พิมพ์เขียวเพื่อการจัดตังประชาคมศรษฐกิจอาเซียน AEC Blueprint
- ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 11 ปี เมื่อธันวาคม 2005 ผุ้นำอาเซียนได้เห็นชอบให้พิจารณาความเป็นไปได้ของการเร่งรัดการจักตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จากเดิมที่ดำหนดไว้ในปี 2020 ให้เร็วขึ้นอี 5 ปี เป็น 2015 โดยมอบหมายรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน และเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านเศรษฐกิจอาเซียนพิจารณาหารือในรายละเอียด
- เจ้าหน้าที่อาวุโสด้านเศรษบกิจได้หารือและเสนอความเห็นให้รัฐมนตรีเศรษบกิจอาเซียนพิจารณาในช่วงการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน ครั้งี่ 38 ปี 2006 โดยที่ประชุมพิจารณาเห็นว่า การดำเนินงานด้านเศรษฐกิจของอาเซียนมีความคืบหน้าไปมากทั้งในด้านเขตการค้าเสสรีอาเซียน การค้าบริกการและการลงทุน จึงมีความเป็นไปได้ที่จะเร่งรัดเป้าหมายดังกล่างประกอบกับการเจรจากจัดทำเขชตการต้าเสรรีของอาเซียนกับลประทเศคู่เจรจาต่างๆ มีแนวโน้มที่จะเร่งรัดการเปิดเสรรีในด้านต่างๆ ที่เร็วขึ้น จึงมีความจขำเป็นที่อาเซียนจะต้องเร่งรัดเป้าหมายดังกล่าวประกอบกับการเจรตจาจัดทำเขตการต้าเสรีของอาเซีนกับประเทศคู่เจรจาต่างๆ มีแนวโน้มที่จะเร่งรัดการเปิดเสรีในด้านต่างๆ ทีเร็วขึ้น จึงมีความจำเป็นที่อาเซียนจะต้องเร่งรัดการรวมกลุ่มภายในให้เป็นรูปธรมโดยเร็วเพื่อระโยชน์ภายในภูมิภาค ที่ประชุมจึงเห็นชอบให้จัดทำพิมพ์เขียวเพื่อเร่งรัดการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เพื่อใช้เป็นแนวท างดำเนินงานไปสู่เป้าหมายดังกล่าว และเห็นชอบที่จะเสนอผุ้นำอาเซียให้ความเห็นชอบกับเป้าหมายดังกล่าวด้วย
- ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 12 เมื่อเดือนมกรา 2007 ณ เมืองเซบู ประเทศฟิลิปปินส์ ผุ้นำอาเซียนได้ลงนามในปฏิญญาเซบูว่าด้วยการเร่งรัดการจัดตั้งประชคมอาเซียนในปี 2015 ซึ่งประกอบด้วย 3 ด้านหลัก ได้แก่ การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแขงขันและเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับอาเซียน
AEC Blueprint อาเซียนจำเป็นต้องให้ความสำคัญกับการจัดทำ พิมพ์เขียว เพื่อกำหนดแผนกงานและกรอบลระยะเวลาที่ชัดเจนสำหรับการดำเนินมาตรการต่างๆ เพื่อไปสู่เป้าหมาย AEC อย่างเช่นใไภาพยุโรปที่มีการจัดทำเกณฑ์อ้างอิง ในด้านเศราฐกิจตามช่วงระยะเวลาต่างๆ โดยวัตถุประสงค์สำตคัญของ พิมพฺ์เขียว AEC เพื่อกำหนดทิศทาง / แผนงานในด้านเศราฐกิจที่จะต้องดำเนินงานให้ชัดเจนตามกรอบระยะเวลาที่กำนด จนบรรลุเป้าหมาย AEC ในปี 2015 และสร้างพันธสัญญาระหว่างประเทศสมาชิกที่จำดำเนินการไปสู่เป้าหมายดังกล่าวร่วมกัน
- AEC Blueprint ประกอบด้ว 4 ส่วนหลัก ซึ่งอ้างอิงมาจากเป้าหมายการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ของอาเซียนตามแถลงการณ์บาหลี ฉบับที่ 2 Bali Concord II ได้แก่
1) การเป็นตลาดเดียวและฐานการผลิตร่วม โดยให้มี่การเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลุทุน และแรงงานมีผีมืออย่างเสรี และการเคลื่อยย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น
2) การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน ซึ่งจะให้ความสำคัญกับประเด็นด้านนโยบายอื่นๆ ที่จะช่วยส่งเสริมการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ เช่น กรอบนโยบายการแข่งขันของอาเซียน สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา นโยบายภาษี และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (การเงิน การขนส่ง และ เทคโนโลยีสารสนเทศ)
3)การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค สนับสนุนการพัฒนา SMEsและการเสริมสร้างขีดความสามารถผ่านโครงการต่างๆ เช่น IAI Initiative for ASEAN Integration และ ASEAN-help-ASEAN Programs เป็นต้น
4) การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก เน้นการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจของอาเซียนกับประเทศภายนอกภูมิภาค เช่น การจัดทำเขตการค้าเสรี การให้สิทธิพิเศษด้านการลงทุนภายใต้เขตการลงทุนอาเซียน (AIA) กับนักลงทุนภายนอกอาเซียน และการสร้างเครือข่ายในด้านการผลิต/จำหน่าย เป็นต้น
สำหรับองค์ประกอบอื่นๆ ได้แก่ การปรับปรุงกลไกด้านสภาบันโดยการจัดตั้งกลไกการหารือระดับสูง ประกอบด้วยผู้แทนระดับรัฐมนตรีทุกาขาที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งภาคเอกชนอาเซียนตลอดจนการพัฒนาระบบกลไกตรวจสอบติดตามผลการดำเนินงาน และจัดหาแหล่งทรัพยากรสำหรับการดำเนินงานกิจกรรมต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ
ทั้งนี้ในการดำเนินงานสามารถกำหนดให้มีความยือหยุ่นในแต่ละเรื่องไว้ล่วงหน้าได้ แต่เมือตกลงกันได้แล้ว ประเทศสมาชิกจะต้องยึดถือและปฏิบัติตามพันธกรณีที่ได้ตลลงกันอย่างเคร่งครัดด้วย....(สำนักอาเซียน, เมษายน 2550)
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น