International Political Economy

            พัฒนาการความร่วมมือด้านเศรษฐกิจระหว่างประเทศในอดีต ประเทศทั่วโลกได้เริ่มตระหนักอย่างจริงจังว่าระบบเศรษบกิจตำต่ำทั่วโลกในช่วงทศวรรษที่ 1930 หรือ The Great Depresstion ต่อเนื่องมาจนถึงสงครามโลกครั้งที่ 2 ภาวะเศรษฐกิจของโลกในช่วงนี้เกิดภาวะที่เรียกว่าสงครามทางการต้าระหว่างประเทศและสงครามทางการเงินระหว่าประเทศ สงครามทางการต้าเกิดขึ้นจากการที่แต่ละประเทศต่างมีมาตรการกีอกันทางการค้า  เรียกระบบการค้าที่ใช้ในสมัยนั้นว่า Protectionism คือระบบการต้าแบบกีดกันควลบคู่กับสงคราทางการต้า เกิดสงครามางการเงอน ซึ่งเป้นสภานการณ์ที่แต่ละประเทศใช้มาตรการลดค่าเงิน ของประเทศตน เพื่อที่จะทำให้เศรษบกิจของแต่ละประเทศและของโลกขยายตัวกลับหดตัว
          หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จุดเริ่มจ้นของการจัดระเบียบเศรษฐกิจโลก ธนาคราระหว่าประเทศเพื่อการบูรณฟื้นฟูและพัฒนา หรือเรียกย่อว่า "ธนาคารโลก World Bank", กองทภนการเงินระหว่างประเทศ IMF, ข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการต้า GATT เป็นสามหน่วยงานระหว่างปผระเทศที่ประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกจและการเมืองคือ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และฝรั่งเศส ได้สร้้างขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เพื่อแก้ไขปัญหาและจัดระเบียบการจัดการระบบเศรษฐกิจของโลกใหม่ ปัญหาเศรษบกิจที่โลกต้องเผชิญหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงมี 3 ประการ ประการแรกเป็นปัญหาเรือ่งการเงินระหว่างประเทศ ให้ IMF เป้นหน่วยงานที่ดูแลทั้งนี้ได้จัดตั้งระบบการเงินที่เรียกว่า ระบบ Bretton Wods System ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเสถียรภาพของอัตราและเปลี่ยนปัญหาประการที่สอง เรื่องการกีอดันทางการค้าให้ GATT ดำเนินการจัดการเจรจาไปสู่การต้าเสรี และปัญหาเร่องสุดท้ายคือ การบูรณะและพัฒนาประเทศที่ได้รับความเสียหายจากสงครามโลก ให้ธนาคารโลก เป็นผู้ดูแล
         ฉันทามติวอชิงตัน Washington Consensus รูปแบการแทรกแซงอธิปไตยทางเศรษฐกิจ การล่มสลายของระบบการเงิน Bretton Woods ในปี ค.ศ. 1971 และคามล่าช้าและขาดประสิทธิภาพของการเจรจาภายใต้ GATT นำไปสู่แนวคิดการปฏิรูปนโยบายเศรษฐกิจของโบกอีกครั้ง หรือที่เรียกว่า ฉันทามติวอชิงตัน ในปี 1989 เป้ฯนโยบายเศรษฐกิจที่ร่างโดยองค์กรระหว่างประเทศคือกองทุนการเงินระหว่าง
ประเทศ ธนาคารโลก และกระทรวงการคลังของสหรัฐอเมริกา เพื่อใช้เป็นข้อเสนอในการปฏิรูปเศรษบกิจของกลุ่มประเทศลาตินอเมริกาที่ประสบปัญหาเศรษฐกจและต้องขอความช่วยเหลือจาธนาคารโลกและกองทุนการเงินระหว่าปงระเทศ มีข้อสังเกตว่า ฉนทมติวอชิงตันนี้ก้าวล่วงเข้าไปในการกำหนนโยบายภายในประเทศของแต่ละประเทศ ซึ่งต่งจากที่ผ่านมาที่จำกัดเฉพาะนโบายเศรษฐกิจระหว่างปรเทศคือ เฉาพะทางด้านการเงินและการต้าระหว่างประเทศ ข้อเสนอการปรับนโยบายเศรษฐกิจภายในของแต่ละประเทศ ตามฉันทมติวอชิงตันมีองค์ประอบที่สำคัญ 3 ประการ คือ สร้างวินัยทางนดยบายเสณาฐกิจมหภาค ประการที่สองให้กลไกตลอดทำงาน ซึ่งนำไปสู่แนวนโยบายเรื่องการแปรรูปและการลดบทบาทของภาครัฐ และประการสุดท้ายเปิดตลาดให้เสรีให้ต่างชาติอย่างน้อยก็ทางด้านการต้าการลงทุน นโยบายที่นำเสนอนี้ ธนาคารโลกกองทุนการเงินระหว่งประเทศและองค์กรกระหว่างประเทศอื่น กระทรวงการคลังของสหรัฐอเมริกา รวมทังรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ต่างก็ใช้เป็นข้อเสนอแนะในการปฏิรูปนธยบายเศรษบกิจต่อประเทศสมาชิกที่ต้องการช่วยเลหือ ฉันทมติวอชิงตัน นำปไสู่ความขัดแย้งทางปรัชญาแนวคิดด้านเศรษฐศาสตร์มหภาคของสำนักต่างๆ และนไปสู่ข้อขัดแย้งในทางปฏิบัติ บางกลุ่มบางประเทศไม่เห็นด้ายกับฉันทมติวอชิงตัน เพราะเห็นว่าจะเป้นผลเสียต่อประเทศที่กำลังพัฒนา แต่จะเป้นประดยชน์ต่อประทเสที่พัฒนาและมีศักยภาพในการแข่งขันดีกว่า
           สภาพความไม่สมดุลของโลก สมรภูมิในเอเชีย นโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจตามแยวทางฉันทมติวอชิงตันได้นำไปใช้ในประเทศลาตินอเมริกาในช่วงทศวรรษที่ 1990 รวมทั้งกลุ่มประเทศในยุโรปตะวันออกที่แยกตัวออกจากสหภาพโซเวียตและเปลียนรูปแบบการบริการจัดการประเทศโดยใช้ระบบตลาดแทนการวางแผนจากส่วนกลาง สำหรับในช่วงทศวรรษที่ 2000 นี้คาดว่าแนวนโยบายเสรษฐกิจตามแนวทางของฉันทมติวอชิงตันจะถูกนำมาบังคับใช้ในประเทศเอเวีย ดดยมีประเทศสหรับอเมริกาจะเป้ฯหัวหอกที่กดดันให้ประทเศในเอเซียดำเนินนโยบายเศรษฐกิจทั้งภายในประเทศและต่างประเทศจาที่สหรัฐต้องการมารกยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพราะเกิดสภาพที่เรียกว่า "ความไม่สมดุล"ระหว่งเศรษฐกิจของประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกิจของโลก ความไม่สมดุลด้านหนึ่งเกิดขึ้นในประเทศหรัฐอเมริกา อีด้านเหนึ่งเกิดขึ้นในประเทศอเซียที่สำคัญคือ ประเทศสาธารณรับประชาชนจีน และญี่ปุ่น ความไม่สมดุลนดังกล่าวนี้นิยมเรียกว่า "Global Imbalance"ทั้งนี้เนื่องจากทั้งประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน และปรเทศญี่ปุ่นต่างก็เป็นมหาอำนาจทางเศรษบกิจของโลก ภาวะเศรษบกิจของโลกจะูกกำหนดโดยภาวะเศรบกิจของประเทศเหล่านี้นในสภาวะที่ดลกขาดความสมดุลอาจนำไปสู่ "สึนามิ"ทางเสรษฐกิจ ถ้าไม่ได้รับการแก้ไข
         
 การขาดสภาวะสมดุล หมายถึง กรณีทีประเทศสหรัฐมีการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดในระดับที่สุงและต่อเนื่อง ทำให้ประเทศสมีหนี้สูงมาก เพราะต้องกู้เงินมาใช้ในขณะที่ประทเศที่เกินดุลบัญชีเดินสะพัดและอยู่ในฐานะเจ้าหนี้ของสหรัฐอเมริกาคือประเทศในกลุ่มเอเชีย โดยมีประเทศญี่ปุ่นและประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนเป้นหลัก การขาดความสมดุลดังหล่าว แม้ที่ผ่านมาจะช่วยสร้างการเติบโตให้กับเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาและเศรษฐกิจ ของโลก แต้ถ้าหากไม่มีการปรับแก้ อาจนำไปสู่วิกฤตเศรษฐกิจอย่างรุนแรง เร่ิมจากากรขาดความเชื่อมันในเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งถือว่าเป้นเงินระหว่างประเทศ วิกฤตค่าเงินและนำไปสู่ภาวะการณ์ชะงักงันด้านการต้าและากรลงทุระหว่างปะเทศ ดังเช่นที่เยเกิดขึ้นในอดีตแต่จะรุนแรงกว่า
          ประเทศสหรัฐขาดดุลการต้าและดุลบัญชีเดินสะพัดต่อเนื่องยาวนานถึง 20 ปี รวมทั้งมีขนาดเพิ่มมากขึ้นทำลายสถิติื โดยในปี 2002 ขาดดุลการต้าที่มูลค่า 420 พันฃ้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2003 และ 2004 ขาดดุลมีมูลค่าเพิ่มเป็น 5-6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ตามลำดับการขาดดุลดังกล่าว หมายถึงประเทศสหรัฐอเมริกามีการใช้จ่ายมากว่ารายได้ที่หาได้ ขนาดของการขอดดุลบัฐชีเดินสะพันและจำนวนหนี้ที่สะสมของประทเศสหรัฐอเมริกา ถ้าเป็นประเทศอื่นจะต้องเผชิญกับวิกฤตเศรษฐกิจอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่กรณีของสหรัฐอเมริกา มีแรงจูงใจให้มีเงินทุนไหลเข้ามาชดเชย ดยดที่สหรัฐไม่ต้องขึ้นดอกเบี้ยหรือปรับเพียงเล็กน้อย รวมทั้งรัฐบาลของกลุามประเทศเอเชีย เช่น จีนและญีปุ่น ก็เต็มใจที่จะซื้อตราสารหนี้ของอเมริกา แม้จะได้ผลตอบแทนต่ำ แต่ผลประดยชน์อีกด้านหึ่งคือช่วยพยุงค่าเงินของตนเองไม่ให้แข็งค่าเมืองเที่ยบกับดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นกลยุทธ์ทสนับสนุนนโยบายการสร้างการเติบโตของแลุ่มประทเสเอเชียที่เน้นภาคส่งออกเป็นตัวนำ
           ความสัมพันธ์ภายใต้สภาพความไม่สมดุลตามที่กล่าวมา ทั้งสองกลุ่มได้ผลประโยชน์ร่วมกัน คือทั้งสองฝ่ายต่างก็เติบโตดัวยกันและต่างก็พึ่งพาซึ่งกัน เอเชียพึงพาสหรัฐในฐานะเป็ฯตลาดใหญ่ สหรัฐพึ่งพาเอเชียในฐานะที่ให้กู้ยืมรายไใย๋ การพึ่งพาดังกล่วดำเนิมาจนถึงจุดที่หลายฝ่ายเริ่มตั้งคำถามว่า การกู้ยืมนำเงินมาชดเชยกับการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดของสหรัฐอเมริกาจะเป็นอยู่อย่างนี้ตลอดไปได้หรือไม่ หรือประเทศต่างๆ จะเต็ใจที่จะถือครองหลักทรัพย์ของอเมริกาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ อย่างไม่มีพเพดามกำหนดหรอืไม่คำตอบคือสภานการณ์ทั้งสองแบบน้ไม่สมารถดำเนินต่อไปอย่างไม่มีข้อจำกัด ทั้งนี้เพราะความเชื่อมันในประเทศสหรัฐอเมริกาและความเชื่อมั่นในเงินดอลลาร์สหรัฐจะเสื่อมถอย อันจะนำไปสู่วิกฤตการเงินระหว่างประเทศอีกครั้ง...
          กลยุทธ์การปรับตัวของกลุ่มประเทศอาเซียน การกดดันทางด้านการเมืองและศรษบกิจของประเทศสหรัฐต่อประเทศอื่นทั้ที่ทำโดยตรงและผ่านองค์กรระหว่างประเทศเหล่านั้นมักเป้ฯลูกหนี่ของสถาบันการเงินระหว่างประเทศและเป็นประเทศที่สหรัฐอเมริกาให้ความช่วยเลหือ แต่ในกรรณีประเทศจีนและญี่ปุ่นซึ่งมีสถานะเปรียบเหมือนเจ้าหนี้ของประเทศสหรัฐ ถ้าประสบผลสำเร็จจะเป็นตัวอย่างที่ประเทศสหรัฐจะนไมาใช้กับประเทศอื่นๆ ในเอเชีย ตัวอย่างเช่น กระทรวงการคบลังของประทเศสหรัฐอเมริกาได้ทำรายงานที่ออกทุกครึ่งปี เพื่อประเมินอัตราและเปลี่ยนของประเทศคู่ค้าหลักของสหรัฐฯ ว่ายตุธรรมหรือไม่" ดังนั้น การต่อสู่กันในเวทีเศรษฐกิจระหว่างประเทศเคลื่อนตัวมาสู่ทวีปเอเซียและจะทวีความเข้มข้นมากขึ้น ประเทศในเอเชียจะต้องดำเนินนธยบายเศรษบกิจระหว่างประเทศทั้งทางด้านการต้าและการงินร่วมกันเพื่อเพิ่มอำนาจการต่อรองทางทั้งทางด้านเศรษฐกิจและการเมือง
          นโยบายด้านการต้า ควรต้องขยายความร่วมมือใน 2 ระดับ ระดับแรกขยายเขตเสรีการค้า ให้กว้างขึ้นทั้งนี้เพื่อขยายการค้าภายในกลุ่มให้มากขึ้น ช่วยลดการพึ่งพาตลาดสหรัฐอเมริกาและยุโรป ระดับที่สอง ปัจจุบันการรวมตัวทางการต้าของกลุ่มปรเทศเอเชียจะอยูในรูป FTA เท่านั้น จัดเป็นระดับการรวมตัวทางการต้าที่ง่ายที่สุดแต่มีข้ออ้อยมาก จึงควรพัฒนาไปสู่รูปแบบที่เรียกว่า ตลาดร่วม
          นโยบายการเงิน ในระยะสั้น นอกจากมาตรการร่วมมือกันระหว่างธนาคารชาติของประเทศในเอเชียในการกู้ยืมเงินสกุลหลักระหว่ากันหรือที่เรียกว่า "currency swap"และการจัดตั้งตลดพันธบัติเอเลีย ควรเร่งดำเนินการจัดตั้งกองทุนการเงินของเอเชีย เพื่อเป็ฯองคกการเงินในกลุ่มประเทศเอเชีย มีบ่บาทหน้าที่เหมือน IMF สำหรับระยะยาว ควรพัฒนาความร่วมมือทาเศรษฐกิจในรูปแบบที่เรียกว่า สหภาพเศรษฐกิจเอเชีย ในลักษณะเดียวกันพับที่ประเทศในกลุ่มยุโรปจัดตั้ง สหภาพเศรษฐฏิจยุโรป การรวมตัวแบบสหภพเศรษบกิจจะนำไปสู่ความร่วมมือทางนโยบายเศรษกิจด้านการิงนและากรคลังและนำไปสู่การใช้เงินร่วมกัน..(บทความ,"เศรษฐศาสตร์การเมืองระหว่างประเทศ: กลยุทธ์การปรับตัวของประเทศกลุ่มอาเซียน, ถวิล นิลใบ.)
          ...งานวิจัยชิ้นนี้ได้โต้เถียงกับข้อเสนอของทฤษฎีโลกาภิวัตน์ที่ว่ารัฐมัยใหม่นั้นกำลังมีสภาวะ "ไร้อำนาจ" โดยเฉพาะในการควบคุมระบบเศรษฐกิจของตนเอง โดยงานวิจัยได้ข้อสรุปจากากรศักษาวิจัยทั้งหมด 3 ประการคือ
            ประการที่หนึ่ง ระบบเศรษฐกิจของโลกในปัจจุบันนั้นมีลักษณะเป้ฯเสณาฐกิจระหว่งประเทศ กล่าวคือเป็นเวทีที่รัฐต่างพยายามหาผลประโยชน์ แข่งขันกัน โดยรัฐต่างๆ ใช้อำนาจและความสามารถภายในการขยายตัวในตลาดโลก แต่ไม่ใช่ระบบเศรฐกิจโลกาภิวัฒนน์ ที่เกิดตัวละครที่เป้ฯอิสระและมีลักษณธข้ามชาติ ที่สามารถกดดันให้รัฐเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐฏิจภายในของตน และในขณะเดี่ยวกันรัฐไม่สามารถเข้าควบคุมกิจกรรมใดๆ ของตนทางเศณาฐกิจเลยนั้น เป้นการกล่าวอ้างที่เกินจริงแม้ว่าในภาคการเงินระหว่างประเทศจะมีสภาพข้ามชาติบ้างแต่ไม่ใช่ทุกมิติ ส่วนในภาคการผลิต การต้าและมายาคติเรื่องบรรษัทข้ามชาตินั้น ไม่ได้มีพลังอย่างที่กล่าวอ้างไว้
          ประการที่สอง ข้อเสนอที่ว่ารัฐต่างๆ ต้องเลือกเอานโยบายทางเสณาฐกิจในกรอบเสรีนิยมสมัยใหม่มาปฏิบัติ เพื่อให้สอดประสานกับพลังของโลกาภิวัฒน์นั้นก็เป็นข้อกล่าวอ้างที่ไม่สมเหตุสมผลเช่นเดี่ยวักัน เพราะโลกาภิวัฒน์นั้นอาจจะเป็นข้ออ้างทางการเมืองเพื่อสร้างผลประดยชน์แก่รัฐที่กำลังขาดความได้เปรีียบในตลาดโลกเนื่องจากการแข่งขัน ยิ่งไปกว่านั้นจาการศึกษาพบว่า รัฐนั้นมีความหลากหลายทางโครงสร้างแลที่สำคัญที่ความสามารรถในการปรับตัว ซึ่งมีลักษณะเป้นรัฐปฏิกิริยา ดังในกรณีของประเทศในเอเชียตะวันออกเชอย่างเช่น ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ไต้หวัน และสิงค์ปร์เป้นต้น หรือแม้กระทั่วประเทศในยุโรปเองเช่นเยอรมันนี ก็ไม่ได้ดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจเสรี นิยมสมัยใหม่เพื่อยังคงความได้เปรียบท่ามกลางกระแสโลกาภิวัฒน์ทั้งนี้จะเห้นได้ว่ารัฐที่เป็นรัฐแข็งจะมีความสามารถเชิงโครงสร้างและสถาบันทางเศรษฐกิจที่สามารถประสานประยชน์และควบคุมคามสัมัพนธืระหว่างรัฐกับธุรกิจและในขณะเดี่ยวกันก็มีความสามารถในการใช้กลำกของการวางแผนและการร่วมมือในระดับภูมิภาคเพื่อขยายผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
 ประกาศสุดท้าย ความสามารถของรัฐนั้นแตกต่างกัน เพราะฉะนั้นความสามารถในการหาผลประโยชน์ในโอกาสที่โครงสร้างของเศรษฐกิจโลกเปลี่ยนแปลงไปนั้นไม่เท่ากัน โดยรัฐแข็งนั้นสามารถเป็นผุ้ได้เปรียบากว่ากรัฐอ่อน ทั้งนี้รูปแบบของการปกป้องผลประโยชน์ก็มีลักาณะเป็นการสรางความร่วมมือในรูปแบบของการรวมกลุ่มทางภูมิภาคมากขึ้นอันเป้นการสร้างความสัมพันธืเชิงกลยุทธนอกรัฐมากขึ้น
           นอกเนหือจากความสำเร็จในกาขยายความสามารถทางเศรษฐกิจของรัฐต่างๆ ในเอเชียตะวันออกและความสามารถในการปรับตัวต่อการท้าทายใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นั้นผุ้วิจัยเห้ฯว่าในอนาคตน่าจะมีรัฐที่มีรูปแบบในการดำเนินนโยบายทางเศราฐกิจใหม่ๆ เกิดขึ้น ทั้งในกรอบของความสัมพันะ์นอกรัฐ และความสัมพันธ์ภายในรัฐ อันเป็นรูปแบบที่ทดแทนกระบวนการโลกาภิวัฒน์ที่เน้นความเสือ่มกำลังของรัฐซึ่งต้องทำการศึกษาวิจัยในเชิงลึกต่อไปในอนาคต...("เศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ : ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัฒน์การรวมกลุ่มทางภูมิภาคและรัฐ".อ.วิโรจน์ อาลี, งานวิจัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,2548.)
         

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)