นในเงินดอลลาร์สหรัฐจะเสื่อมถอย อันจะนำไปสู่วิกฤตการเงินระหว่างประเทศอีกครั้ง...
          กลยุทธ์การปรับตัวของกลุ่มประเทศอาเซียน การกดดันทางด้านการเมืองและศรษบกิจของประเทศสหรัฐต่อประเทศอื่นทั้ที่ทำโดยตรงและผ่านองค์กรระหว่างประเทศเหล่านั้นมักเป้ฯลูกหนี่ของสถาบันการเงินระหว่างประเทศและเป็นประเทศที่สหรัฐอเมริกาให้ความช่วยเลหือ แต่ในกรรณีประเทศจีนและญี่ปุ่นซึ่งมีสถานะเปรียบเหมือนเจ้าหนี้ของประเทศสหรัฐ ถ้าประสบผลสำเร็จจะเป็นตัวอย่างที่ประเทศสหรัฐจะนไมาใช้กับประเทศอื่นๆ ในเอเชีย ตัวอย่างเช่น กระทรวงการคบลังของประทเศสหรัฐอเมริกาได้ทำรายงานที่ออกทุกครึ่งปี เพื่อประเมินอัตราและเปลี่ยนของประเทศคู่ค้าหลักของสหรัฐฯ ว่ายตุธรรมหรือไม่" ดังนั้น การต่อสู่กันในเวทีเศรษฐกิจระหว่างประเทศเคลื่อนตัวมาสู่ทวีปเอเซียและจะทวีความเข้มข้นมากขึ้น ประเทศในเอเชียจะต้องดำเนินนธยบายเศรษบกิจระหว่างประเทศทั้งทางด้านการต้าและการงินร่วมกันเพื่อเพิ่มอำนาจการต่อรองทางทั้งทางด้านเศรษฐกิจและการเมือง
          นโยบายด้านการต้า ควรต้องขยายความร่วมมือใน 2 ระดับ ระดับแรกขยายเขตเสรีการค้า ให้กว้างขึ้นทั้งนี้เพื่อขยายการค้าภายในกลุ่มให้มากขึ้น ช่วยลดการพึ่งพาตลาดสหรัฐอเมริกาและยุโรป ระดับที่สอง ปัจจุบันการรวมตัวทางการต้าของกลุ่มปรเทศเอเชียจะอยูในรูป FTA เท่านั้น จัดเป็นระดับการรวมตัวทางการต้าที่ง่ายที่สุดแต่มีข้ออ้อยมาก จึงควรพัฒนาไปสู่รูปแบบที่เรียกว่า ตลาดร่วม
          นโยบายการเงิน ในระยะสั้น นอกจากมาตรการร่วมมือกันระหว่างธนาคารชาติของประเทศในเอเชียในการกู้ยืมเงินสกุลหลักระหว่ากันหรือที่เรียกว่า "currency swap"และการจัดตั้งตลดพันธบัติเอเลีย ควรเร่งดำเนินการจัดตั้งกองทุนการเงินของเอเชีย เพื่อเป็ฯองคกการเงินในกลุ่มประเทศเอเชีย มีบ่บาทหน้าที่เหมือน IMF สำหรับระยะยาว ควรพัฒนาความร่วมมือทาเศรษฐกิจในรูปแบบที่เรียกว่า สหภาพเศรษฐกิจเอเชีย ในลักษณะเดียวกันพับที่ประเทศในกลุ่มยุโรปจัดตั้ง สหภาพเศรษฐฏิจยุโรป การรวมตัวแบบสหภพเศรษบกิจจะนำไปสู่ความร่วมมือทางนโยบายเศรษกิจด้านการิงนและากรคลังและนำไปสู่การใช้เงินร่วมกัน..(บทความ,"เศรษฐศาสตร์การเมืองระหว่างประเทศ: กลยุทธ์การปรับตัวของประเทศกลุ่มอาเซียน, ถวิล นิลใบ.)
          ...งานวิจัยชิ้นนี้ได้โต้เถียงกับข้อเสนอของทฤษฎีโลกาภิวัตน์ที่ว่ารัฐมัยใหม่นั้นกำลังมีสภาวะ "ไร้อำนาจ" โดยเฉพาะในการควบคุมระบบเศรษฐกิจของตนเอง โดยงานวิจัยได้ข้อสรุปจากากรศักษาวิจัยทั้งหมด 3 ประการคือ
            ประการที่หนึ่ง ระบบเศรษฐกิจของโลกในปัจจุบันนั้นมีลักษณะเป้ฯเสณาฐกิจระหว่งประเทศ กล่าวคือเป็นเวทีที่รัฐต่างพยายามหาผลประโยชน์ แข่งขันกัน โดยรัฐต่างๆ ใช้อำนาจและความสามารถภายในการขยายตัวในตลาดโลก แต่ไม่ใช่ระบบเศรฐกิจโลกาภิวัฒนน์ ที่เกิดตัวละครที่เป้ฯอิสระและมีลักษณธข้ามชาติ ที่สามารถกดดันให้รัฐเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐฏิจภายในของตน และในขณะเดี่ยวกันรัฐไม่สามารถเข้าควบคุมกิจกรรมใดๆ ของตนทางเศณาฐกิจเลยนั้น เป้นการกล่าวอ้างที่เกินจริงแม้ว่าในภาคการเงินระหว่างประเทศจะมีสภาพข้ามชาติบ้างแต่ไม่ใช่ทุกมิติ ส่วนในภาคการผลิต การต้าและมายาคติเรื่องบรรษัทข้ามชาตินั้น ไม่ได้มีพลังอย่างที่กล่าวอ้างไว้
          ประการที่สอง ข้อเสนอที่ว่ารัฐต่างๆ ต้องเลือกเอานโยบายทางเสณาฐกิจในกรอบเสรีนิยมสมัยใหม่มาปฏิบัติ เพื่อให้สอดประสานกับพลังของโลกาภิวัฒน์นั้นก็เป็นข้อกล่าวอ้างที่ไม่สมเหตุสมผลเช่นเดี่ยวักัน เพราะโลกาภิวัฒน์นั้นอาจจะเป็นข้ออ้างทางการเมืองเพื่อสร้างผลประดยชน์แก่รัฐที่กำลังขาดความได้เปรีียบในตลาดโลกเนื่องจากการแข่งขัน ยิ่งไปกว่านั้นจาการศึกษาพบว่า รัฐนั้นมีความหลากหลายทางโครงสร้างแลที่สำคัญที่ความสามารรถในการปรับตัว ซึ่งมีลักษณะเป้นรัฐปฏิกิริยา ดังในกรณีของประเทศในเอเชียตะวันออกเชอย่างเช่น ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ไต้หวัน และสิงค์ปร์เป้นต้น หรือแม้กระทั่วประเทศในยุโรปเองเช่นเยอรมันนี ก็ไม่ได้ดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจเสรี นิยมสมัยใหม่เพื่อยังคงความได้เปรียบท่ามกลางกระแสโลกาภิวัฒน์ทั้งนี้จะเห้นได้ว่ารัฐที่เป็นรัฐแข็งจะมีความสามารถเชิงโครงสร้างและสถาบันทางเศรษฐกิจที่สามารถประสานประยชน์และควบคุมคามสัมัพนธืระหว่างรัฐกับธุรกิจและในขณะเดี่ยวกันก็มีความสามารถในการใช้กลำกของการวางแผนและการร่วมมือในระดับภูมิภาคเพื่อขยายผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
 ประกาศสุดท้าย ความสามารถของรัฐนั้นแตกต่างกัน เพราะฉะนั้นความสามารถในการหาผลประโยชน์ในโอกาสที่โครงสร้างของเศรษฐกิจโลกเปลี่ยนแปลงไปนั้นไม่เท่ากัน โดยรัฐแข็งนั้นสามารถเป็นผุ้ได้เปรียบากว่ากรัฐอ่อน ทั้งนี้รูปแบบของการปกป้องผลประโยชน์ก็มีลักาณะเป็นการสรางความร่วมมือในรูปแบบของการรวมกลุ่มทางภูมิภาคมากขึ้นอันเป้นการสร้างความสัมพันธืเชิงกลยุทธนอกรัฐมากขึ้น
           นอกเนหือจากความสำเร็จในกาขยายความสามารถทางเศรษฐกิจของรัฐต่างๆ ในเอเชียตะวันออกและความสามารถในการปรับตัวต่อการท้าทายใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นั้นผุ้วิจัยเห้ฯว่าในอนาคตน่าจะมีรัฐที่มีรูปแบบในการดำเนินนโยบายทางเศราฐกิจใหม่ๆ เกิดขึ้น ทั้งในกรอบของความสัมพันะ์นอกรัฐ และความสัมพันธ์ภายในรัฐ อันเป็นรูปแบบที่ทดแทนกระบวนการโลกาภิวัฒน์ที่เน้นความเสือ่มกำลังของรัฐซึ่งต้องทำการศึกษาวิจัยในเชิงลึกต่อไปในอนาคต...("เศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ : ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัฒน์การรวมกลุ่มทางภูมิภาคและรัฐ".อ.วิโรจน์ อาลี, งานวิจัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,2548.)
         

วันอาทิตย์ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2560

Intergration Theory

               แนวคิดทฤษฎีการรวมกลุ่ม ได้ปรากฎขึ้นครั้งแรกในทวีปยุโรปในช่วงศตวรรษที่ 14-16 โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อต้องการรวมยุโรปตะวันตกเข้าไว้ด้วยกัน ซึ่งการรวมตัวดังกล่าวจะมีลักษณะของการผสมผสานกันทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ดยมีเป้าหมายในระยะแรกที่จะรวมให้ยุโรปตะวันตกเป้นองค์กรทางการเมือง และในขณะเดียวกันก็ต้องการจะสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนที่อยู่ในแต่ละประเทศให้มีความแน่นแฟ้นมากขึ้นด้วย กต่ในความเป้นจริงแนวคิดดังกล่าวไม่สามารถเกิดขึ้นได้ในทางปฏิบัติ เพราะในช่วงเวลาดังกล่าวยุโรปตะวันตกมีประเทศมหาอำนาจอยู่หลายประเทศ ซึ่งต่างฝ่ายต่างก็ต้องการมีอำนาจเหนือประเทศอื่นๆ ด้วยกันทัเ้งนั้น
               ต่อมาแนวคิดการรวมกลุ่มได้เริ่มปรากฎขึ้นอีกครัี้งนกึค่งเมือสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้สิ้นสุดลงพร้อมกับความเสียหายทางด้านเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นไปทั่วทุกภูมิภาคทำให้ประเทศต่างๆ ต้องการที่จะฟื้นฟูประเทศให้มีความมั่นคงขึ้นอีกครั้งประกอบกับกัารที่แต่ละประเทศมีอำนาจอธิปำตรทีเป้นตัวของตัวเงอ อีกทั้งยังมีแนวคิดแบบชาตินิยมทำใป้ประเทศต่างๆ เหล่านี้จึงได้ขยายความร่วมือและสร้างความสัมพันธ์ต่อกันอย่างกวเ้างขชวางทั้งทางด้านการเมือง เศราฐกิจ และสังคม ด้วยการกระชับความ่วมมือต่อกันทั้งใรระดับทวิภาคและพหุภาคี และได้นำไปสู่การรวมตัวเป็นกลุ่มองค์กรระหว่างประเทศในสฃที่สุด
               ปรากฎการณ์ดังกล่าวนี้เองได้ทำให้นักวิชากรทางด้านการวมกลุ่มเป้นจำนวนมากได้ไันมาสนใจศึกษา โดยในชั้นต้นนี้นักวิชาการได้แบ่งแนวความคิดการรวมกลุ่มออกเป็น 2 กลุ่ม โดยนักวิชาการกลุ่มแรกเชือ่ว่ ความก้าวหน้าทางด้านวิยาศาสตร์และเทคโนโลยีจะทำให้การติดต่อสื่อสารข้ามชาติกระทำได้โดยสะดวก แต่ในขณะเดียวกันก็จะทำให้โลกประสบกับเคราะหืกรรมที่เกี่ยวกับภัยของสงรามเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งการที่สภาวะทางด้านเศรษฐกิจของโลกที่แนวโน้มที่จะตกต่ภลงได้ส่งผลกระทบต่อมาตรฐานการครองชีพและคุณภาพชีวิตของประชกรโลกอย่งกวางขวาง ซึ่งปัญหาดังกล่าวนี้เองเป็นปัญหาร่วมกันของทุกประเทศในโลกที่จะต้องประสบ ดังนั้นจึงมีความจำเป้ฯที่แต่ละประเทศจะต้องให้ความร่วมือและช่วยเลหือซึ่งกันและกัน เพราะโดยลำพังของรัฐบาลชาติคงไม่สามารถแก้ไขปัญหาที่มีความสลับซับซ้อนเหล่านี้ลงได้ ทำให้บทบทแลอำนาจอธิปไตยของรัฐบาลชาติจึงเร่ิมลดลงเรื่อยๆ ในขณะเดี่ยวกันบทบาทและอำนาจขององค์กรระหว่างประเทศก็จะเพิ่มสูงข้นตามลำดับ
              ในขณะที่นักวิชาการอีกกลุ่มหนึ่งมีความเห็ว่า การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมในปัจจุบนไม่มีความสอดคล้องกบระบบการเมืองที่แข่งขันกันแสวงหาอำนาจ เพราะว่าแต่ละประเทศต่างก็มีพัฒนาการทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งยังให้ความสำคัญกับนโยบายทางด้านการต่างประทเศ ทำให้แต่ละประเทศจะต้องมีการติดต่อสัมพันะ์กันระหว่างประเทศเพิ่มมากขึ้นซึ่งปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ได้ส่งผลให้รฐบาลของแต่ละประเทศต้องมีกาตติดต่อสัมพันธ์ดันเพ่ิมมาากข้นเพื่อให้ได้มาซึ้งผลประดยชน์แห่งชาติของตนเป็นสำคัญ แม้ว่าจะต้องแลกมาด้วยการลดลงของอำนาจอธิไตยของประเทศตนก็ตาม
              ในขณะเดี่ยวกันนักวิชาการของประเทศสหรัฐอเมริกาก็ได้ให้ความสนใจในการศึกษาเรื่องการรวมตัวระหว่างประเทศด้วยเช่น โดยเฉพาะในช่วงที่การศึกษาประเทศสหรัฐอเมริกาได้ก้าวเข้าสู่ยุคพฤติกรรมศาสตร์ ด้วยการสร้างอิทธิพลให้กับการศึกษาทางด้านรัฐศาสตร์อย่างมีเหตุผลและเป็นวิทยาศาสตร์ แต่อย่างไรก็ตามก็ยังไม่สามารถหาข้อยุติได้ซึ่งจากการศึกษาของนักวิชาการในอดคตที่ผ่านมาพบ่า การรวมตัวกันของรัฐต่างๆ นั้นสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ลักษณะ โดยลักษณะแรก ได้แก่ การใช้อำนาจบังคับหรือการข่มขู่ด้วยกำลัง และลักษณะที่อง ได้แก่ การเห็นพ้องต้องกันในเรื่องของกระบวนการรวมตัวและโครงสร้างของสถาบันการเมืองมีการพั่งพาอาศัยกัน ทำให้รัฐสามารถรวมตัวเข้าเป้ฯอันหนึ่งอันเดียวกันและเป็นกรณีที่ทำการศึกษาใเวลาต่อมาด้วย
              ซึ่งจากการศึกษางานด้านการรวมตัวกันระหว่งประเทศของนักวิชากรด้านการรวมกลุ่มที่ผ่านมา ทำให้สรุปแนวทางการรวมกลุ่มได้ 3 ระบบ 4 ทฤษฎี ดังนี้..
             ระบบความร่วมมือ Cooperation System เป็นการรวมกลุ่มขององค์กรระหว่างประเทศหรือองค์กรของเอกชนระหว่างประเทศก็ได้ โดยจะเป็นความสัมพันธ์ในรูปแบบของรัฐต่อตัฐหรือองค์กรต่อองค์กร ถ้าเป็นในระดับของรัฐบาลก็จะประกอบด้วยตัวแทของรัฐบาลในแตละประเทศที่มารวมตัวกัน ถ้าหากเป็นองค์กรของเอกชนก็จะประกอบด้วยตัวแทนขององค์กรเอกชนในแต่ละประเทศที่เข้ามารวมตัวกัน แารรวมกลุ่มในระดับนี้สมาชิกจะมีความสำนึกในผลประโยชน์ร่วมกันของกลุ่ม โดยสมาชิกจะไม่มีการมอบอำนาจอธิปไตยของตนให้กับองค์กรส่วนกลาง แต่สมาชิกจะมีอำนาจอธิปไตยเป็นของตัวเอง มติที่ละคะแนนเสียงจะใช้มติเอกฉันท์ ประเทศใดจะรับไปปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัตก็ได้ ทำให้เสียงส่วนใหญ่จึมไผุกมัดประเทศสมาชิก ซึ่งในชั้นนี้จะเป้ฯการรวมตัวทางด้านนโยบายการต่างประเทศและนโยบายทางกาทหารซึ่งสามารถใช้ได้กับกรณีของอาเซียน
           ระบบประชาคม Community System  เป็นการรวมกลุ่มที่ประเทศสมาชิกจะมีการมอบอำนาจอธิปไตยส่วนหนึ่งให้แก่องค์กรกลาง หรือองค์กรที่มีอำนาจเหนือชาติ โดยองค์กรดังกล่าวจะมีหน้าที่ในาการควบคุมนโยบายด้านต่าๆง ตลดอจนดูแลในเรื่องผลประโยชน์ของประเทศสมาชิก โดยอธิปไำตยองประเทศสมาชิกจะมีการแบ่งกันอย่างชัดเจน การลงคะแนนเสียงจะใช้คะแนนเสียงส่วนใหญ่ของประเทศสมาชิกเป็นหลัก ประเทศที่ไม่เห็นด้วยจำเป็นต้องปฏิบัติตามด้วยระบบนี้สามารถใช้ได้กับกรณีของการรวมกลุ่มประเทศในยุโรป ซึ่งจะมีคณะกรรมาธิการรัฐสภายุโรปและคณะมนตรีเป็ฯองค์กรเหนือชาติที่คอยควบคุมอูแลองค์กรอยุ่
           ระบบสหพันธรัฐ Federal System เป็นการรวมกลุ่มที่สมชิกแต่ละประเทศจะมอบอำนาจอธิปไตยทั้งหมด ไม่ว่าจะเป้ฯทางด้านการเมือง เศรษฐกิจและสสังคมให้แก่รัฐบาลกลาง โดยรัฐบาลกลางจะมีหน้าที่คอยควบคุมดูแลผลประโยชน์ของรัฐทุกรัฐอย่างเท่าเทียมกัน อำนาจของแต่ละรัฐจึงมีเท่าที่รัฐบาลกลางมอบให้ โดยแต่ละรัฐจะไม่มีตัวแทนของตัวเองแต่จะมีตัวแทนของประชาชนทั้งหมดคอยดูแลผละประโยชน์รัฐจะไม่มีตัวแทนของตัวเองแต่จะมีตัวแทนของประชาชนทั้งหมดคอยอูแลผลประดยชน์ร่วมกัน การลงมติต่างๆ  จะใช้คะแนนเสียงส่วนใหญ่เป็นเกณฑ์ ระบบนี้สามารถใช้ได้กับกรณีของประเทศสหรัฐอเมริกา
          ทฤษฎีการรวมกลุ่ม แบ่งได้ 4 ทฤษฎี คือ
          ทฤษฎีสหพันธ์นิยม Federalism Theory เป็นแนวคิดการรวมกลุ่มของรัฐทางกฎหมายอยางเป็นทางการ ดดยเป็นการรวมกลุ่มทางการเมืองของรั้ฐตั้งแต่  2 รัฐขึ้นไปด้วยมาตรการทางรัฐธรรมนูญและรูแบบทางการเมืองที่เหมาะสม เนื่องจากมีความเชื่อว่า การรวมตัวกันน่าจะเกิดขึ้นได้ในระดับนานาชาติ ซึ่งเมือแต่ละรัฐยอมสละอำนาจอธิปไตยของตนบางส่วนให้แก่องค์กรกลางแล้ว องค์กรดังกล่าวก็จะมีหน้าที่ในการรักษาผลประโยชน์ร่วมกันของทุกรัฐ โดยทำหน้าที่ทางด้านการต่างประเทศ การเงิน การคลัง การป้องกันประเทศและด้านอื่นๆ โดยประเทศที่เกิดการรวมกลุ่มดังกล่าวประชากรจะมีลัษณะบางอย่างที่คล้ายคลึงกัน อาทิ เช่น ภาษา วัฒนธรรม หรือการอุยูใกล้ชิดกันทางภุมิศาสตร์ ซึ่งเมื่อกิดการรวมกลุ่มกันอย่างเป็นทางการแล้วหลังจากนั้นประชารในแต่ละประเทศก็จะเกิดการปรับตัวเข้าหากันได้ต่อไป
          ทฤษฎสัมพันธ์นิยม Transactionalism Theory เป็ฯแนวคิดที่ไม่ถือกรอบทางด้านกฎหมายและถาบันเป็นเรื่องสำคัญ แต่เน้นที่สภาพของการส่งเสริมและรักษาไว้ซึ่งความสำนึกในการเป็นชุมชนแห่งประชาคมเดี่ยวกัน เพื่อสร้างประชาคมให้มีความมั่นคง โดยประชาคมจะประกอบไปด้วยสถาบันต่างๆ ท้งที่เป้ฯทางการและไม่เป็นทางการ อีกทั้งสมาชิกภายในประชคมจะต้องมีกาตติดต่อสื่อสารและสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน มีประเพณีที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาหรือมีประเพณีที่ทางการได้กำหนดขึ้นโดยประเพณีต่างๆ เหล่านี้จะต้องมีความแข็งแรงและครอบคลุมขอบเขตอย่างกว้างขวางเพื่อให้สามารถควบุคุมการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นภายในกลุ่มสมาชิกได้อย่างสันติ และมีลักษระที่แน่นอนในช่วงเวลาที่นานพอควร
          ทฤษฎีภารกิจนิยม Functionalism Theory เป็นแนวคิดที่เกิดขึ้นเนื่องจากการรวมกลุ่มแบบทฟษฎีสหพันธ์นิยมไม่สามารถจัดการกับปัญหาความแตกต่างของแต่ละรัฐลงได้ ดังนั้นเืพ่อต้องการแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงเกิดทฤษฎีภารกิจนิยมขึ้น โดยตั้งอยุ่บนสมมุติฐานที่ว่า ปัญหาต่างๆ ที่นานาชาติกำลังประสบอยู่ในปัจจุบนเป็นเรื่องทางด้านเทคนิคที่มีความสลับซับซ้อนเกิดความสามารถของรัฐบาลหรือนัการเมืองในระดับชาติที่จะแก้ไขได้โดยลำพัง ดังนั้นจึงมีความจำเป้ฯที่จะต้องมอบภาระกิจเหล่านี้ให้อยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของผุ้ชำนาญการเฉพาะเรื่อง ด้วยการรวมตัวกันอย่างหลวมๆ ดังนั้นการดำเนินการข้ามขอบเขตของรัฐ โดยรัฐยินยิมเสียสลุอธปไตยของตนด้วยการมอบอำนาจทางการบริหารบางเรื่องซึ่งเป็เนรื่องที่มีวัตถุประสงค์เฉาะที่ไม่ใช่เร่องทางด้านการเมืองให้แก่องค์กรกลางเฉพาะด้านแล้ว องค์กรกลางเฉพาะด้านเหล่านี้ก็จะสามารถแก้ไปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป ซึ่งจะมีผลทำให้หน่วยทางการเมืองของรัฐโน้มเอียงเข้าหากันเพิ่มมากขึ้น ทำให้พรมแดนของรัฐค่อยๆ ลดความสำคัญลง และจะนำไปสู่สภาวะเอ่อล้น ซึ่งจะทำให้เกิดความร่วมมือในสาขาอื่นๆ ตามมา
         ทฤษฎีภารกิจนิยมใหม่ Neo-function Theory เป็นแนวคิดที่พัฒนาขึ้นมาจากทฤษฎีภารกิจนิยมเ นือ่งจาเชื่อว่าการรวมตัวกันเพื่อการแก้ปัญหาทางด้านเทคนิคเฉพาะด้านนั้นมีแนวโน้มทีจะขยายตัวออำปสู่สภาวะเอ่อล้น ซึ่งจะทำให้เกิดความร่วมมือในสาขาอื่นๆ ตามมา ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่จะต้องจัดตั้เงสภาบันกลางที่มีอำนาจเหนือรัฐ ขึ้นเพื่อทำหน้าที่ผลักดัน ส่งเสริม และเสนอทิศทางใหม่ๆ เืพ่อให้ความร่วมมือดังกล่าวดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเมื่อองค์กรปฏิบัติหน้าที่ในการส่งเสริมความร่วมมือทางด้านเศรฐกิจและสังคมมากขึ้น องค์กรเหล่านี้ก็จะพัฒนาและกลายเป็นองค์กรที่มีอำนาจทางการเมืองในที่สุด
          สมาคมประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ อาเซียน ได้ก่อกำหเนิดเมื่อ 8 สิงหาคม ค.ศ. 1967 พัฒนาการความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจของอาเซียนตลอดระยะเวลา 3 ทศวรรษที่ผ่านมาพบว่า ในทศวรรษแรกความร่วมือทางด้านเศรษกิจของอาิซียนนั้นมีค่อยข้องน้อย เพราะในช่วงเวลาดังกล่าวอาเซียนได้ให้ความสำคัญไปในเรื่องของสันติภาพและความมั่นคงในภูมิภาคเป็นหลัก ซึ่งความร่วมมือดังกล่าวได้ทำให้ประเทศสมาชิกอาเซียนในขณะนั้น 5 ประเทศมีความเข้าใจและเห็นใจซึ่งกันและกันมีการรเียนรู้และพยายามปรับตัวเข้าหากัน ประกอบกับการที่ประเทศต่างๆ ในภูมิภาคแห่งนี้ยังมีความล้าหลังและยังขาดการพัฒนาในด้านต่างๆ เป็นจำนวนมาก ดังนั้นการสร้างพื้นฐานทางด้านเศรษบกิจในสาขชาเศราฐกิจที่ำสคัญต่างๆ จึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่จะต้องดำเนินการควบคู่ไปกับการสร้างความมัี่นคงทางด้านการเมืองภายในภุมิภาคใหกลับคืนมา
          ต่อมาในทศวรรษที่ 2 อาเซียนจึงได้เริ่มมีความร่วมมือทางด้านเศรษบกิจในลักาณะของการพึ่งพากันระหว่างประเทศสมาชิกเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเป็นไปตามปฏิญญาสมานฉันท์แห่งอาเซียน ที่กำหนดให้มีความร่วมมือทางด้านเศรษบกิจเพื่อการพัฒนาทางอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการพัฒนอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ภายในอาเวียนการให้มความตกลงเรื่องสิทธิพิเศษทางด้านการต้าเพ่อส่งเนิามการค้าภายในภูมิภาค การให้มีความร่วมมือในการเข้าสุ่ตลาดภายนอกอาเซียน และการให้มีความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาสินค้าโภคภัณฑ์ระหว่างประเทศ ซึ่งใรเวลาต่อมาได้นำไปสู่การริเริ่มโครงการที่ครอบคลุมสาขาทางด้านเศรษบกิจต่าๆง โดยโครงการเพื่อการส่งเสริมการค้าภายในภูมิภาค การให้มีความร่วมมือในกาเข้าสู่ตลาดภายนอกอาเซียน และการให้มีความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาสินค้าโภคภัฒฑ์ระหว่างประเทศ ซึ่งในเวลาต่อมาได้นำไปสู่การริเริ่ม โครงการที่ครองคลุมาขาทางด้านเศรษฐกิจต่างๆ โดยโครงการเพื่อการส่งเสริมการค้าภายในภุมิภาคได้แก่ โครงการให้สิทธิพิเศษทางการค้าระหว่างกัน โครงการเืพ่อการพัฒนาทางด้านอุตาสาหกรรมได้แก่ โครงการอุตสาหกรรมอาเซียน ซึ่งเป็นโครงการที่เน้นการพัฒนาประสิทธิภาพในการผลิตของภุมิภาค ตามมาด้วยโครงการแบ่งผลิตทงอุตสาหกรรมอเาซีย และโครงการร่วมลงทุนทางอุตสาหกรรมอาเซียน ซึ่งโครงการทั้ง 4 โครงการที่อเาซียนได้ริเริ่มและดำเนินการในช่วงทศวรรษที่สองที่ผ่านมานั้น อาเซียนได้บรรลุวัตถุประสค์ร่วมในการพัฒนาเพื่อสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางด้านเศรษฐกิจของอาเซียนให้เกิดขึ้น โยอาศัยข้อได้เปรียบต่างๆ ของอาเซียนที่มีอยุ่แล้ว ในขณะที่ความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจกับประเทศนอกอาเซียนนั้นจะมีความสัมพันธ์ในสภระแบบผุ้ให็-ผู้รับ
            ในทศวรรษที่ 3 อาเซียนไดพ้ยายามสานต่อแนวทางการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจที่ได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องมาจากทศวรรษที่ผ่านมา โดยเน้นในเรื่องของการบรรลุผลทางด้านเศรษบกิจในสาขาต่างๆ ให้เพ่ิมมากขึ้น ด้วยการเปิดเสรีทางด้านการค้าในระดับภูมิภาค เพือเพิ่มศักยภาพทางด้านเศรษบกิจให้มีอำนาจต่อรองที่ทัดเทียมกับประเทศที่มีความก้าวหน้าทางด้านเศรษบกิจด้วยความสัมพันธ์แบบพึงพาอาศัยกันแทนที่สภานะแบบผุ้ให้-ผู้รับ ในอดีต โดยอาเซียนจะนำเอาบทเรียนต่างๆ ที่เกิดขึ้นจาการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจในช่วงเวลาที่ผ่ามาเป้นบทเรียนและเป็นพื้นฐานสำคัญเพื่อนำมาปฏิบัติ ปรัฐปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาสาขาความร่วมมือทางด้านเศรษบกิจของประเทศสมาชิกให้มีศักยภาพทางด้านเศรษบกิจที่เพ่ิมสูงขึ้น ด้วยการให้ประเทศสมาชิกอาเซียนมีการพึ่งพากันเพิ่มมากขึ้นควบคู่ไปกับการเปิดประเศตนเองสู่โลกภายนอก เพื่อให้อาเซียนสามารถขยายตลาดและมีช่องทางในการติดต่อกันทางด้านเศรษฐกิจการต้าที่มีความกว้างขวางเพิ่มขึ้นอีกทั้งยังมี่วนทำให้มีอำนาจในการต่อรองที่ทัดเที่ยมกับประเทศต่างๆ ทั่วโลก ด้วยการมีความสัมัพนธ์แบบพึงพาอาศัยกันกับประเทศที่มีความเจริญก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจที่มากกว่าโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับประเทศที่พัฒนาแล้ว



             - "เขตการต้าเสรีอาเซียนสู่มิติอาเซียน 2020: ลู่ทางและปัญหา", ภัทรพล ภูมิพย์, วิทยานิพนธ์ ศิบปศาสตร์มหาบัณฑิต(รัฐศาสตร์), มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2547.

วันเสาร์ที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2560

ASEAN Investment Area

              เขตการลงทุนอาเซียน(AIA) เป็นการรวมกลุ่มทางเศราฐกิจในระดับภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียน (ASEAN) ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในอันที่จเพิรมการลงทุนในอาเซียนจากนักลงทุนทั้งในแลนอกกลุ่มอาเซียน เพื่อเสริมสร้างประสทิธิภาพของอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจของอาเซียนโดยเฉพาะให้มีความได้เปรียบในด้านการลงทุนโดยคำนึงถึงความแตกต่างในระดับการพัฒนาการและเสรษฐกิจของประเทศสมาชิกอาเซียนภายใต้กรอบความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน ซึ่งกำหนดพันธกรณีให้ประเทศสมาชิกอาเวียนเปิดเสรีอุตสาหกรรมและให้การประฏิบัติเยี่ยงคนชาติ ภายในปี ค.ศ. 2010 สำหรับนักลงทุนอาเซียน และปี ค.ศ. 2020 สำหรับนักลงทุนทั่วไป
            ในการจัดตั้้งเขตการลงทุนอเาซียนภายใต้กรอบความตกลงเขตการลงทุนอาเซียนเขตการลงทุนอาเซียน มิใช่องค์การระหว่างประเทศ ซึ่งจะมีสภาพบุคคลตามกฎหมายระหว่างประเทศ แต่เป็นเพรียงองค์กรย่อยของอาเซียนเพื่อการพัฒนาความร่่วมือทางเศรษฐกิจของอาิซียน โดยจะต้องอยู่ภายใต้กรอบของ GATT และ WTO ซึ่งประเทศสมาชิกอาเซียส่วนใหญ่ต่างก็เป็ฯสมาชิกอยู่โดยในการดำเนินการจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียภายใต้กรอบความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน ซึ่งเป็นความตกลงระหว่างประเทศที่มีค่าในทางกฎหมายระหว่างประเทศอันส่งผลให้สามารถใช้บังคับกับทุกประเทศสมาชิกอาเซียนให้ต้องยอมรับให้ความตกลงดังกล่าว โดยให้มีผลใช้บังคับในอินแดนของตน
             แต่ในทางปฏิบัติ การดำเนินการตามพันธกรณีของกรอบความตกลงเขตการลงทุนอาเซียนก็ประสบปัญหาบ้างทั้งปัญหาที่เกิดจากตัวกรอบความตกลงแลปัญหาที่เกิดจาประเทศสมาชิกอาเซียนด้วยกัน ซึ่งประเทศสมาชิกอาเซียนจะต้องแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นร่วมกัน ทั้งนี้เพื่อให้การจัดตั้งแขตการลงทุนอาเซียนบรรลุวัตถุปรสงค์และเอื้อประโยชน์ท้งในด้านการต้าและากรลงทุนต่ออาเซียนและประทเศไทย
             อย่างไรก็ตาม การจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียนอาจเกิดผลกระทบต่ออาเซียนและประเทศไทยบ้าง ซึ่งทำให้อาเซียนและประเทศไทยต้องพัฒนาตัวเองและปรับปรุงแก้ไขกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อให้สามารถรองรัีบการลงทุนที่จะเกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้การจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียนเกิดประโยชน์ต่ออาเซียนและประเทศไทยได้อยางสูงสุดต่อไป
             การจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียน เกิดขึ้นจากการที่ประเทศสมาชิกอาเซียนได้เบ็งเห็นถึงควาสำคัญในการวมกลุ่มความร่วมือทางเศรษฐกิจในระดับภุมิภาค ซึ่งเป้ฯผลมาจากเหตุผลภายในอาเซียน และกระแสภูมิภาคของประเทศต่างๆ อาเซียนจึงต้องพัฒนาระดับความร่วมมือทางเศรษฐกิจในกลุ่มให้มากขึ้นและโดยเฉพาะอย่งยิ่ง เมื่ออาเซียขยายตัวโดยมีประเทศสมาชิกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉีงใต้ครบทั้ง 10 ประเทศ ทำให้อาเวียนกลายเป้นแหล่งรับการลงทุนทั้งจากภายในและภายนอกภูมิภาคอาเวียน เขตการลงทุนอาเซียนจึงเกิดขึ้นเพื่อดึงดูดการลงทุนเสริมสร้างความแข็งแกร่งและเพิ่มความได้เปรียบในด้านการลงทุน ซึ่งจะพัฒนาให้อาเซียนเป็นภูมิภาคกาลงทุนที่มีักยภาพในการรองรับการลงทุนจากส่วนต่างๆ ของโลก
            สถานะทางกฎหมายระหว่างประเทศของเขตการลงทุนอาเซีย เมื่อพิจารณาโดยใช้หลักที่ศาลยุติธรรมระหว่งประเทศได้วินิจฉัยไว้โดยความเห้นแนะนำในคดี ซึ่งงางหลักว่าองค์การระหว่งประเทศใดจะมีสภาพบุคคลในทางกฎหมายระหว่างประเทศหรือไม่ให้พิจารณาจากเจตจำนงค์ของมวลสมาชิกที่จัดตั้งองค์การระหว่างประเทศ โดยดูากวัตถุประสงค์และหน้าที่การงานโดยเฉพาะขององค์การนั้น จะเห้นว่าเขตการลงทุนอาเซียนได้รับการจัดตั้งขึ้นภายใต้กรอบความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน ยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาเซียนเป็นแหล่งดึงดูดการลงทุนทั้งจากในและนอกอาเซียนและได้มีการจัดตั้งคณะมนตรีเขตการลงทุนอาเซียน และคณะกรรมการความร่วมมือด้านการลงทุนเพื่อติดตาม ดูแลและประสานงานกับหน่วยงานของอาเซียน เพื่อให้การจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซีนบรรลุประสงค์ ดังนั้น เขตการลงทุนอาเซียนจึงไม่มีสถานะเป้ฯองค์การระหว่างประเทศ ซึงจะมีสภาพบุคคลในทางกฎหมายระหว่างประเทศแต่เป็นองค์กรย่อยของอาเซีนเพื่อพัฒนาความร่วมมือทางเศรษบกิจของอาเซียน
เขตกรลงทุนอาเซียน โดยตัวของมันเองแล้วไม่ใช่การค้าแต่ที่ต้องเข้าไปอยู่ภายใต้กฎหมายการต้าระหว่างประเทศเนื่องจากการให้สิ่งจูงใจและสทิะิประโยชน์จำนวนมากเพือดึงดูดการลงทุนที่จะไปกระทบต่อการค้า ดังนั้น ในการพิจารณาถึงความสอดคล้องของการจัตั้งเขตการลงทุนอาเซียนกับกฎหมายระหว่างประเท จึงต้องใช้หลักกฎหมายการต้าระหว่างประเทสที่มีบทาทสำคัญในระดับสากล และประเทศสมาชิกส่วนใหญ่ของอาเซียนมีพันธกรณีอยู่ อันได้แก่ GATT และ WTO
           GATT 1994 ซึ่งเกิดจากการประชุมเจรจา GATT รอบอุรุกวัย ที่สิ้นสุดลงมี่เมือง Marakesh ประเทศโมรอคโค เมื่อวันที่ 15 เมษายน 1994 ได้มีการจัดทำความตกลงมาร์ราเกซ เพื่อจัดตั้งองค์การการต้าโลก และไ้มีการนำเอาหลักทั่วไปใน GATT 1947 มารวมไว้ใน GATT 1994 ด้วย โดย GATT 1994 ยังคงรับรองสิทธิในการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคในรูปแบบของการจัดตั้งเขตการต้าเสรีไว้ในมาตรา 24 ซึ่งได้มีการกำหนดกรอบเงื่อนไขใการรวมกลุ่มทางเศราฐกิจว่าจะต้องมีการขจัดภาษีและข้อจำกัดทางการค้าไม่ให้สูงหรือเคร่งครัดไปหว่าเดิมก่อนที่จะมีการจัดตั้งเขตการต้าเสรี และจะต้องรวบรวมแผนงานและกำหนดการสำหรับการจัดตั้งเขตการต้าเสรีภายในระยะเวลาอันสมควร โดยไม่ควรจะเกิน 10 ปี เมื่อพิจารณาถึงแนวทางในการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจและเงื่อนไขในการจัดตั้งเขตการต้าเสรีดังกล่าวกับการจัดต้งแขตการลงทุนอาเซียนซึ่งเป้นการรวมกลุ่มทางการต้ารูปแบบหนึ่งที่เน้นในเรื่องของการลงทุน เพื่ออำนวยความสะดวกทางการค้าในด้านการลงทุน และมไเป็นการเพิ่มอุปสรรคทางการค้าในการลงทุนระหว่างประเทศสมาชิกอาเว๊ยนกับประเทศคู่ค้าอื่นนๆ โยในการจัดทำกรอบความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน ได้กำหนดการจัดเก็บภาษีอากรต่างๆ และกฎระเบียบในการลงทุนไม่สูงกว่าหรือจำกัดมากกว่าที่เคยมีอยุ่ก่อนการรวมกลุ่มหรืทำควาตกลง และมีการกำหนดแผนงานและการดำเนินการต่าๆง สำหรับการรวกลุ่มภายในระยะเวลาที่เหมาะสม คือ 10 ปีสำหรับประเทสมาชิกกลุ่ทอาเซียน นอกจากนั้น ยังได้มีการประชุมเพื่อจะเร่งเปิดเสรีการลงทุนและให้การประติบัติเยี่ยงคนชาติแก่นักลงทุนอาเวียนและนักลงทุนทั่วไปให้เร็วขึ้นแม้ว่าจะยังไม่มีการแจ้งต่อที่ประชุมใหญ่ประเทศสมาชิก เนื่องจากการดำเนินการในเรื่องดังกล่าวยังดำเนินการไปได้ไม่มากนัก แต่เมื่อพิจารณาถึงการรวมกลุ่ททางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคของอาเซีนในการจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียน จะเห็นได้ว่าสอดคล้องกับบทบัญญัติในเรื่องการรวมกลุ่มการต้าเสรีที่ชอบด้วยบทบัญญัติของ GATT ประเทสมาชิกอาเซียนควรจะได้มีการดำเนินการตามเงื่อนไขของ GATT มาตรา 24 ต่อไป
              ในการจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียนได้มีการจัดทำกรอบความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน และพิธีสารเพื่อการแก้ไขกรอบควมตกลงเขตการลงทุนอาเซียน เพื่อให้การดำเนินกาจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียนบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ไ้กำหนดไว้เมื่อวิเคราะห์ถึงสถานะทางกฎหมายของเอกสารดังกล่าว ดดยใช้แนวทางการหลักที่ได้จาก คำนิยามในอนุสัญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา 1969 และคำพิพากษาของศาลุติธรรมระหว่างประเทศในคดีไหล่ทวีปแห่งทะเลเอเจี้นยที่ได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะหืเอกสารระหว่างประเทศ จะเห็นว่า เอกสารดังกล่าวเป้นความตกลงระหว่างประเทศที่ทำขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษรระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน โดยมีผุ้แทนของรัฐซึ่งได้รับมอบอำนาจเต็มหรือถือว่าเป็นผู้มีอำนาจเต็มเขาทำสนธิสัญญาและแสดงเจตนาในการให้ความยินยิมเพื่อผูกพันตามสนธิสัญญาแทนรัฐ และอยู่ภายใตบังคับของกฎหมายระหว่งประเทศแม้ว่าข้อความและสาระของความตกลงดังกล่าว จะมิได้ระบุชัดแจ้งเกี่ยวกับลักษณธทางกฎหมายแต่ได้มีการกำหนดพันธกรณีระหว่างประเทศสมาชิก และดำเนินกาต่าๆง เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของความตกลงดังกล่าว ดังนั้น AISA Agreement และพิธีสารเพื่อการแก้ไข AIA Agreetment จึงเป็นความตกลงระหว่างประเทศที่มีค่าบังคับทางกฎหมายระหว่างประเทศและมีนิติฐานะเป็นความตกลงเพื่อากรจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียน และมื่อ AIA Agreement เป็นความตกลงระหว่างประเทศ ดังนั้นบันทึการตีความกอบควาตกลงเขตการลงทุนอาเซีย ซึ่งจัดทำขชึ้นเืพ่อช่วยในการตีความเอกสารที่มีค่าบังคับเป้ความตกลงระหว่างประทเศ บันทึกการตีความดังกล่าวจึงมีค่าบังคับเช่นเดี่ยวกับเอกสารที่ถูกตีความ
              และโดยผลผูกพันของความตกลงระหว่างประเทศเมื่อประเทศสมาชิกได้ลงนามและปฺบัติตามพันธกรณีแล้ว ความตกลงระหว่างประเทศนั้นย่อมสามารถใช้บังคับกับประเทศสมาชิกทุกประเทศได้และประเทศสมาชิกจะต้องยอมรับให้ความตกลงดังกล่าวมีผลใช้บังคับในดินแดนของตน ซึ่งวิธีการยอรับอาจจะทโดยการประกาศรับสนธิสัญญา หรือการออกกฎหมายเพื่อนุวัติการ แต่กหากมีกฎหมายภายในเรื่องดังกล่าวใช้บังคับอยู่แล้วก็ไม่จำต้องออกกฎหมายเพื่อการนุวัติการจะเห็นได้ว่า ประเทศสมาชิกอาเซียนมีกฎหมายภายในเกี่ยวกับการลงทุนและกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกอยุ่แล้วความตกลงเขตการลงทุนอาเซียนจึงมีผลใช้บังคัยกับประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศได้ทันที่ โดยไม่ต้องมีกาออกกฎหมายเพื่อการอนุวัติการ
             ใการดำเนินงานในดารจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียนได้มีกาจัดตั้งคณะมนตรีเขตการลงทุนอาเซียนและคณะกรรมการความร่วมมืออด้านการลงทุน เพื่อใไ้คำแนะนำประสานงานกับหน่วยงานที่เีก่ยวข้อง ทบทวนการดำเนินงานเสนอคำแนะนำและแก้ไขปัญหาอุปสรรคต่างๆ ที่เกิดจากกรดำเนินกาจัดตั้งเขตการลงทุนอาเวียน ภายใต้การควบคุม ดูแลและช่วยเหลือที่อยู่ในอาเซีียนรวมท้งกำหนดกลไกในกรระวับข้อพิพาท โดยได้กำหนดให้นำพิธีสารว่าด้วยกลไกการระงับ้อพิพาท มาใช้จะช่วยให้ปัญหาข้อพิพาทระหว่างประเทศสมาชิกได้รับการแก้ไขปย่างมีประสิทธิภาพ
 

AIA Agreement ได้กำหนดพันธกรณีให้ประเทศสมาชิกต้องดำเนินการเปิดอุตสาหกรรมทุกประเภทและให้ารปฏิบัติเยี่ยงคนชาติ โดยทันที แต่ประเทศสมาชิกสามารถขอขยายระยะเวลาการเปิดอุตสาหกรรมและากรให้การปฏิบัติเยี่ยงคนชาติเ็ฯภายในปี 2010 สำหรับนักลงทุนอาเซียน และปี 2020 สำหรับนักลงทุนทั่วไปได้ โดยทำเป็นรายการขอยกเว้นชั่วคราว และรายการที่มีความอ่อนไหว และรายการดังกล่าวยังขยายให้ครอบคลุมถึงการบริการที่เกที่วข้องด้วย โดยประเทศสมาชิกจะต้องเปิดภาคบริการไม่น้อยไปกว่าข้อผูกพันที่ประเทศสมาชิกได้ยื่นภายใต้กรอบการเจรจากรเปิดเสรีการค้าบริากรในองค์การการค้าโลก WTO ซึ่งทุกประเทศสมาชิกก็ได้ยื่นรายการดังกลบาวสำหรับภาคการผลิต เกษตร ประมง ป่าไม และเหมืองแร่ เรียบร้อยแล้ว นอกจากการขอยกเว้นตามรายการขอยกเว้นทั้ง 2 รายการแล้ว ประเทศสมาชิกสามารถขอยกเว้นจากการเปิดอุตสหกรรมและการให้การปฏิบัติเยี่ยงคนชาติได้โดยการขอยกเว้นทั่วไป สำหรับประเภทกิจการที่มีผลต่อความมั่นคงของชาติ ประเพณี วัฒนธรณมและศีลธรรมอันดี และชีวิตมนุษย์ สัตว์ และพืช ซึ่งทุกประเทศสมาชิกก็ได้ยื่นรายการดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว นอกจากนี้ยังได้กำหนดมาตรการป้องกันฉุกเฉิน ในกรณีที่ประเทศสมาชิกได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากมาตรการการเปิดเสรีตาม ASIA Agreement และมาตรการป้องกันดุลการชำระเงนิระหว่งประเทศในกรณีที่ประเทศสมาชิกเกิดวิก๖การณ์ทางการเงิน
              ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการตามพันธกรณี คือ ปัญหาที่เกิดจากข้อกำหนดหลักการอย่างกว้างๆ โดยไม่มีการให้คำจำกัดความสำหรับรายการขอยกเว้นชั่วคราว รายการที่มีความอ่อนไหว หรือรายการขอยอเว้นทั่วไปไม่มีการกำหนดจำนวนเงื่อนไขและรายละเอียดในการเสนอและทยอยออกจากรายการดังกล่าว นอกจานี้ ราการดังกล่าวยังไม่ครอคลุมถึงมาตรการการลงทุนที่เกี่ยวกับการค้า ภายใต้กรอบขององค์การการค้าโลกซึ่งกำหนดให้ยกเลิกมาตรการการลวทุนบางประการที่จะมีผลก่อให้เกิดการจำกัดและบิดเบือนทางการค้า ในส่วนของการใช้มาตรกรป้องกันฉุกเฉิน และมาตรการป้องกันดุลการชำระเงินระหว่งประเทศก็ยังขาดรายละเอียดที่ชัดเจนเกี่ยวกับการำมาตรการดังกล่าวมาใช้เช่นกัน ซึ่งจากปัญหาดังกล่าวอาจส่งผลในทางปฏิบัติได้หากประเทศสมาชิกคำนึงถึงแต่การรักษาผลประโยชน์ของชาติเป็นหลักและใช้มาตรการต่างๆ โดยไม่สุจริต จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ประเทศสมาชิกจะต้องร่วมมือกันในการปรับปรุงแก้ไข ข้อตกลงให้มีความชัดเจน และโปร่งใสมากย่ิงขึ้น เพื่อให้การดำเนินการจัดตั้งแขตการลงทุนอาเซียนบรรลุวัตถุประสงค์ และก่อประดยชน์แก่ประเทศมาชิกอย่างแท้จริง
           และจากการที่อาเซียนรับสมาชิกใหม่ ซึ่งได้แก่ เวียดนาม ลาว พม่า และกัมพูชา ซึ่งมีปัญหาการเมืองภายในประเทศ และมีสภาพเศรษบกิจที่แตกต่างกับประเทศมาชิกอาเซียนเดิม ทำให้อาเซียนมีระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ  2 ระดับ ประเทศสมาชิกใหม่เหล่านี้จึงได้รับการผ่อนผันระยะเวลาใการดำเนินการตามพันธกรณี แต่ประเทศสมาชิกใหม่เหล่านี้ก็ได้ให้ความร่วมมือในการปรับปรุงและพัฒนาในด้านต่างๆ อันจะเื่อ้อำนวยต่อการลงทุน ประกอบกับการที่ประเทศสมาชิกอาเซียนเดิมก็ได้พยายามให้ความช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาต่างๆ โดยการประชุมปรึกษาหารือและการเสนอความคิดเห้นร่วมกันของหน่วยงานและคณะทำงานใรระดับต่างๆ ทั้งภายในประเทศสมาชิกแต่ละประเทศและระหว่างประเทศ และยงมีการกำหนดแผนงานอื่นๆ เพ่อส่งเสริมให้การดำเนินการตาม วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
         จากการพิจารณาึถงสภาพเศรษบกิจและการลงทุนของประเทศสมาชิกอาเซียน จะเห้นได้ว่า การลงทุนในประเทศสมาชิกอาเซียนมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นทุกปีกระทั่งในปี 1998 ซึ่งเกิดวิกฤตเศรษบกิจ ทำให้การลงทุนในภูมิภาคอาเวีนลดลงอันเนื่องมาจากสภาพเศรษฏฐิจของประเทศสมาชิกอาเซีนเอง และของประเทศผุ้ลงทุน ทั้งจากยุโรป ญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา ซึ่งต่างก็ได้รับผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจที่แผ่ขยายไปทั่วโลกประกอบกับการถูกแบ่งส่วนทางการตลาดจากการรวมกลุ่มทางเศรษบกิจในภูมิภาคต่างๆ ซึ่งสร้างความสนใจให้แก่ประเทศผุ้ลงทุนให้หันไปลงทุนในปละนอกประเทศ
               จากการศึกษาหลักการและการดำเนินการต่างๆ ในการจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียน แม้จะเกิดปัญหาหลายประการ ซึ่งดดยภาพรวมของอาเวียนอาจส่งผลกระทบด้านลบในระยะสั้นพอสมควร จากการที่ประเทศสมาชิกต้องสูญเสียรายได้บางส่วนจากการลดภาษี ความไม่พร้อมทีจะแข่งขันกับอุตสาหกรรรมจากต่างประเทศ ระดับการพัฒนาทางเศรษบกิจที่แตกต่างกันระหว่งประเทศสมาชิกเดิมกับประเทศสมาชิกใหม่ และความไม่พร้อมในโครงสร้างพื้นฐานทางเศณษฐกิจ ความผันผวนทางเศราฐกิจอาจส่งผลให้ความร่วมมือชะงักงันหรือเกิดควาทล่าช้ากว่ากำหนด แต่ในระยะยาวเขตการลงทุนอาเซียนจะส่งผลในด้านบวกแก่ประเทศสมาชิกอยางมาก เนื่องจากการขยายจำนวนประเทศสมาชิก ทำให้อาเซียนกลายเป็นตลาดขนาดใหญ่ และมีทรัยพากรธรรมชาิตท่อุดมสมบูรณื ซึ่งจะดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ และการลงทุนจากต่างประเทศจะเป็นสื่อนำความช่วยเลือทางเทคนิคเข้าประเทศ ซึ่งจะทำให้อาเว๊ยนเพิ่มอำนาจต่อรองทางการค้า และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลกมายิ่งขึ้น อีกทั้งยังช่วยลดการแข่งขันระหว่งประเทศสมาชิกในการให้ปสิทธิประโยชน์ด้านการลงทุนแก่การลงทุนจากต่างประเทศนอกจานั้นเขตการลงทุนอาเซียนยังอาจจะช่วยแก้ปัญหวิฏฟติเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นทั่วทุกภูมิภาคเพราะการร่วมมือกันจะทำให้มีโอกาสในการแก้ไขปัญหาได้ยอ่างมีประสทิธิภาพมากยิ่งขึ้น
           

                                 "ความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน", กษมา มาลาวรรณ,วิทยานิพนธ์(บางส่วน)มหาวิทยาลัยรามคำแหง นิติศาตรมหาบัณฑิต,2544.
                           

วันศุกร์ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2560

Common Market

             กับการเปิดเขตการค้าเสรีในปี พ.ศ. 2558 กระทั่งปัจจุบันมีสิ่งใดเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใดบ้างหรือไม่นั้นในปี พ.ศ. 2560 การดำเนินการต่างๆ ก็เป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไป ต่อความคิดเห็นที่หลากหลายก่อนการเปิดเขตการค้าเสรีกับงาน "ประชุมวิชาการประจำปี 2555 สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัมหิดล" ได้มีผู้ทรงคุณวุฒิหลากหลายสายวิชาการได้มาให้ความรูป้ซึ่งจะขอนำบางส่วนมาแสดงไว้ในที่นี้..
             ดร.สมเกียรติ อ่อนวิมล..
             เนื่องจากประชาคมอาเซียน มีพิทพ์เขียวที่มีแผนปฏิบติการไปสู่ความเป็นประชาคมอาเซียนที่ควรจะสมบูรณ์ภายในปี 2558 ซึ่งคงไม่ใช่ทุกเรื่อง แต่ขอให้เข้าใจอาเซียนก่อนว่ามีความเป็นมาอย่างไร จะได้ไม่ผิดหวังมากนักเช่นเรื่องปฏิญญา เป็น TOR ที่เขียนขึ้นมาอยางเร่งอด่วนใต่อนที่ประเทศไทยเปนประธานอาเซียน การผลักดันให้เกิดขึ้นมาด้วยขีดจำกัดไม่เหมือนสไภาพยุโรปและจะไม่ใช่มาตรฐานสากลในหลายๆ เรื่องแต่เรื่องที่อยากให้ได้มาตรฐานสากลเร็วๆ คือเรื่องการค้า (AEC) ส่วนเรื่องวัฒนธรรมเป็นจุดเด่นของอาเซียนเพราะมีความหลากหลาย ถ้าสามัคคีเห็นความงดงามของความแตกต่างกันได้จะเป็นจุดเด่นเพราะว่าหลากหลายเชื้อชาติ ศาสนา ชาติพันธุ์และเข้าใจกัน ซึ่งคิดว่ากว่าจะรักกันคงไม่ใช่ภายในปี 2558 อาจจะอีกหลายปี เพราะฉะนั้นอาเซียนเป็นองค์กรที่เรียกว่าตกลงกันด้วยฉันทามติ ไม่ใช้การโหวตเพราะถ้าโหวตก็โกรธกันการประชุมทุกครั้งจึงต้องมีการถามกันไปถามกันมา เพราะฉะนั้นขอให้พลเมืองอาเซียนเข้าใจว่าอาเซียนอยู่กันในลักษณธที่ว่าถ้าทำได้ก็ทำ ถ้าทำไม่ได้ก็ยังไม่ต้องทำ โดยอาเซียนมีสูตรการร่วมมือกัันที่เรียกว่า ASEAN-X คือบางประเทศที่ไม่พร้อมก็ลบออกไปก่อน เช่นเขตการค้าเสรีอาเซียนนั้น คนที่พร้อมกว่าเพื่อนคือประเทศไทย เพราะเราเป็นคนเสนอให้เปิดเขตการต้าเสรีในปี 2535 ถ้าไม่พร้อมไม่เสนอ การลดกำแพงภาษีสินค้ารายการต่างๆ จากที่มีอยู่เหลือ 30% ก็เกิดในปี 2536 การลดเหลือ 0% เกือบทุกรายการสินค้าก็เมือ 1 มกราคม 2554 โดยเกือบ 2 ปี แล้วที่เขตการค้าเสรีอาเซียนนั้นสมบุรณ์ในประเภทการขนส่งสินค้าข้ามพรมแดนโดยไม่มีภาษีระหว่ง 6 ประเทศ ได้แก่ ไทย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ อินโดนีเซีย บรูไน ส่วนประเทศที่ไม่พร้อมคือ เขมร ลาว พม่า เวียดนาม จึงของลบเป้น -4x และรอวันที่ 1 มกตราคม 2558 จะได้เตรียมผุ้ผลิตในประเทศเพื่อให้พร้อมรับมือกับสินค้าที่จะทะลักเข้ามาโดยไม่มีภาษี แต่ AEC ก็มีมากกว่าเรื่องขนส่งสินค้า ดังนั้น จึงขอให้เข้าใจว่าอาเซียนนั้นค่อยๆ ไป ถ้าไม่พร้อมก็รอโดยหน้าที่ของพวกเราคือทำงานให้ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง
              ใน First ASEAN people forum ปี 2009 ซึ่งมีความต้องการให้ประชาชนเป็นศูนย์กลาง ได้แสดงออกอย่างเต็มี่จึงเป็นหน้าที่ของทุกท่านที่ทำงานอยุ่ที่ต้องผลักดันอย่งเต็มที่เรื่องของ Food Security กับ Food Safety มากแต่ Food Security and Safety เน้นไปที่ Food Safety มากแต่ Fod Security ก็ยังมีเช่น บัญญัติไว้ว่าต้องมีการ stock อาหารไว้ในยามฉุกเฉินหรือเกิดทุพภิขภัย หรือถ้ามีอาหารก็ต้องกระจายให้ทัีวถึง ให้มีอาหารพร้อมที่ให้ชาวบ้านในอาเซียนทั้ง 10 ชาติได้มีกินมีใช้ทุกเวลา หรือการใช้เทคโนโลยีการผลิตอาหารเข้าสู่ Preseved food ดังนั้นจะเห็นว่ามีการพูดถึงเรื่อง security food โดยแม้ คืออาเซียนนั้นไปตามกระแสโลก
             สำหนับเรื่องความมั่นคงที่เรียกว่า Non Tradition Security ประกอบด้วย Food Environment การต้ามนุษย์ การค้าอาวุธ กากนิวเคลียร์ เป็นความมั่นคงที่ไม่ใช่แบบแผนดั้งเดิม ทั้งนี้อยากให้คนไทยดุจุดบกพร่องของความงดงามของพิมพ์เขียวซึ่งข้อบกพร่องมีมากที่ไม่ได้มาตรฐานแต่พยายามจะอธิบายว่าทำไมเกิดความคิดเชิงลบ เพราะว่าผมคิดว่านักคิด นักวิชาการได้รัีบวิธีคิดโดยรับความรูแบบโลกาภิวัฒน์คือเดินทางท่องเที่ยวศึกษาหาความรู้แลกปลี่ยน ไปดูงานวิจัยที่ผมใช้อ้างอิง่อยๆ ในการบรรยาย ของนิตยสาร The Economist ซึ่งใช้นักวิจัยในอังกฤษเป็นสถาบันเลย หรือสถาบันทอีกที่ใน นิวยอร์ก เรียกว่า อินสติติวส์ เลกูลัมซ์ ที่วิจัยเรื่องประชาธิปไตยในโลก โดยพบว่าประเทศไทยเป็นอันดับ 1 ของดัชนีความเป็นประชาธิปไตยในอาเซียนแต่อยู่ประมาณที่ 50 ของโลก ไม่ไปถึงไหน โดยไทย อินโดนีเซีย มาเลเซียอยู่กลุ่มประชาธิปไตยแบบมีตำหนิ ส่วนประเทศอื่นๆ เช่น เขมร สิงค์โปร บางที่ก็เป็ฯบางทีก็ไม่เป็นประชาธิปไตย บางปรเทศก็ไม่เป็นประชาธิปไตย  รัฐเผด็จการ เช่น ลาว เวียดนาม พม่า ซึงประเด็นี้เองทำให้ประชาคมอาเซียนเกิดมในโลกที่ต้องพึ่งพากัน เรียกว่า Interdependent World ในทางรัฐศาสตร์เพราะฉะนั้นประเทศที่ไม่พร้อมในการรวมกลุ่มก็ต้องรีบรมกลุ่มเพื่อการต้า แต่แรกเริ่มเดิมที่นั้นเพื่อความมั่นคงเพราะกลัวคอมมิวนิสต์ เลยทำให้มุ่งเน้นกันแต่ AEC การเมืองความมันคงก็มีการลงนามมาหลายคณะ ส่วนเรื่องวัฒนธรรมก็เป็นความงดงามที่อยุด้วยกันแบบหลากหลาย ทำให้อาเซียนเกิดขึ้นมาอย่างหลวมๆ โดยเกิดมา 42 ปีแล้ว ก็ยังไม่เป็นรูปเป็นร่างจึงบอกกันว่า มีแค่ 3 ประชาคมแล้ว ในปี 2020 จะต้องมีประชาคมอาเซียนที่สมบูรณ์แต่คิดว่าช้าไปจึงเป็นปี 2015 เพราะต้องมีการแข่งขันกัน แต่ในความเป็นจริงประชาคมอาเซียน เขตการค้าเสรีนั้นเปิดมาตั้งนานแบ้วแต่ยัยไงไม่มีแผนท ทำให้เข้าใจผิดกันว่ายังไม่เปิด
              ต่อไปเรามาพูดถึงเรื่องของเศรษฐกิจ ซึ่งสำคัญและซีเรียสเพราะประชาคมอาเซียนมี AEC Score Card มีการประเมินผล ว่าแต่ละปีนั้นต้องทำอะไรบางเช่นปีนี้การลงทุนข้ามพรมแดนทาดงด้านอุตสาหกรรมบริการ เราสามารถไปลงทุนโดยเป็นเจ้าของกิจการในอาเซียนได้ 60% ปี 2558 ได้ 70% หรือมีการบอกว่าไปตั้งโรงเรียนเป้ฯ Service Industry ได้ในต่างประเทศแต่ในความเป็นจริงคือก็ยังไม่ได้ เพราะกฎหมายในประเทศนั้นๆ ยังไม่ได้แก้ เช่นจะไปตั้งคลินิคในสิงคโปร์ก็ยังทำไม่ได้ สิ่งที่อยากจะเน้นคือเรื่องประชคมเศรษฐกิจอาเซียนนั้นเกิดมานานแล้ว แต่สิ่งที่เราดังวลคือเรื่องการเคลื่อนย้ายพรมแดนของผุ้ประกอบวิชาชีพ ซึ่งเจรจากันได้แค่ 7 อาชีพใน 30,000 กว่าอาชีพ โดย 7 อาชีพที่ว่าเจรจาได้แค่มาตรฐานเท่านั้นแต่ไม่ได้ออกประกาศนียบัตรรับรองว่าจะได้ไปทำงานที่ไกน ไม่ได้ระบุสถานที่ ้องไปหางานทำเอาหาได้ก็ได้ ไม่ได้ก็ไม่ได้ แต่ภ้ากฎหมายยังไม่ผ่านก็ไม่ได้อยู่แล้ว เพราะฉะนั้นประชคมอาเซียนยังมีหนทางอีกยาวำกล สรุปภาพรวมคือ คนไทยต้องไม่กลัวการเปิประชคมอาเซียนเพราะมันเปิดมาตั้งนานแล้วและไทยก็เป็นผู้ริเริ่ม การเปิดเขตการต้าเสรีในเรื่อง AFTA ประเทศไทยก็เป็นครเสนอและทางเราก็พร้อมที่จะแข่งขัน ส่วนเรื่องภาษาอังกฤษอย่ไปกังวลว่าเราไม่พร้อม ต้องภูมิใจว่าเราไมได้เป็นอาณานิคมของใคร ให้พอแค่สื่อสารกันไดก็เพียงพอไม่ถึึงขนาดต้องเก่งกาจ โดยขอให้เน้าภาษอาเซียนจะดีกว่าเืพ่อการสื่อสารกันในการทำมาหากินหรือหาเครือข่าย
                คุณศิริบูรณ์ ณัฐพันธ์
                ขอขอบคุณข้อมูลจากอาจารย์แต่ละท่านที่ทำให้เราได้เห็นมุมมองต่างๆ อย่างรอบด้านเพื่อให้เราตัดสินใจได้ว่าจะเดินหน้าต่อไปอย่างไรดี ผู้ที่ทำงานสื่อสารมวลชน เป็นนักวิชาการ ผู้ที่ติดตาอาเซยนมาตลอด ประเด็นสำคัญที่จะพูดคุยกัน ระบบสุขภาพ ซึ่งมีการพาดพิงเรื่องวิชาชีพ แพทย์ พยาบาล ทันตแพทย์ เป็นวิชาชีพที่ถูกพูดถึงมากเมือมีการเปิด AEC แม้จะบอกว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลงมากนัก ทำให้มีข้อเป้นห้วงใหญ่ๆ ว่าจะเกิดปัญหาสมองไหลในอาเซียนหรือไม่
                 นายแพทย์พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข
                  มองในด้านวิชาการ เร่ิมจากการตั้งคำถามว่า จินตนาการหรือความที่เราอยากเห็นประชาคมอาเซียนเป็นยังไงนั้น หน้าตามันคืออะไร เช่น European Community คือตัวอย่างภาพที่เราอย่ากเห็นใช่ไหม แล้วเราก็ยอมรับว่าเรายังไม่ค่อยสมบูรณ์และค่อยๆ คืบคลานไปสู่เป้าหมายสุดท้าย นั้คือ ยูโรเปี้ยน คอมมูนิตี้ หรือเปล่า คือผมก็ยังไม่ทราบยุทธศาสตร์ในสมัยนั้นหรือจุประสงค์ในการสร้างประชาคมอาเซียนขึ้นมา ส่วนที่ 2 คือเวลาเราสร้างประชาคมอาเว๊ยนขึ้นมา สิ่งที่เราเรียกว่าปัจจัยพื้นบานในการสร้างประชาคึมนั้นมีอยู่จริงและสามารถสร้างได้จริงหรือเปล่า ซึ่งผมก็เห็นว่าทางประชาคมยุโรปนั้นมีความแตกต่างไม่ขนาดเท่าของเรา เพราะของเรานี่ตั้งแต่จนที่สุดคือกำลังพัฒนา GDP ประชากรไม่ถึง1000 ไปจนถึงสิงคโปร์ที่วยกว่าสวิสเซอร์แลนด์นั้น เราจะสร้างประชาชนที่มีเงื่อนไขต่างกันมากขนาดนี้ได้จริงหรือ เรากำลังสร้างส่ิงที่มันเป็นไปไม่ได้ใช่หรือเปล่าและมาหลอกว่ากำลังจะทำให้มันเป็น ถ้ามันเป็นไปได้เราจะเห็นถึงภาพสะท้อนของความเป็นไปไม่ได้ของอุดมการณ์ อุดมคติของสิ่งที่เรจะสร้างกับสิ่งที่เรียกว่า Fundamental ของการที่จะสร้างให้มันเกิดขึ้นมา เกิดขึ้นอยุ่ตลอดเวลา ซึ่งหลายตั้งจะเห็นสิ่งที่เรียกว่าภาพสะท้อนนโยบายที่ขัดแย้งกันเองภายใต้อุดมการณ์ชุดใหญ่นี้แล้วฝันนั้นจะเป้นจริงได้จริงหรือ
             
  ส่วนที่ 2 คือตัวเราเองที่จะต้องเข้าใจประเทศต่างๆ ต้องเรียนรุ้ภาษาอื่นๆ นั้น ทำให้เกิดคำถามว่าเราเข้าใจตัวเองมากขนาดไหน การศึกษาได้สร้าทัศนคติที่เรามีต่อประเทศต่างๆ วึ่งเราได้ปลูกฝังค่านิยมชุดหนึ่งขึ้นมาในตัวเราโดยที่ไม่รู้ตัว เราเหยีดประเทศลาว เราเหยียดประเทศกัมพูชา และไปแสดงทัศนคติต่อประเทศเพื่อบ้านว่าเราเหนือกว่า และเขาต่ำกว่า และโดยไม่รู้ตัวว่าเรารู้สึกด้อยกล่าชาติตะวันตกแต่ก็เหยียบคนอื่นที่เป็นเพื่อนบ้านเรา ทำให้เกิดคำถามว่าวิธีคิดแบบนี้จะทำให้เราสร้างประชาคมได้หรือ ถ้ามองในแงของประชาคมคือกำลังรู้สึกว่าส่วนหนึ่งเรากำหลังจะสร้าง Solidarity ในระดับภูมิภาคขึ้นมา คือความรุ้สึกเป็นเอกภาพว่าเราคือพวกเดี่ยวกัน คนทุกข์ร้อนเราก็ทุกข์้อน เช่นกิดพายุโซโครนากิสในพม่า คนประเทศพม่าเดือดร้อนเราก็เดือดร้อนโดยเดือดร้อนเพราะเป็นคนนภูมิภภาคของเรา เราามารถคิดแบบนั้นได้หรือไม่ถ้าเรายังคิดแค่ว่ากลัวคนไทยจะได้รับผลกระทบแปลว่าเรายังเอาตัวเราเองเป็นศูนย์กลางอยู่ ความรู้สึกสำนึกที่จะเรียกว่าเป็นประชากรภูมิภาคนั้นมันไม่เกิด
              ดังนั้นโดยรวมคิดว่าทุกคนพยายามจะสร้างเงื่อนไขของประชาคมในฐานะที่เป็นที่แสวงหาประโยชน์ เพราะถ้าพูดถึงเรื่องเศรษฐกิจก็คือเป็นที่ตักตวงผลประโยชน์ในลักษณะที่ว่า เรารอดแล้วทั้งประชาคมรอดหรือไม่นั้นเราก็อาจไม่ได้มองว่าเป็นประเด็นสำคัญ ดังนั้นประเทศที่พัฒนาแล้วเร่ิมดึงเอาบุคลากรทางสาธารณสุขเข้าาเพื่อรักษาพลเมืองของตัวเอง โดยมีแนวคิดคือแรงงานราคาถูกทำให้เกิดการตั้งคำถามในองค์การอนามัยโลกว่าแล้วคุณคิดถึงประเทศที่ส่งออกบุคลากรหรือไม่ว่า เขาจะไม่มีหมอมาดูแลคนไข้ของประเทศตัวเองแล้วเราไปดึงบุคลากรเขามา แบบนี้ใช้วิะีการที่เหมาะสมของประชาคมดลกทีพัฒนาแล้วหรือยัง โดยประเด็นั้นก็จะเกิดขึ้นกับเมืองไทยด้วย... ( หลากหลายมุมมองต่อการก้าวสุ่ประชาคมอาเซียนในปี 2558 : โอกาสและความท้าทายในมิติตสุขภาพ)

               .... ในปี 2558 อาเซียนจะก้าวไปสู่การเป็น AEC ซึ่งเป็นการก้าวข้ามจาก FAT มาเป็น "ตลาดร่วม" โดยมีจุดมุ่งหมายที่่จะเป็นตลาดเดี่ยวและฐานการผลิตเดียว เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถทางการแข่งขันของภูมิภาค อย่างไรก็ตาม ถือว่า AEC จะเป็นตลาดร่วมที่ไ่เต็รูปแบบ เพราะติดที่การเคลื่อนย้ายแรงงาน เนื่องจากหลายประเทศเกรงว่าจะมีผลกระทบต่อความมั่นคงและค่าแรง ซึ่งจะทำให้ผุ้ใช้แรงงานภายในประเทศเดือดร้อน
                ต่อคำถามที่ว่าในอนาคต อาเซียนจะใช้เงินสกุลเดียวกันอย่างในยุโรปได้มั้ย..อยากจะบอกว่าแค่คิดก็ผิดแล้ว และมั่นใจว่ามันจะไม่เกิดขึ้นในช่วงชีวิตของ
พวกเรา เหตุผลก็เพราะช่องว่างการพัฒนา ระหว่างอาเซียนด้วยกันเองนับว่ากว้างมาก ซึ่งจะป็นอุปสรรคสำคัญต่อการที่จะต้องดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจร่วมกัน จริงอยุ่ที่การใช้เงินสกุลเดี่ยวกันจะทำให้การค้าในภูมิภาคเป็นไปอย่างสะด้วกมากขึ้น แต่ผลเสียมีมากว่าผลดีแนนอน ยกตัวอย่างวิกฤตต้มยำกุ้งปี 2540 ค่าเงินบาทอ่อนตัวลง เป็นปัจจัยที่ทำให้การส่งออกเพิ่มสุงขึ้นเป็็นอย่างมาก และเป็นตัวฉุดให้เศรษฐกิจไทยฟื้นตัวจากภาวะซบเซาอย่างรวดเร็ว นี้เป็นผลพวงของความเป็นอิสระในการดำเนินนโยบายอัตราแลกเปลี่ยน
              ตัวอย่าง กรณีของกรีซ ประเทศเจอวิกฤตหนี้เป็ฯระยะเวลานานถึงเกือบ 5 ปีแล้ว ป่านนี้ยังไม่ฟื้นตัวเลย จะออกจากยูโรโซนก็ลำบาก เพราะจะมีผลกระทบต่อยุโรปอย่งมหาศาล อยุ่ต่อไปก็ไม่มีอิสระในการดำเนินนโยบายอัตราแลกเปลี่ยน ค่าเงินยูโรไม่สามารถที่จะอ่อนตัวลงได้มากจนทำให้สินค้าส่งออกของกรีซเป็นที่น่านใจมากขึ้น การส่งออกไม่สามารถเป็นตัวขับเคลื่นอให้เศรษฐกิจกรีซดีขึ้น ก็เลยต้องอยุ่ในภาวะซบเซาที่ยืดเยื้อต่อไป
             ฉะนั้น มันไม่จำเป็นที่อาเซียนอย่างเราจะต้องเจริญรอยตามสหภาพยุโปร โดยมีความเห็นว่า การรวมตัวของประเทศสมาชิกอาเซียนภายใต้กรอบ AEC ในรูปแบบที่เป็นอยู่น่าจะเพียงพอแล้ว ในระยะ 5 - 10 ปีนี้
            การจัดลำดับความสำคัญไม่ควรอยุ่ที่การเจรจาให้มีการรวมตัวทางเสณาฐกิจที่แน่นแฟ้นเหนียวแน่นมากขึ้น แต่สิ่งที่ต้องให้ความสำคัญเป็นอันดับแรกก็คืออาเซยนควรมีความจริงใจต่อกันและกันให้มากกว่านี้ ภาครัฐของทั้ง 10 ประเทศสมาชิกอาเซียนควรร่วมใจกันกำจัดอุปสรรคทางการต้าแบบแอบแผงในรูปของมาตรฐานต่างๆ และควรที่จะปรับเปลี่ยนกฎระเบียบภายในประเทศให้สอดคล้องกับกรอบข้อตกลง เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้บุคคลและภาคธุรกิจสามารถใช้ประโยชน์จากการเป็น AEC ให้ได้มากที่สุดแลเห็นผลเป็นูปธรรมชัดเจน มิฉะนั้นจะถือว่าการเจรจาทางการค้าที่ดำเนิมากกว่า 20 ปีก็จะไม่ก่อให้เกิดประโยชน์กับภุมิภาคอย่างเต็มที่...("AEC..ก้าวหนึ่งที่เข้มข้นของการรวมตัวทางเศราฐกิจอาเซียน..www.siamintelligence.com)


วันพฤหัสบดีที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2560

AEC Blueprint(2007)

             พิมพ์เขียวเพื่อการจัดตังประชาคมศรษฐกิจอาเซียน AEC Blueprint
             - ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 11 ปี เมื่อธันวาคม 2005 ผุ้นำอาเซียนได้เห็นชอบให้พิจารณาความเป็นไปได้ของการเร่งรัดการจักตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จากเดิมที่ดำหนดไว้ในปี 2020 ให้เร็วขึ้นอี 5 ปี เป็น 2015 โดยมอบหมายรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน และเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านเศรษฐกิจอาเซียนพิจารณาหารือในรายละเอียด
             - เจ้าหน้าที่อาวุโสด้านเศรษบกิจได้หารือและเสนอความเห็นให้รัฐมนตรีเศรษบกิจอาเซียนพิจารณาในช่วงการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน ครั้งี่ 38 ปี 2006 โดยที่ประชุมพิจารณาเห็นว่า การดำเนินงานด้านเศรษฐกิจของอาเซียนมีความคืบหน้าไปมากทั้งในด้านเขตการค้าเสสรีอาเซียน การค้าบริกการและการลงทุน จึงมีความเป็นไปได้ที่จะเร่งรัดเป้าหมายดังกล่างประกอบกับการเจรจากจัดทำเขชตการต้าเสรรีของอาเซียนกับลประทเศคู่เจรจาต่างๆ มีแนวโน้มที่จะเร่งรัดการเปิดเสรรีในด้านต่างๆ ที่เร็วขึ้น จึงมีความจขำเป็นที่อาเซียนจะต้องเร่งรัดเป้าหมายดังกล่าวประกอบกับการเจรตจาจัดทำเขตการต้าเสรีของอาเซีนกับประเทศคู่เจรจาต่างๆ มีแนวโน้มที่จะเร่งรัดการเปิดเสรีในด้านต่างๆ ทีเร็วขึ้น จึงมีความจำเป็นที่อาเซียนจะต้องเร่งรัดการรวมกลุ่มภายในให้เป็นรูปธรมโดยเร็วเพื่อระโยชน์ภายในภูมิภาค ที่ประชุมจึงเห็นชอบให้จัดทำพิมพ์เขียวเพื่อเร่งรัดการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เพื่อใช้เป็นแนวท างดำเนินงานไปสู่เป้าหมายดังกล่าว และเห็นชอบที่จะเสนอผุ้นำอาเซียให้ความเห็นชอบกับเป้าหมายดังกล่าวด้วย
          - ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 12 เมื่อเดือนมกรา 2007 ณ เมืองเซบู ประเทศฟิลิปปินส์ ผุ้นำอาเซียนได้ลงนามในปฏิญญาเซบูว่าด้วยการเร่งรัดการจัดตั้งประชคมอาเซียนในปี 2015 ซึ่งประกอบด้วย 3 ด้านหลัก ได้แก่ การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแขงขันและเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับอาเซียน
          AEC Blueprint อาเซียนจำเป็นต้องให้ความสำคัญกับการจัดทำ พิมพ์เขียว เพื่อกำหนดแผนกงานและกรอบลระยะเวลาที่ชัดเจนสำหรับการดำเนินมาตรการต่างๆ เพื่อไปสู่เป้าหมาย AEC อย่างเช่นใไภาพยุโรปที่มีการจัดทำเกณฑ์อ้างอิง ในด้านเศราฐกิจตามช่วงระยะเวลาต่างๆ โดยวัตถุประสงค์สำตคัญของ พิมพฺ์เขียว AEC เพื่อกำหนดทิศทาง / แผนงานในด้านเศราฐกิจที่จะต้องดำเนินงานให้ชัดเจนตามกรอบระยะเวลาที่กำนด จนบรรลุเป้าหมาย AEC ในปี 2015 และสร้างพันธสัญญาระหว่างประเทศสมาชิกที่จำดำเนินการไปสู่เป้าหมายดังกล่าวร่วมกัน
           - AEC Blueprint ประกอบด้ว 4 ส่วนหลัก ซึ่งอ้างอิงมาจากเป้าหมายการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ของอาเซียนตามแถลงการณ์บาหลี ฉบับที่ 2 Bali Concord II ได้แก่
                  1) การเป็นตลาดเดียวและฐานการผลิตร่วม โดยให้มี่การเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลุทุน และแรงงานมีผีมืออย่างเสรี และการเคลื่อยย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น
                   2) การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน ซึ่งจะให้ความสำคัญกับประเด็นด้านนโยบายอื่นๆ ที่จะช่วยส่งเสริมการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ เช่น กรอบนโยบายการแข่งขันของอาเซียน สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา นโยบายภาษี และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (การเงิน การขนส่ง และ เทคโนโลยีสารสนเทศ)
                  3)การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค สนับสนุนการพัฒนา SMEsและการเสริมสร้างขีดความสามารถผ่านโครงการต่างๆ  เช่น  IAI Initiative for ASEAN Integration และ ASEAN-help-ASEAN Programs เป็นต้น
                  4) การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก เน้นการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจของอาเซียนกับประเทศภายนอกภูมิภาค เช่น การจัดทำเขตการค้าเสรี การให้สิทธิพิเศษด้านการลงทุนภายใต้เขตการลงทุนอาเซียน (AIA) กับนักลงทุนภายนอกอาเซียน และการสร้างเครือข่ายในด้านการผลิต/จำหน่าย เป็นต้น
                     สำหรับองค์ประกอบอื่นๆ ได้แก่ การปรับปรุงกลไกด้านสภาบันโดยการจัดตั้งกลไกการหารือระดับสูง ประกอบด้วยผู้แทนระดับรัฐมนตรีทุกาขาที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งภาคเอกชนอาเซียนตลอดจนการพัฒนาระบบกลไกตรวจสอบติดตามผลการดำเนินงาน และจัดหาแหล่งทรัพยากรสำหรับการดำเนินงานกิจกรรมต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ
                      ทั้งนี้ในการดำเนินงานสามารถกำหนดให้มีความยือหยุ่นในแต่ละเรื่องไว้ล่วงหน้าได้ แต่เมือตกลงกันได้แล้ว ประเทศสมาชิกจะต้องยึดถือและปฏิบัติตามพันธกรณีที่ได้ตลลงกันอย่างเคร่งครัดด้วย....(สำนักอาเซียน, เมษายน 2550)


วันพุธที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2560

Economic Integration

            โดยทั่วไปการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ หมายถึง การให้หรือได้สิทธิเท่าเทียมกันทางการค้า การลงทุนและสิทธิอื่นๆ ระหว่างประเทศที่เป็นสมาชิกด้วยกัน ซึ่งนิยมตีความครอบคลุมไปถึงการยกเลิกปัญหาและอุปสรรคทางการค้าระหว่างกัน เมื่อประเทศสมาชิกต่างให้สิทธิที่เท่ากัน ใช้กฎเกณฑ์เดี่ยวกัน ก็จะสามารถรวมตัวเป็นกลุ่มประเทศเศรษบกิจเดี่ยวกันได้ในที่สุด
             ประเทศสหภาพยุโรป มีการรวมเป็นตลาดเดียว และมีการใช้ระบบเงินตรเดียว คือ เงินสกุลยูโร สำหรับการให้หรือได้สิทธิเท่ากันจะมีการนำไปปฏิบัติภายใต้ตามความตกลง ที่มีการลงนามระหว่างกัน ซึ่งจะระบุขั้นตอน เงื่อนไข ปละระยะเวลาที่จะเพ่ิมการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจให้มากขึ้นเรื่อยๆ ตามลำดับขั้น ของการรวมกลุ่มการค้าเานีซึ่งมักจะเริ่มจากการลงนามจัดตั้งเขตการค่าเานี Free Trade Area ภายใต้สนธิสัญญาระหว่างประเทศ เรียกว่า "ความตกลงการต้าเสรี Free Trade Agreement : FTA"นั่นเอง
            การรวมกลุ่มทางเศรษกิจเพื่อการต้าระหว่างประเทศ จะประสบความสำเร็จมากน้อยเพียงไรนั้นขึ้นอยุ่กับปัจจัยต่างๆ เหล่านี้
            - แต่ละประเทศมีเศรษฐกิจที่พึงพาการต้าระหว่างประเทศมากกว่าการค้าภายในประเทศ และมีความพา้อมที่จะเปิดการค้าเสรี
             - ระดับการรวมตัวทางเศรษฐกิจของประเทศสมาชิกมีแนวโน้มในเปิดเสรีมากขึ้น
             - ประเทศสมาชิกมีพื้นที่หรืออาณาเขตติดต่อกัน (ง่ายต่อการส่งข้อมูลข่าวสารและง่ายต่อการสร้างความสัมพันธ์)
            - ประเทศสมาชิกมีประวัติศาสตร์ร่วมกัน ทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม จะมีข้อขัดแย้งต่างๆ น้อย
            - ประชากรมีเชื้อชาติ ภาษา ประเพณีและวัฒนธรรมที่คล้ายคลึงกัน จะสามารถสร้างความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดี่ยวกัน
            ระดับหรือขั้นการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ระดับการต้าและประเด็นเจรจาที่เปิดเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ และจัดทำเป็นความตกลงที่จะให้ทุกฝ่ายได้สทิธิต่างๆ อย่างเท่าเทียมกันจนในที่สุดไม่มีความแตกต่างระหว่างประเทศคู่สัญญาของการรวมกลุ่มนั้น ได้แก่
          Preferential Trade Agreement : PTA  หมายถึง ความร่วมมือในเฉพาะประเด็นที่มีความสนใจร่วมกันเป็นบางส่วนเท่านั้น อาทิ โครงการความร่วมมือเฉพาะทางด้านอุตสาหกรรมอาเซียน ที่เปิให้บริษัทเอกชน 2 ฝ่าย ที่เป็นสมาชิกอาเซียนด้วยกันและต้องการทำหารต้าสินค้าที่อยุ่ในโครงสร้างการผลิตเดียวกัน  ดังนั้น ประเทศทั้ง 2 ฝ่ายหรือแต่ละฝ่ายจะเลือกเก็บอากรในอัตราต่ำหรือร้อยละ 0 เมื่อมีการค้าสินค้าระหว่งกันตามขั้นตอนโครงสร้างการผลิตสินค้านั้น หรือเป็นการให้สทิะิประดยชน์ในบางสินค้าด้วยอากรขาเข้าที่ต่ำเป็นพิเศษของประเทศที่พัฒนาแล้ว แก่ประเทศกำลังพัฒนา และประเทศที่พัฒนาน้อยที่สุด
           - Free Trade Area เขตการค้าเสรี หมายถึง การรวมกุ่มทางการต้าและบริกรทีเน้นการยกเลิกอากรขาเข้และข้อจำกัด ทางการค้าและสินค้าระหว่างกันส่วนมากจะเป็นปุปสรรคข้อกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี ประเทศสมาชิกจะได้/ให้สิทธิประโยชน์พิเศษตามสาระที่ได้ลงรามเป็นความตกลงจัดตั้งเขตการต้าเสรี กันไหว้ ตรงกนี้จะเน้นการลดอากรมาที่ร้อยละ 0 มากกว่าประเด็นอื่น เช่น การยกเลิกโควตาสินค้า การอุดหนุนทางการค้าและบริการ กาลงทุนฯ
            FTA จะเป็นการให้สิทธิประโยชน์ที่เท่าเที่ยมกันระหว่างประเทศภาคีเพื่อการขยายขอบเขตและประเด็นทางเศรษฐกิจที่มากว่า PTA อย่างชัดเจน ยิ่งไปกว่านั้น FTA ยังครอบคลุมถึงประเด็นเจรจาเปิดการค้าเสรีด้านอื่นๆว้ทุกรูปแบบของ WTO ซึ่งมี 2 ทางเลือกคือ กำหนดเงื่อนไขในรายละเอียดเอง และให้เป็นไปตามขั้นตอนและรายละเอียดของ WTO  ดังนั้นหากกำหนดให้เป็นไปตามนี้เล้ว แการเจรจาก็จะยังดำเนินต่อไปเรื่อยๆ หลังจากที่ได้ลงนามกันเป็น FTA แล้ว สำหรับประเทศไทยได้ยึดหลักการนี้มาตลอด
          - Custom Union สหภาพศุลกากร หมายถึง การรวมกลุ่มประเทศสมาชิก FTA โดยจะไม่เก็บอากรขาเข้าสินค้าที่มีการต้าระหว่างกัน (อากรขาเข้าร้อยละ 0 ) ส่วนสินค้านำเข้าจากประเทศอื่นจะถูกเก็บอากรขาเขาในอัตราเดียวกันหมด ในขั้นนี้ ประเทศสมาชิกจะเน้นที่ระเบียบและขั้นตอนพิธีการผ่านด้านสุลการกร และการอำนวยความสะดวกทางการค้า ให้แก่กันเป็นพิเศษ และจะใช้กฎระเบียบการค้า การบริการ และการลงทุนเดียวกัน สำหรบประเทศไทยก็ได้ตกลงที่จะดำเนินการเช่นนี้ในทุกๆ FTA ที่ไปลงนามไว้รวมทั้ง AEC ที่จะเปิดด้วย
          - Common Market ตลาดร่วม หมายถึง การรวมกลุ่มเศรษฐกิจประเทศสมาชิกเพิ่มเติมจากการเป็นสหภาพศุลกากร เน้นที่การร่วมมือกันผลิตสินค้าเดียวกันในจำนวนสมากๆ โดยอาศัยปัจจัยและจุดแข็งของแต่ละฝ่ายร่วมกันเพื่อประโยชน์ทางการค้า ทำให้ได้สินค้าที่มีคุณภาพดีราคาถูก สามารถแข่งขันได้ จึงมีการส่งออกไปยังประเทศอื่นได้เป็นจำนวนมาก จัดเป็นศูนย์กลางการผลิต ที่มาจากการร่วมลงทุนอย่างมหาศาลและเสรี ทุกประเทศสมาชิกจะได้สิทธิเท่าเทียมกันในการนำเช้าสงออกสินค้า บริการ การลงทุน แรงงาน และปัจจัยการผลิต ทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างเสร สำหรับประเทศไทยก็ได้มีความพยายามที่จะเป็น Detroit of Asia, Kitchen of the World หรือการรวกลุ่มเป็นคลัสเตอร์ต่างๆ มาก่อนแล้ว คาดว่า จะมีการดำเนินการเพิ่มขึ้นอีกมากก่อนถึง AEC เช่นกัน
            - Economic Union สหภาพเศรษฐกิจ หมายถึงการรวมกุ่มประเศสมาชิกเป็ตลาดรวมโดยมีนโยบายเศรษฐกิจการค้า การคลังและใช้ระบบเงินตราร่วมมกัน เช่น ประเทศสไภาพยุโรปในปัจจุบันได้บรรลุถึงการใช้เงินยูโรร่วมกัน
            - Political Union สหภาพการเมือง หมายถึง การรวมกลุ่มประเทศสมาชิกที่เป็นสหภาพเศรษฐกิจ มีนโยบายทางการเมือง เศรษฐกิจ และระบบเงินตราเดียวกันทั้งหมด ถือเป็นการรวมตัวในชั้นสุงสุด


                   - FAT กับบันได 6 ขั้นไปสู่การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ (Economic Integration), ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี, เอกสารหมายเลชข 4"
                 

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...