ในช่วงญี่ปุ่นเขาครองครองมาเลเซียนั้นได้ปลูกฝังความเกลี่ยดชังชาวจีนให้กับชาวมลายูอย่างมาก จนเมื่อหลงสงครามนั้นชาวมลายธพยายามฆ่าชาวจีนเท่าที่จะทำได้ มีผลให้อังกฤษซึ่งกลับเข้ามาปกครองมลายูอีกต้องทำการปราบปรามอย่างเข้มงวด สภาพของมลายูหลังสงครามโลกนั้น ปรากฎว่ามีการขาดแคลนอาหารอย่า่งมาก ต้องมีการสั่งซื้อข้าวจากาภยนอกประเทศ เช่น จากไทยและพม่า ซึ่งในระยะแรกเป้นไปด้วยความลำบาก เพนื่องจากการผลิตดข้าวของประเทศผุ้สงออกตกต่ำลงระหว่างงครา รัฐบาลมลายูเองพยายามใช้มาตรการต่างๆ กระตุ้นให้มีการเพาะปลูกภายในประเทศเพิ่มขึ้น
นอกจากการปรับปรุงด้านการเพาะปลูกพืชอาหารแล้ว รัฐบาลได้พยายามฟื้นฟูเศรษฐกิจด้านอื่นๆ ซึ่งรวมถึงการบูรณะทางรถไฟ ท่าเรือ ตลอดจนพยายามพัฒนอุตสาหกรรมเหนืองแร่และยางพาราขึ้นมาอีก ในช่วงนี้ปรากฎหว่าเหมืองแร่แบบโบราณของนายทุนชาวจีน ซึ่งใช้แรงงานเป็นปัจจัยสำคัญกลับฟื้นตัวได้เร็วกว่าเหมืองแร่แบบทันสมัยของชาวยุโรป เนื่องจากวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ถูกทำลายไปในระหว่างสงครามเป้ฯจำนวนมาก การซื้อหาเครื่องจักรต่าง ๆ มาทดแทนทำได้ยากและมีราคาแพงมาก เนื่องจาก สภาพเงินเฟ้อหลังสงคราม..
- เศรษฐกิจของมลายามาฝื้นตัวอย่างรวดเร็วประมาณ ค.ศ. 1950 เนื่องจากปัจจัยทางเศรษฐกิจขั้นพื้นฐานต่างๆ เช่น การคมนาคม พลังงาน ฯลฯ ได้รับการฟื้นฟูบูรณธจากความเสียหายระหว่างสงครามโลก ประกอบกับการเกิดสงครามเกาหลีในปีนั้นได้ส่งผลให้ราคายางและดีบุกสูงขึ้นมาก ทั้งนี้ดดยสหรัฐอเมริกาเป็นผุ้ซื้อสินค้าของมลายูเพื่อสะสมเป็นยุทธปัจจัย สงครมจึงเป้นสาเหตุที่ทำให้การผลิตสินค้าของมาเลิซียนเจริญในขณะนั้น แต่หลังจากนั้นมาระดับความเจริญทางเศรษบกิจของประเทศมีความผันแปร เนื่องจาก เศรษฐกิจของประเทศอิงกับการส่งออกซึ่งสินค้าสำคัญเพียงสองชนิดดังกล่าว มลายาได้ทำการปรับโครงสร้างการผลิตให้มีการผลิตสินค้ามากชนิดขึ้น เพื่อลอความเสี่ยงจากการพึ่งรายได้จากยางและดีบุกลง
ในสาขาเศราฐกิจอุตสาหกรรมนั้นมีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงไปในช่วงเลาดังกล่าวนี้ คืออุตาสาหกรรมเพื่อทดแทนการนำเข้าได้รับการส่งเสริม ดังนั้นผลที่ปรากฎจึงคล้ายคลึงกับประเทศเพื่อนบ้านอื่นๆ ที่มีการลดลงของการนำสิน้าเข้าที่เป้นวัตถุสำเร็จรูป แต่กลับมีการนำเข้าซึ่งส่วนประกอบการผลิต วัตถุดิบ ฯ อย่างมากในช่วงดังกล่าวน้และอุตสาหกรรมส่วนใหญ่จะเป้นการประกอบชิ้นส่วนเข้าด้วยกัน ดังนั้น มูลค่าเพิ่ม จึงไม่มาก และไม่เป็นการช่วสร้างงานมากนัก
- การวางแผนเศรษบกิจของมลายา ได้เริ่มวางแผนระยะ 5 ปี ขึ้นใน ค.ศ. 1957 ซึ่งเป็นแนวความคิดต่อเนื่องมาจากพระราชบัญญัติสวัสดิการและการพัฒนาอาณานิคม ของอังกฤษต่อมลายาในปี 1946 นั่นเอง พระราชบัญญัติดังกล่าวนี้เป้นความประสงค์ของอังกฤษที่จะให้รัฐบาลพื้นเมืองมประสิทธิภาพในการดำเนินโครงการพัฒนาเศราฐกิจและสังคม
ก่อน ค.ศ. 1950 นั้นรัฐบาลอาณานิคมได้มีความพยายามเพ่ิมผลผลิตในมลายาอยุ่แล้ว ดังที่จะเห้ฯได้จากการส่งเสริมการขยายการผลิยางพาราและดีบุกโดยพัฒนาปัจจัยขึ้นพันฐานต่างๆ ให้แก่มลายา แม้ว่าผลดีจะตกกับอังกฤษด้วย แต่มลายาก็ได้รับผลดี เช่น กัน ปรากฎว่ารายได้จากภาษีสินค้าออกได้เพิ่มอย่างมากรัฐบาลมีเงินสะสมมาก ซึ่งสมารถนำมาใช้จายเมื่อพัฒนาได้มาก มีการขยายกิจกรรมขั้นพื้นฐาาน อาทิ ถนนหนทาง การไปรษณีย์ การรถไฟ ฯ อย่งไรก็ตาม ปรากฎว่า แต่เดิมนั้นรัฐบาลอาณานิคมในมลายาได้มีการพัฒนาในลักาณะที่ไม่สมดุลในประเทศ เพราะรายจ่ายของรัฐบาลสวนมากจะใช้จ่ายไปในกิจกรรมที่สนับสนุนการผลิตเพื่อการส่งออกเท่านั้น โดยถือว่าเป็นกิจกรรมที่ก่อให้เกิดผลผลิต ดังนั้น การผลิตอื่นๆ ที่เป้ฯการผลิตขนาดเล็กและเป็นของชาวพื้นเมืองและมิได้ทำการผลิตเพื่อการส่งออกจึงเกือบไม่ได้รับผลประโยชน์จากรับาล เช่ การผลิตข้าว รัฐบาลให้ความสนใจน้อยมาก ไม่มีการสนับสนุนหรือกระตุ้นการผชิตเหล่านี้แต่อย่างใด การที่รัฐบาลไม่สนับสนุนการผลิตข้าวอาจเป้นเพราะผลตอบแทนจากการผชิตยางสูงกว่าการผลิตข้าว รัฐบาลสามารถสั่งชข้าวจากประเทศเพื่อนบ้านเข้ามาได้ง่าย ดังนั้น เกษตรกรพื้นเมืองจึงมีระดับการผลิตเพียงยังชีพเท่านันอย่างไรก็ดี นโยบายปล่อยให้สาขาการผลิตเพื่อบริโภคล้าหลังเช่นนี้ได้แสดงให้เห็นผลเสียในยามที่เกิดภาวะเศรษบกิจตกต่ำ เช่น ช่วงปลายทศวรรษ 1820 ปรากฎว่ามีความขาดแคลนสินค้าบริโภคในมลายู เพราะผลิตเองไม่พอทั้งสินค้าออกขายได้น้อยในช่วงดังกล่ว รายได้เพื่อซื้อสินค้าเข้าจึงน้อยลง
ความผิดพลาดในการใช้นโยบาย ดังกล่าได้มีการแก้ไขจาอังกฤษโดยผ่านพระราชบัญญัติสวัสดิการและการพัฒนา อาณานิคมออกมาหลังสงครามดลกครั้งที่ 2 และให้เงินทุนมาใช้ในโครงการพัฒนานี้ด้วย ทั้งนี้ดดยมุ่งให้อาณานิคมมีการกระจายการผลิตออกไปหลายๆ สาขาและให้การสนับสนุนการผลิตพืชอาหารด้วย รวมทั้งการให้สวัสดิการด้านอื่นๆ แก่พลเมืองในอาณานิคมโดยทั่วถึงกัน มิใช้สนับสนุนเฉพาะสาขาการผลิตเพื่อส่งออกอย่างเดี่ยว
แต่ปรากฎว่าความตั้งใจของอังกฤษไม่ประสบผลดีนัก เพราะเงินทุนที่ให้มานั้น้อยมาก ทั้งมีเงื่อนไขการดำเนินการที่ยุ่งยากจนผุ้บริหารในอาณานิคมไม่สนใจจะเสนอแผนไปยังเมืองแม่ อย่างไรก็ตาม ในกรณีของมาเลเซียนั้น เมื่อสำนักงานอาณานิคมในลอนดอนต้องการให้เสนอแผนก็ได้มีการทำร่างแผนพัฒนาที่เรียกว่า "Yellow Book"ขึ้นในปลายปี 1949-1950เพื่อำหนดเป้าหมายของนโยบายเศรษฐกิจและสังคมสำหรับช่วง 5 ปี คือ ระหว่าง ค.ศ. 1950-55 แต่แท้จริงร่างดังกล่าวเป็นเพียงการเอารายงานของแต่ละหน่วยงานมารวมกันเข้า และพยายามปรับปรุงตัวเลชทางการเงินให้พอดีกับจำนวนเงินที่จะได้จากอังกฤา และเนื่องจากแผนการพัฒนาดังกล่าวนี้มิได้มีการศึษกาสภาพเศรษบกิจอย่างจริงจัง จึงมีข้อบกพร่องมากมาย อาทิ เช่น การวางแผนยังอิงกับหลักการเดิมคือ กิจกรรมใดที่จะก่อให้เกิดรายได้นั้นให้ใช้จ่ายจากเงินกู้ได้ ส่วนกิจการที่เห้นว่าไม่ก่อให้เกิดรายได้ให้ใช้จากเงินที่สำนักงานอาณานิคมจัดเป็นกองทุนให้เท่านั้น ดังนั้น การพัฒนาจึงออกมาในรูปแบบเดิมคือ เน้นการสร้างกิจกรรมพื้นฐานเพื่อการผลิตส่งออก แต่ละเลยการให้สวัสดิการแก่สัีงคมและการพัฒนทรัพยากรมนุษย์ ในขณะเดียวกันในแผยนี้การพัฒนาทางด้านอุตสาหกรรมได้ถูกละเลยไป แต่ภายหลังรัฐบาลมลายาได้พยายามพัฒนการผลิตทั้งการเกษตรและการอุตสาหกรรมคู่กันไป จะเห็นได้ดังต่อไปนี้
- บทบาทของรัฐบาลด้านการเหาตรกรรม หลังจากที่การผลิตยางชะงักไปช่วงเกิดเศรษบกิจตกต่ำทั่วโลก และในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองแล้ว ปัญหาต่างเกี่ยวกับการปลูกยางยังมิได้หมดไป เช่น ผู้ปลูกยางขาดเงินทุนในการปลูกยางใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผุ้ปลูกยางรายย่อย ในค.ศ. 1952 รัฐบาลได้ใช้นโยบายโครงการปลูกยางทดแทนโดยการเก็บภาษีจากผุส่งยางออก เพื่อมาใช้สนับสนุนผุ้ปลูกยางทดแทน ปรากฎว่ามาตรการดังกล่าวนี้มิได้มีส่วนช่วยผุ้ผลิตยางรายเล็กๆ อย่างไรก็ตาม ในค.ศ. 1956 นั้นมีนโยบายช่วยเหลือกิจการขนาดเล็ก้ดยการให้เงินอุดหนุนในพื้นที่เพาะปลูกทั้งหมดแต่ไม่เกิน 1060 เอเคอร์ ดังนั้น ชาวสวนยางขนาดใหญ่และขนาดกลางจึงมีการซอยที่อกนออกเแ็นขนาดเล็กเพื่อจะได้รับเงินอุดหนุนเต็มี่ และก่อให้เกิดการกว้านซื้อที่ดินมาแบ่งขายเป็นแลงเล็กๆ มากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งการกระทำดังกล่าวนี้เโดยหลักการแล้วก่อให้เกิดผลเสียแก่การพัฒนาอย่างยิ่ง ผลประการหนึ่งที่เกิดขึ้นก็คือ ผุ้ที่เป็นเจ้าของที่ดินส่วนมากผลติขนาดใหญ่ที่จะตัดที่ดินบางส่วนขายได้ ดังนั้น เกษรตกร รายย่อยจริงๆ จึงมิได้รับลผลดีจากโครงการนี้นัก สภาพการขาดแคลนเงินทุนและที่ดินสำหรับเกษตรกรราย่อยๆ ยังคงดำเนินต่อไปการดำเนินการต่างๆ ของรัฐทำโดยไม่รอบคอบนักและล่าช้า ในราวต้นทศวรรษที่ 1960 นั้นรัฐบาลได้เร่งรีบแก้ปัญหาเรื่องที่ดินทำกินในชนบท การบริหารงานในช่วงนี้ซึ่งทำโดยคณะกรรมการพัฒนาที่ดินเป้นไปโดยมีประสิทธิภาพมากขึ้น เกษตรกรไ้ได้ที่ดินเพ่ิมขึ้นและมีบริการอำนวนคามสะดวกตลอดจนสวัสดิการต่างๆ ที่ชนบทดีข้น
อย่างไรก็ดี การทุมเทรายจ่ายของรัฐเพื่อสนับสนุนการผชิตยางโดยโครงการต่าๆ นั้ ทำให้รัฐบาลต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงมาก อนึ่งการหวังพึงยางพาราให้เป็นสินค้าหลักที่จะพยุงเศาฐกิจของประเทศอย่งเดี่ยน่าจะไม่พอเพียง เนื่องจากมีการผลิตยางสังเคราะห์มากขึ้นทุกที ทั้งนี้เพราะความก้าวหน้าของเทคโดลยีต่างๆ ทำให้ยางสังคเราห์มีคุณภาพใกล้เคียงยางพาราและมีราคาต่ำกว่าด้วย นอกจานั้น ยางสังเคราะห์ยังมีข้อได้เปรียบยางธรรมชาติในประเด็นของการปรับตัวของอุปทานต่ออุปสงค์ในตลาดโลกได้รวดเร็ว
อย่างไรก็ดี แม้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจจะเน้นการส่งเสริมการผลิตยางพาราเป้ฯอย่างมาก แต่ในระยะต่อมาคือช่วง ค.ศ. 1966-1970 ได้ลดความสำคัญของยางพาราลง และหันไปเน้นการลงทุนอย่งอื่นเพิ่มขึ้น เช่น สนับสนนุการปลูกข้า การประมง นอกจากนั้น ได้มีการพิจารณาส่งเสริมการปลูกปาล์มน้อำมนแทนยางพารา เนื่องจากราคาของปาล์มน้ำมันมีแนวโน้มว่าจะดีกว่าราคายาง
- บทบาทของรัฐบาลด้านการอุตสาหกรรม ในช่วงแรกของแผนพัฒนา เศรษฐกิจนั้นไม่ปรากฎว่ารัฐบาลสนใจการดำเนินงานด้านอุตสาหกรรมนัก นอกจากนั้น โดยรายงานของคณะสำรวจภาวะเศรษกิจจากธนาคารโลกในช่วงแรกของทศวรรษ 1950 นั้น ปรากฎว่าไม่สนับสนุนให้รัฐเข้าดำเนินงานอุตสาหกรรมเอง นอกจากการอำนวนความสะดวกต่างๆ และส่งเสริมบรรยากาศการลงทุนเท่านั้น ซึ่งความเห็นเช่นว่านี้ของคณะสำรวจดังกล่าวที่ไใ้แก่บรรดาประเทศเอเซียตะวนออกเฉยงใต้จะเป้ฯในลักษณะเดี่ยวกันแทบทั้งสิ้นรวมทังประเทศไทยด้วยและนั้นเท่ากับเป็นการเปิดโอกาสให้เอกชนลงทุน แต่มักจะแรากฎว่านายทุนพื้นเมืองมีโอกาสน้ยเนื่องจากขาดแคลนเงินทุนและเทคโนโลยีทันสมั้ย จงเป้ฯอีก้าหน่งของนายทุนตะวันตกที่จะกลับมาครอบงำเศรษบกิจของเอเซียตะวันอกเแียงใต้ได้อีกวาระหนึ่ง นอกจากการจำกัดบทบาทของรัฐบาลมลายาแล้วว คณะสำรวจดังกล่าวยังได้เสนอให้การนำเข้าเป้ฯไปอย่างเสรี..อย่างไรก็ตาม ปรากฎว่าได้มีการอุตสาหกรรมทุติยภูมิขนาดย่อมเพ่ิมขึ้นอย่างมาก เช่นการทำอิฐสัปะรดกระป๋อง สบู่ ผลิตภัฒฑ์จากยาง ฯลฯ และในภายหลังมีอุตสาหกรรมหนักเพิ่มขึ้น เช่น อุตสาหกรรมเหล็ก การกลั่นน้ำมัน การทำซีเมนต์ ฯ
- ทางด้านการต้าระหว่างประเทศ อาจกล่าวได้ว่าแม้มาเลเซียจะมีการดำเนินนโยบายเพื่อสนับสนุสินค้าเพียงองประเภทเพื่อการส่งออก แต่อย่างไรก็ตาม ในภายหลังโดยเแฑาะในครึ่งหลังทศวรรษ 1960 ได้แก้ไขนโยบายดังกล่าวจะเห็นได้ว่า มาเลเซียสามารถดำเนินการทางด้านการต้าระหว่างประเทศได้ผลดีมากในช่วงทศวรรษ 1960 โดยมีดุลการต้าเกินดุลตลอดเวลา
อาจกล่าวได้ว่า มาเลิซียได้ผ่านจากสภาพการเป็ฯอาณานิคมมาจนถึงปัจจุบันนี้ด้วยการเผชิญปัญหาต่างๆ ทั้งทางการเมืองและเศรษฐกิจ ซึ่งเป้ฯปัญหาที่เกิดจาภายนอกประเทศและปัญหาภายในปประเทศเอง หากพิจารณาดูช่วงของการเป้นอาณานิคมของอังกฤษนั้น ความทารุณโหดร้ายของผุ้ปกครองอาจจะค่อนข้างน้อย หากเปรียบเที่ยบกับประเทศที่ตกเป็นอาณานิคมของดัชท์ หรือของฝรั่งเส แม้อังกฤษจะเข้ามากอบโกยผลประโยชน์ไปไม่น้อย แต่ความปรารถนาดีต่อมาลยูก็พอควร เห้นได้จาการที่ระบบการศึกษา ความสะดวกขึ้นพื้นฐาน ตลอดจนความมีระเบียบวินัยของคนในประทเศล้วนเป้นส่วนหนึ่งของการปลูฝังของชาวอังกฤษ ปัญหาที่แท้จริงของมาเลเซียน้นกลับเป้นปัฐหารที่เกิดในประเทศ เช่น ความแตกแยกกันเองของคนในชาติ เช่น ชาวจีนกับชาวพื้นเมืองดั้งเดิม และชาวอินเดีย วึ่งต่างแก่งแย่งชิงอำนาจทางการเมืองและผลประดยชน์จะเห้นได้จาการกีดกันของชาวมลายูต่อชาวจีนเป็นไปอย่างรุนแรง แม้ในสมัยของการตั้งเป้นสหพันธ์มลายูนั้นได้พยายามออกกฎต่างๆ ที่จะไม่ให้ชาวจีนไ้เป็นพลเมืองของสหพัฯธ์ สิงคโปร์ซึ่งได้พยายามเข้ามารวมตัวด้วยโดยหวังว่าจะได้ประโยชน์ก้กลับถูกกีดกันต่างๆ นานา แม้จนกระทั่งระแวงว่าพรรคการเมืองของสิงคโปร์จะเข้ามามีอิทธิพลทางการเมืองจนอกาจกลายเป็นรัฐบาลของประเทศ ซึ่งในที่สุดสิงคโปร์ก็จำต้องลาออกจากการเป็นสมาชิกของสหพันธ์
ในทางเศราฐกิจนั้นรัฐลาบมีนโยบายที่ผิพลาดบางประการในระยะแรกๆ นั้นคื อากรสนับสนุการผลิตสินค้าเพื่อส่งออกเพียง 2 ประเถท คือยางพาราและดีบุก ซึ่งแม้ว่ารายได้จาสินค้าออกทั้งสองนี้จะสูงมกในบางระยะแต่ถือได้ว่ามีความเสี่ยงสูง เรพาะสินค้าทั้งสอชนิดนั้นขึ้กับความต้องการของตลาดโลก เมื่อดดที่ตลาดโลกมีความแรปรวน เศรษบกิจของมาเลเซียก็มปรแปรวนด้วยเป้นการนำเอาเศรษบกิจของตนไปผูกับตลาดโลกมากเกินไป ซึ่ระยะหลังๆ รับบาลตระหนังถึงผลเสียของนโยายเช่นนี้ จึงมีการแก้ไข โดยการพยายามกระจายประเภทผลผลิตให้มากขึ้น ความพยายามดังกล่าวจะเห้ฯได้จากการขยายการผลิตปาล์มน้ำมันซึ่ง ใน ค.ศ. 1966 มาเลเซียกฃลายเป็นผุ้ผลิตรายใหญ่ที่สุดในโลก และมีแนวโน้มการผลิตเพ่ิมขึ้นเรื่อยๆ นอกจานั้นผลิตภัณฑ์จากไม้ น้ำมันดิบ รวมทั้งการผลิตข้าวก็มีการเพิ่มผลผลิตตลอดเวลา สำหรับข้าวนั้นจากการผลิตเพียง 910 พันตันใน ค.ศ. 1964 กลายเป็นจำนวนถึง 1,789 ล้านตัน ในค.ศ. 1974 ทั้งนี้โดยการขยายพื้นที่เพาะปลูกและปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตด้วย
่เมื่อพิจารณาจากแนวโน้มดังกล่าวจึงเห็นได้ว่ามาเลเซียจะเป้นประเทศหนึ่งในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีอนาคตทางเศรษบกิจ หากสามารถปรับความสัมพันะ์ของคนในชาติให้ร่วมมือกันมากยิ่งขึ้น ขณะเดี่ยวกันก็ควรจะร่วมมอกับประเทศเพื่อนบ้าน..(ประวัติการพัฒนาเศรษฐกิจของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้, รศ. ญาดา ประภาพันธ์)
วันพฤหัสบดีที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2560
วันพุธที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2560
History Economic of Sounth East Asia : Indonesia
ปัญหาที่อินโดนีเซียประสบตลอดเวลานับแต่การตกเป็นอาณานิคมของยุโรปจนกระทั่งตกอยุ่ภายใต้การยึดครองของญี่ปุ่นคือ ภาวะเงินเฟ้อ และหลังจากที่ญี่ปุ่นออกไปจากประเทศแล้ว ปัญหาดังกล่วนี้ก็มิได้เบาบางลง เนื่องจากการต้องฟื้นฟูบูรณะประเทศมีผลให้รัฐบาลต้องใช้จ่ายเงินทาองอย่างมหาศาล ดังนั้นกาขาดดุลงบประมาณจึงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องจนถึงตอนปลายของทศวรรษที่ 1960 ในสมัยของปรธานาธิบดีซูฮาร์โต ปัญหาเงินเฟ้อนี้ได้กลายเป้นชยสนวที่ก่อให้เกิดปัญหาด้านอื่นๆ ตามมาอีกมากมาย
เมื่อสิ้นสุดสงครามโลกใหม่ๆ นั้น อินโดนีเซียไม่อาจจะเริ่มพัฒนาเศรษฐกิจได้ทันที เนื่องจาก ยยังมีปัญหาการสู้รบกับดัชท์ ซึ่งพยายามจะเข้ามาครอบครองอินโดนีเซียนอีกวาระ ตลอดจนการสู้รบระหว่างคนในชาติเดียวกัน ขณะเดียวกันภาวะเงินเฟ้อซึงเกิดขึ้นในระหว่างสงครามยังคงต่อเนื่องมาจน ค.ศ.1949 ซึ่งเป็นปีที่อินโดนีเซียได้อิสระภาพอย่างแท้จริง อย่างไรก็ตาม ในระยะที่สิ้นสุดสงครามนั้นอนิโดนีเซียได้รับเงินช่วยเหลือจากสหรัฐโดยผ่านฮอลันดาเพื่อฟื้นฟูบูรณะประเทศ เงินช่วยเหลือเป็นมูลค่ารวมจนถึง ค.ศ. 1950 เป็นจำนวน 113.5 ลานเหรียญสหรัฐ เงินจำนวนนี้มีส่วนช่วยบูรณะซ่อมแซมสิ่งจำเป็นพื้นฐานของอินโดนีเซียขึ้นมาได้พอสมควร อันเป็นผลให้ภาวะเงินเฟ้อบรรเทาลงบ้าง ปัญหาที่เกิดจากฝ่ายนรัฐบาลอินโดนีเซียนนั้นคือ รัฐบาลมีปัญหาขาดดุลย์วบประมาณมาโดยตลอดระยะหลังสงครามยกว้น คซศ. 1951 ซึ่งเศรษฐกิจเจริญขึ้น เนื่องจากเกิดงครามเกาหลี การแก้ปัญหาขาดดุลงลประมาณนั้นปกติรัฐบาลอินโดนีเซียใช้วิธีกู้ยืมจาธนาคารกลาง อันมีผลให้ปริมาณเงินตราของประเทศเพิ่มอย่างมากแลระาคาสินค้าสูงขึ้นตามไปด้วย จากสภาวะการขาดเสถียรภาพของราคานี้เอง มีผลให้รัฐบาลต้องหามาตรการแก้ไข วิธีการหนึ่งที่รัฐบาลอินโดนีเซียนนำมาใช้ก็คือ การควบคุมการแลกเปลี่ยนแงินตราระหว่างประเทศ เพื่อยับยั้งการลดค่าของเงินสกุลพื้นเมือง และเพื่อรักษาสำรองเงินตราต่างประเทศ มาตรการดังกล่าวนี้ยังช่วยควบคุมการสั่งสินคาเข้าและออกด้วย แม้ว่ามาตรการดังกล่าวดุเสือนว่าจะมีผลดีในการแก้ไขภาวะเศรษฐกิจของอินโดนีเซีย แต่ในทางปฏิบัติยอมเกิดการแลกเปลี่ยนเงินตราในตลาดมือ เนื่องจากขณะที่ค่าเงินรูเปียสถูกกำหนดให้คงที่ในอัตราทางการนั้น ค่าแท้จริงของเงินลดลงอยุ่ตลอดเวลาในตลาดเสรี ดังนั้น ยิ่งค่าแท้จริงของเงินกับค่าที่ทางการกำหนดแตกต่างมากขึ้นย่อมมีผลให้เกิดคลาดมือมากขึ้น ในที่สุดรัฐบาลอินโดนีเซียต้องใช้มาตรการต่างๆ ทั้งทางตรงและทางอ้อมในการลดค่าเงินของตน เช่น ระบบการแลกเปลี่ยนเงินตราพิเศษ ซึ่งเป็นระบบที่ให้ผุ้ส่งสินค้าออกได้สิทธิพิเศษในการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และลงโทษผุ้สั่งสินค้าเข้า
นโยบายอีกประการที่รัฐบาลนำมาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาเศรษบกิจของประเทศคือการเร่งรัดพัฒนาอุตสาหกรรม โดยใช้มาตรการให้สิทธิพิเศษในการสั่งซื้อวัตถุดิบจากต่งประเทศ โดยกำหนดว่าวัตถุดิบที่สั่งเข้ามาใช้ในอุตสาหกรรมที่รัฐบาลสนับสนนุเป็นสินค้าจำเป็นซึ่งผุ้สั่งเข้าจะได้สิทธิพิเศษในการแลกเปี่ยนเงินตรา ทั้งยังได้สิทธิพิเศษยกเว้นหรือลดอย่อนอารขาเข้าด้วย ซึ่งน่าจะเป็นสินค้าจำเป็น ซึ่งผุ้สั่งเข้าจะได้สทิะิพิเศษในกากรแลกเปลี่ยนเงินตรา ทั้งยังได้สิทธิพิเศษยกเว้นหรือลดหย่อนอารขาเข้าดว ซึ่งน่าจะเป้นผลดีแก่อุสาหกรรมในประเทศหากผู้สั่งเข้านั้นเป็นผุ้ประกอบอุตสาหกรรมเสียเอง หรือผุ้สั่งเข้านำมาขายให้ผู้ประกอบอุตสาหกรรมในระคายุติธรรม แต่สภาพที่แท้จริงคือ ผุ้สั่งเข้านำมาขายในราคาที่สุง ดังนั้น ในที่สุดรัฐบาลก็ต้องเข้าควบคุมขั้นตอนการขายวัตถุดิบในประเทศอีกอย่างหนึ่ง การเข้าควบคุมหลายขึ้นตอนนี้ ในทางปฏิบัติย่อมเป้นิงที่ยุงยก เพราะพ่อค้าผุ้สั่งสินค้าเข้าบย่อมพยายามหาทางหลีกเลียง ขณะเดียวกันหากการควบคุมราคาวัตถุดิบเป็นผลสำเร็จยอ่มแสดงว่าผุ้สั่งเข้าจะมีกำไรน้อย ผุ้สั่งเขาย่อมไม่ประสงค์จะนำเข้า ซึ่งวัตถุดิบในการประกอบอุตสาหกรรมหรือมีการกัดตุนวัตถุดิบเอเไว้จะเป็นเหตุให้วัตถุดิบไม่เพียงพอ อันก่อให้เกิดปัญหาแก่ฝ่ายผุ้ผลิตและเป็นอุปสรรคของการพัฒนาอุตสาหกรรมด้วย ผู้ประกอบการอุตสาหรรมจึงเรียกร้องให้รัฐบาลดำเนินมารตรการอีกปลกายประการ ในที่สุดรัฐบาลถึงกับจัดตั้งองค์การขึ้นมาเพื่อทำหน้าที่สั่งเข้าและจัดจำหน่ายวัตถุดิบให้แก่อุตสาหกรรมในประเทศ โดยหลัการแล้วการที่รัฐบาลเข้าแทรกแซงทางธุรกิจมากเกินไปมิใช่สิ่งที่ดีเพราะเท่ากับเป็นการบิดเบือนกลไกตลาด มีผลให้เกิดการจัดสรรทรัพยากรอย่างไร้ประสิทธิภาพ เนื่องจาก อุตสาหกรรมที่รัฐให้การสนับสนุนอาจมิใช่กิจการที่มีประสิทธิภาพนัก แต่อาจมีข้อโต้แย้งได้ว่าอุตสาหกรรมที่รัีฐช่วยเลหือเป็นอุตสาหกรรมแรกตั้ง
อย่างไรก็ตาม เมื่อรัฐบาลให้การช่วยเลหือฝ่ายผุ้ผลิตไปแล้ว ในไม่ช้าฝ่ายผุ้บิโภคก็เรียกร้องให้รัฐช่วยคุ้มครงอด้วยเนื่องจากภาวะเงินเฟ้อ ดังนั้น รัฐบาลจึงต้องควบคุมราคาจำหน่ายสินค้าบริโภคด้วย ความจริงรัฐบาลได้ปกปองผุ้บริโภคอยู่แล้วสำหรับสินค้าจำเป็นแก่การตีองชีพด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การปันสวนสินค้สการควบคุมราคาข้าว
การแทรกแซงในภาคเศรษบกิจของรัฐบาลอินโดนีเซียมีมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งนี้เพราะสภาพอันเลวร้ายของเศรษฐกิจ ซึ่งนอกจากภาวะเงินเฟ้อและการสูญเสียเงินคราแล้ว การผลิตก็มิได้ประสบผลดีนักทังทางเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม
เมื่อพิจารณาให้รอบคอบอาจพบว่าหากรัฐบาลอินโดนีเวียมีความประสงค์จะแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจจริงแล้ว รัฐบาลอินโดนีเซียจะสามารถทได้ในบางส่วน โยเฉพาะอย่างยิ่งด้านวบประมาณการใช้จ่าย รัฐบาลสามารถตัดทอนการใช้จ่ายลงได้แต่รัฐบาลกลับยิ่งทวีการใช้จ่ายมากขึ้นทั้งนี้เพราะควมทะเยอทะเยานทางการเมืองของผุ้นำ การใช้จ่ายทงทหารของซูการ์โนเป็นจำนวนมหาศาล ทังภาคการผลิตบางสาขาก็ถูกละเลย รัฐบาลให้ความสนใจเฉพาะกิจการบางอย่างเท่านั้น ทำให้การผลิตไม่ขยายตัวอย่างพอเพียง ภาวะเงินเฟ้อทวีความรุนแรงมาก ซึ่งในปลายปี ค.ศ. 1965 เศรษฐกิจอยู่ในสภาที่ใหล้ล้มละลาย
อาจแยกสภาพเศรษบกิจทั้งด้านการผลิต การใช้จ่ายของรัฐบาลตลอดจนปัญหาต่างๆ ทีเ่กิดขึ้นในอินโดนีเซีย ตั้งแต่ระยะหลังสงครามดลกครั้งที่สอง ระยะเศรษบกิจแบบชี้นำ และเศรษบกิจในทศวรรษที่ 1970 ได้ ดังนั้น
- ภาวะการผลิตทางด้านการเกษตร ปรากฎว่าการผลิตข้าวเปลื่อก ซึ่งเป็นการผลิตที่สำคัญในชวาลดลงอย่างมากในช่วงหลังกของทศวรรษ 1940 จนถึงต้นทศวรรษ 1950 เมื่อเที่ยบกับก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่หลังจาก ค.ศ. 1950 เป็นต้นมาการผลิตข้าวเร่ิมมีการฟื้นตัว และเจริญเต็มที่ใน ค.ศ. 1956 แต่พืชอาหารชนิดอื่น เชนพวกถัวงายังไม่สามารถฟื้นตัวได้นัก อย่างไรก็ตาม ปัญหาที่เกิดขึ้นในช่วงดังกล่าวก็คือประชากรมีอัตราการเพิ่มอย่างรวดเร็ว ดังนั้น ผลผลิตเฉลี่ยต่อประชกรจึงลดลงมากเมื่อเที่ยบกับระยะก่อนสงครามโลก
ปัญหาที่แท้จริงของการผลิตพืชอาหารของอินโดนีเซียโดยเฉพาะในเขตที่ประชกรหาแน่น เช่น ชวานั้น เป้ฯเพราะความขาดแคลนที่ดินในการเพาะปลูก เมื่อเพทียบกับจำนวนประชากร นั่นคือ มีที่ดินขนาดใหญ่ซึ่งมิได้ใช้เพาะปลูกอยู่มาก ขณะเดียวกันปัฐญหาการเพิ่มของประชกรส่งผลให้ขนาดที่ดินต่อประชกรยิ่งลดลงไปอี แม้ว่ารัฐบาลจะได้มีความพยายามปรับปรุงทางด้านเทคนิคต่างๆ เช่น การใช้ปุ๋ย การชบประทาน การใช้เมล็ดพันธ์ุที่ดี แต่ยังไม่เพียงพอที่จะทำให้ประสิทธิภาของการปลิตสูงได้ ดังนั้น การผลิตสินค้าอาหารของอินโดนีเซียโดยเฉพาะข้าวจึงไม่พอเลี่้ยงประชากรของตนเอง ต้องนำเข้าจากภายนอก
- การผลิตทางด้านอุตสาหกรรม ภายหลังสงครามดลครั้งที่ 2 นั้นการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมของอินโดนีเซียสรุปได้ว่ามูลค่าเพิ่มต่อจำนวนประชากรยังต่ำหว่าก่อนสงคราม และปรากฎว่าใชบ่วงทศวรรษ 1950 นั้น อุตสาหกรรมขนาดเล็กมีอัตราความเจริญเร็วกว่าอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ จะเห็นได้จากอัตรการเพิ่มของโรงานขนาดเล็กที่มีคนงานไม่เกิน 10 คน เพ่ิมจาก 15.2% ของจำนวนโรงงานทังหมดในค.ศ. 1960 ในขณะที่โรงงานขยาดใหญ่ที่มีคนงานหว่า 50 คนขึ้นไปนั้นกลับหดตัวลง อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาโดยจำนวนแล้วปรากฎว่าจำนวนโรงงานขนาดกลางจะมีมากที่สุด ส่วนทางด้านการจ้างงานนั้นโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่มีการจ้างงานมากที่สุด แต่เปอร์เซนรจ์การจ้างงานของโรงานขนาดเล็กก็เพ่ิมขึ้นเรื่อยๆ
- การค้าระหว่งประเทศและดุลย์การชำระเงิน ในทศวรรษที 1920 นั้นเศรษฐกิจของอินโดนีเซียองคกับการส่งออก เช่น ประมาณ 35% ของรายได้ประชาชาติมาจาการส่งสินค้าออก แต่ต่อมาแนวโน้มดังกล่าวลดลง ซึงน่าจะมีลให้ปริมาณส่งเข้าหดตัวลง อย่งไรก็ตาม ปรากฎว่าหลังสงคราม การสั่งสินค้าเข้าเพิ่มเพราะแรงอั้นของอุปสงค์ระหว่างสงครามรัฐบาลจึงต้องเข้ามาดำเนินการควบคุมการต้าระหว่างประเทศมาก เพื่อการแก้ไขการไหลออกของทุนสำรองเงินตรา และขณะเดียวกันก็เพื่อคุ้มตรองอุตสาหกรรมในประเทศด้วยมีการให้สิทะิพิเศษในการแลกเปลี่ยนเงินตราเฉพาะสินค้าที่อยุ่ในข่ายการส่งเสริม เช่น วัตถุดิบนำเข้าเพื่อผลิตสินค้าอุตสาหกรรมที่จำเป็นจะแลกเงินตราต่างผระเทศได้ในระคาถูก หรือได้สิทธิพิเศษทางด้านภาษีอากรด้วย..
เมื่อสถานะการณ์ของประเทศเลวร้ายขนาดไม่อาจชำระหนร้ต่างผระเทศได้ใน ค.ศ. 1965 นั้น ประขวบกับมีัฐประหารขึ้นและมีการเปลี่ยนแรัฐบาลใหม่ สถานการณ์การผลิตดีขึ้นเนื่องจากการพยายามฟื้นฟูเสถียรภาพของราคา ทำให้ผู้ลงทุนมีความมันใจขมากขึ้น การส่งออกฟื้นตัวโดยเฉาพอย่างยิ่งหลัง ค.ศ. 1968 อย่างไรก็ตาม ดุลย์การชำระเงินอยุ่ในสภาพขาดดุลย์เนื่องจาก การเพิ่มของสินค้าเข้ามามากว่าโดยเฉพาะอย่างยิ่งินค้าเข้าประเภททุนและวัตถุดิบที่อินโดนีเซียผลิตไม่ได้เอง ผลของสภาพการต้าระหว่างประเทศเช่นนี้มีผลให้เกิดปัญหาดุลย์ชำระเงินขาดดุลย์รุนแรงขึ้น
- การใช้จ่ายของรัฐบาลแบะภาวะเงินเฟ้อ การใช้จ่ายของรัฐบาลหลังสงคราดลครัี้งที่สองแนวโน้มเพ่ิมขึ้นเรื่อยๆ ในขณะที่การผลิตและการ่งออกยังไม่อาจปรับตัวได้ทันกับการเพ่ิมของประชกร ยังผลให้งบประมาณของรัฐบาลมีสภาพขาดดุล ความไม่สามารถชะลอตัวในการใช้จ่ายของรัฐบาลนั้นเป้นสาเหตุหนึ่งของภาวะเงินเฟ้อหลังสงคราม ซึ่งภาวะเงินเฟ้อเป้นไปอย่างรุนแรงในช่วงเศรษฐกิจแบบชี้นำระหว่างปี ค.ศ.1960-1965
อินโดนีเซียได้ผ่านระยะของการตกเป็นอาณานิคมจนมาถึงปัจจุบันด้วยสภาพเศรษบกิจต่างๆ การถูกเอารัดเอาเปรียบจากเมืองปม่ในระยะตกเป็นอาณานิคมของดัชท์และญี่ปุ่น ทั้งได้ผ่านระยะของความเป็นเอกราชโดยรัฐบาลที่มุ่งมั่นทางการเมืองและการทหารมากว่าเศรษกฐกิจจนถึงระยะที่สภาพเศรษฐฏิจเกือบจะล้มละลายใน ค.ศ.1965 และในที่สุดเกิดรัฐประหารขึ้มา ซึ่งนโยบายช่วงหลังนี้เป็นการพยายามฟื้นฟูทางเศรษฐกิจอย่างมาก อย่างไรก็ตาม ปัฐญหาอีกมากมายยังรอคอยการแก้ไขของชาวอินโดนีเซียอยุ่สภาพการขาดดุลย์การชุระเงินอนเนื่องมาจากการสั่งสินค้าเพื่อการพัฒนานั้น เป้ฯสิ่งที่ต้องหาทางออกให้ได้จะด้วยการผลิตทดแทนการนำเข้าหากปัจจัยในประเทศมีความพร้อมหรือาจต้องเปลี่ยนแผลงการใช้เทคนิคในดาผลิตให้เหมาะสมกับทรัพยากรทีรมี หรือแม้กระทั่งการพยายามขยายปริมาณและมูลค่าสินค้าออกด้วยการหาตลาดใหม่ๆ หรือ เพิ่มประเภทการผลิตเพื่อส่งออก อันเป็นบทบาทที่ต้องการความร่วมมือของเอกขนแลรัฐบาลทุกขึ้นตอนรัีฐบาลควรให้แรงจูงใจแก่เอกชนในการออมและการลงทุน ควรมีการปรับปรุงสถาบันการเงินเพื่อการระดมเงินทุนและการให้สินเชื่อย่างมีประสิทธิภาพ ในขณะเดียวกันการผลิตสาขชาเกาษตรกรรมและโดยเฉพาะอย่างยิ่งการผลิตพืชอาหารนั้นไม่ควรละเลย เพราะประวัติศาสตร์ของอินโดนีเซียได้แสดงให้เห็นแล้วว่า หากมีการขาดแคบนส่ิงจำเป้นแก่การดำรงชีพแล้ว ภาวะเงินเฟ้อผ่อมเกิด และผุ้ประกอบการจะไม่แน่ใจในการลงทุนประชาชนโดยทั่ยไปเกิดความอดอยาก และเมื่อใดที่ระบบเศรษบกิจขาดเสถียรภาพระบบการเมืองก็จะขาดความั่นคงไปด้วย นอกจากนั้นทางฝ่ายรัฐบาลเองจะต้องมีการปรับปรุงประสทิะภาพของการบริหารงาน ซึ่งรวมถึงความสุจริตของข้ราชการด้วยเพื่อมิให้ระบบราชการกลายเป้นจุดถ่วงที่สำคีัญของการพัฒนาประเทศ..(ประวัติการพัฒนาเศรษฐกิจของเอเซียนตะวันออกเฉียงใต้,รศ. ญาดา ประภาพันธ์,2538.)
เมื่อสิ้นสุดสงครามโลกใหม่ๆ นั้น อินโดนีเซียไม่อาจจะเริ่มพัฒนาเศรษฐกิจได้ทันที เนื่องจาก ยยังมีปัญหาการสู้รบกับดัชท์ ซึ่งพยายามจะเข้ามาครอบครองอินโดนีเซียนอีกวาระ ตลอดจนการสู้รบระหว่างคนในชาติเดียวกัน ขณะเดียวกันภาวะเงินเฟ้อซึงเกิดขึ้นในระหว่างสงครามยังคงต่อเนื่องมาจน ค.ศ.1949 ซึ่งเป็นปีที่อินโดนีเซียได้อิสระภาพอย่างแท้จริง อย่างไรก็ตาม ในระยะที่สิ้นสุดสงครามนั้นอนิโดนีเซียได้รับเงินช่วยเหลือจากสหรัฐโดยผ่านฮอลันดาเพื่อฟื้นฟูบูรณะประเทศ เงินช่วยเหลือเป็นมูลค่ารวมจนถึง ค.ศ. 1950 เป็นจำนวน 113.5 ลานเหรียญสหรัฐ เงินจำนวนนี้มีส่วนช่วยบูรณะซ่อมแซมสิ่งจำเป็นพื้นฐานของอินโดนีเซียขึ้นมาได้พอสมควร อันเป็นผลให้ภาวะเงินเฟ้อบรรเทาลงบ้าง ปัญหาที่เกิดจากฝ่ายนรัฐบาลอินโดนีเซียนนั้นคือ รัฐบาลมีปัญหาขาดดุลย์วบประมาณมาโดยตลอดระยะหลังสงครามยกว้น คซศ. 1951 ซึ่งเศรษฐกิจเจริญขึ้น เนื่องจากเกิดงครามเกาหลี การแก้ปัญหาขาดดุลงลประมาณนั้นปกติรัฐบาลอินโดนีเซียใช้วิธีกู้ยืมจาธนาคารกลาง อันมีผลให้ปริมาณเงินตราของประเทศเพิ่มอย่างมากแลระาคาสินค้าสูงขึ้นตามไปด้วย จากสภาวะการขาดเสถียรภาพของราคานี้เอง มีผลให้รัฐบาลต้องหามาตรการแก้ไข วิธีการหนึ่งที่รัฐบาลอินโดนีเซียนนำมาใช้ก็คือ การควบคุมการแลกเปลี่ยนแงินตราระหว่างประเทศ เพื่อยับยั้งการลดค่าของเงินสกุลพื้นเมือง และเพื่อรักษาสำรองเงินตราต่างประเทศ มาตรการดังกล่าวนี้ยังช่วยควบคุมการสั่งสินคาเข้าและออกด้วย แม้ว่ามาตรการดังกล่าวดุเสือนว่าจะมีผลดีในการแก้ไขภาวะเศรษฐกิจของอินโดนีเซีย แต่ในทางปฏิบัติยอมเกิดการแลกเปลี่ยนเงินตราในตลาดมือ เนื่องจากขณะที่ค่าเงินรูเปียสถูกกำหนดให้คงที่ในอัตราทางการนั้น ค่าแท้จริงของเงินลดลงอยุ่ตลอดเวลาในตลาดเสรี ดังนั้น ยิ่งค่าแท้จริงของเงินกับค่าที่ทางการกำหนดแตกต่างมากขึ้นย่อมมีผลให้เกิดคลาดมือมากขึ้น ในที่สุดรัฐบาลอินโดนีเซียต้องใช้มาตรการต่างๆ ทั้งทางตรงและทางอ้อมในการลดค่าเงินของตน เช่น ระบบการแลกเปลี่ยนเงินตราพิเศษ ซึ่งเป็นระบบที่ให้ผุ้ส่งสินค้าออกได้สิทธิพิเศษในการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และลงโทษผุ้สั่งสินค้าเข้า
นโยบายอีกประการที่รัฐบาลนำมาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาเศรษบกิจของประเทศคือการเร่งรัดพัฒนาอุตสาหกรรม โดยใช้มาตรการให้สิทธิพิเศษในการสั่งซื้อวัตถุดิบจากต่งประเทศ โดยกำหนดว่าวัตถุดิบที่สั่งเข้ามาใช้ในอุตสาหกรรมที่รัฐบาลสนับสนนุเป็นสินค้าจำเป็นซึ่งผุ้สั่งเข้าจะได้สิทธิพิเศษในการแลกเปี่ยนเงินตรา ทั้งยังได้สิทธิพิเศษยกเว้นหรือลดอย่อนอารขาเข้าด้วย ซึ่งน่าจะเป็นสินค้าจำเป็น ซึ่งผุ้สั่งเข้าจะได้สทิะิพิเศษในกากรแลกเปลี่ยนเงินตรา ทั้งยังได้สิทธิพิเศษยกเว้นหรือลดหย่อนอารขาเข้าดว ซึ่งน่าจะเป้นผลดีแก่อุสาหกรรมในประเทศหากผู้สั่งเข้านั้นเป็นผุ้ประกอบอุตสาหกรรมเสียเอง หรือผุ้สั่งเข้านำมาขายให้ผู้ประกอบอุตสาหกรรมในระคายุติธรรม แต่สภาพที่แท้จริงคือ ผุ้สั่งเข้านำมาขายในราคาที่สุง ดังนั้น ในที่สุดรัฐบาลก็ต้องเข้าควบคุมขั้นตอนการขายวัตถุดิบในประเทศอีกอย่างหนึ่ง การเข้าควบคุมหลายขึ้นตอนนี้ ในทางปฏิบัติย่อมเป้นิงที่ยุงยก เพราะพ่อค้าผุ้สั่งสินค้าเข้าบย่อมพยายามหาทางหลีกเลียง ขณะเดียวกันหากการควบคุมราคาวัตถุดิบเป็นผลสำเร็จยอ่มแสดงว่าผุ้สั่งเข้าจะมีกำไรน้อย ผุ้สั่งเขาย่อมไม่ประสงค์จะนำเข้า ซึ่งวัตถุดิบในการประกอบอุตสาหกรรมหรือมีการกัดตุนวัตถุดิบเอเไว้จะเป็นเหตุให้วัตถุดิบไม่เพียงพอ อันก่อให้เกิดปัญหาแก่ฝ่ายผุ้ผลิตและเป็นอุปสรรคของการพัฒนาอุตสาหกรรมด้วย ผู้ประกอบการอุตสาหรรมจึงเรียกร้องให้รัฐบาลดำเนินมารตรการอีกปลกายประการ ในที่สุดรัฐบาลถึงกับจัดตั้งองค์การขึ้นมาเพื่อทำหน้าที่สั่งเข้าและจัดจำหน่ายวัตถุดิบให้แก่อุตสาหกรรมในประเทศ โดยหลัการแล้วการที่รัฐบาลเข้าแทรกแซงทางธุรกิจมากเกินไปมิใช่สิ่งที่ดีเพราะเท่ากับเป็นการบิดเบือนกลไกตลาด มีผลให้เกิดการจัดสรรทรัพยากรอย่างไร้ประสิทธิภาพ เนื่องจาก อุตสาหกรรมที่รัฐให้การสนับสนุนอาจมิใช่กิจการที่มีประสิทธิภาพนัก แต่อาจมีข้อโต้แย้งได้ว่าอุตสาหกรรมที่รัีฐช่วยเลหือเป็นอุตสาหกรรมแรกตั้ง
อย่างไรก็ตาม เมื่อรัฐบาลให้การช่วยเลหือฝ่ายผุ้ผลิตไปแล้ว ในไม่ช้าฝ่ายผุ้บิโภคก็เรียกร้องให้รัฐช่วยคุ้มครงอด้วยเนื่องจากภาวะเงินเฟ้อ ดังนั้น รัฐบาลจึงต้องควบคุมราคาจำหน่ายสินค้าบริโภคด้วย ความจริงรัฐบาลได้ปกปองผุ้บริโภคอยู่แล้วสำหรับสินค้าจำเป็นแก่การตีองชีพด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การปันสวนสินค้สการควบคุมราคาข้าว
การแทรกแซงในภาคเศรษบกิจของรัฐบาลอินโดนีเซียมีมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งนี้เพราะสภาพอันเลวร้ายของเศรษฐกิจ ซึ่งนอกจากภาวะเงินเฟ้อและการสูญเสียเงินคราแล้ว การผลิตก็มิได้ประสบผลดีนักทังทางเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม
เมื่อพิจารณาให้รอบคอบอาจพบว่าหากรัฐบาลอินโดนีเวียมีความประสงค์จะแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจจริงแล้ว รัฐบาลอินโดนีเซียจะสามารถทได้ในบางส่วน โยเฉพาะอย่างยิ่งด้านวบประมาณการใช้จ่าย รัฐบาลสามารถตัดทอนการใช้จ่ายลงได้แต่รัฐบาลกลับยิ่งทวีการใช้จ่ายมากขึ้นทั้งนี้เพราะควมทะเยอทะเยานทางการเมืองของผุ้นำ การใช้จ่ายทงทหารของซูการ์โนเป็นจำนวนมหาศาล ทังภาคการผลิตบางสาขาก็ถูกละเลย รัฐบาลให้ความสนใจเฉพาะกิจการบางอย่างเท่านั้น ทำให้การผลิตไม่ขยายตัวอย่างพอเพียง ภาวะเงินเฟ้อทวีความรุนแรงมาก ซึ่งในปลายปี ค.ศ. 1965 เศรษฐกิจอยู่ในสภาที่ใหล้ล้มละลาย
อาจแยกสภาพเศรษบกิจทั้งด้านการผลิต การใช้จ่ายของรัฐบาลตลอดจนปัญหาต่างๆ ทีเ่กิดขึ้นในอินโดนีเซีย ตั้งแต่ระยะหลังสงครามดลกครั้งที่สอง ระยะเศรษบกิจแบบชี้นำ และเศรษบกิจในทศวรรษที่ 1970 ได้ ดังนั้น
- ภาวะการผลิตทางด้านการเกษตร ปรากฎว่าการผลิตข้าวเปลื่อก ซึ่งเป็นการผลิตที่สำคัญในชวาลดลงอย่างมากในช่วงหลังกของทศวรรษ 1940 จนถึงต้นทศวรรษ 1950 เมื่อเที่ยบกับก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่หลังจาก ค.ศ. 1950 เป็นต้นมาการผลิตข้าวเร่ิมมีการฟื้นตัว และเจริญเต็มที่ใน ค.ศ. 1956 แต่พืชอาหารชนิดอื่น เชนพวกถัวงายังไม่สามารถฟื้นตัวได้นัก อย่างไรก็ตาม ปัญหาที่เกิดขึ้นในช่วงดังกล่าวก็คือประชากรมีอัตราการเพิ่มอย่างรวดเร็ว ดังนั้น ผลผลิตเฉลี่ยต่อประชกรจึงลดลงมากเมื่อเที่ยบกับระยะก่อนสงครามโลก
ปัญหาที่แท้จริงของการผลิตพืชอาหารของอินโดนีเซียโดยเฉพาะในเขตที่ประชกรหาแน่น เช่น ชวานั้น เป้ฯเพราะความขาดแคลนที่ดินในการเพาะปลูก เมื่อเพทียบกับจำนวนประชากร นั่นคือ มีที่ดินขนาดใหญ่ซึ่งมิได้ใช้เพาะปลูกอยู่มาก ขณะเดียวกันปัฐญหาการเพิ่มของประชกรส่งผลให้ขนาดที่ดินต่อประชกรยิ่งลดลงไปอี แม้ว่ารัฐบาลจะได้มีความพยายามปรับปรุงทางด้านเทคนิคต่างๆ เช่น การใช้ปุ๋ย การชบประทาน การใช้เมล็ดพันธ์ุที่ดี แต่ยังไม่เพียงพอที่จะทำให้ประสิทธิภาของการปลิตสูงได้ ดังนั้น การผลิตสินค้าอาหารของอินโดนีเซียโดยเฉพาะข้าวจึงไม่พอเลี่้ยงประชากรของตนเอง ต้องนำเข้าจากภายนอก
- การผลิตทางด้านอุตสาหกรรม ภายหลังสงครามดลครั้งที่ 2 นั้นการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมของอินโดนีเซียสรุปได้ว่ามูลค่าเพิ่มต่อจำนวนประชากรยังต่ำหว่าก่อนสงคราม และปรากฎว่าใชบ่วงทศวรรษ 1950 นั้น อุตสาหกรรมขนาดเล็กมีอัตราความเจริญเร็วกว่าอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ จะเห็นได้จากอัตรการเพิ่มของโรงานขนาดเล็กที่มีคนงานไม่เกิน 10 คน เพ่ิมจาก 15.2% ของจำนวนโรงงานทังหมดในค.ศ. 1960 ในขณะที่โรงงานขยาดใหญ่ที่มีคนงานหว่า 50 คนขึ้นไปนั้นกลับหดตัวลง อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาโดยจำนวนแล้วปรากฎว่าจำนวนโรงงานขนาดกลางจะมีมากที่สุด ส่วนทางด้านการจ้างงานนั้นโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่มีการจ้างงานมากที่สุด แต่เปอร์เซนรจ์การจ้างงานของโรงานขนาดเล็กก็เพ่ิมขึ้นเรื่อยๆ
- การค้าระหว่งประเทศและดุลย์การชำระเงิน ในทศวรรษที 1920 นั้นเศรษฐกิจของอินโดนีเซียองคกับการส่งออก เช่น ประมาณ 35% ของรายได้ประชาชาติมาจาการส่งสินค้าออก แต่ต่อมาแนวโน้มดังกล่าวลดลง ซึงน่าจะมีลให้ปริมาณส่งเข้าหดตัวลง อย่งไรก็ตาม ปรากฎว่าหลังสงคราม การสั่งสินค้าเข้าเพิ่มเพราะแรงอั้นของอุปสงค์ระหว่างสงครามรัฐบาลจึงต้องเข้ามาดำเนินการควบคุมการต้าระหว่างประเทศมาก เพื่อการแก้ไขการไหลออกของทุนสำรองเงินตรา และขณะเดียวกันก็เพื่อคุ้มตรองอุตสาหกรรมในประเทศด้วยมีการให้สิทะิพิเศษในการแลกเปลี่ยนเงินตราเฉพาะสินค้าที่อยุ่ในข่ายการส่งเสริม เช่น วัตถุดิบนำเข้าเพื่อผลิตสินค้าอุตสาหกรรมที่จำเป็นจะแลกเงินตราต่างผระเทศได้ในระคาถูก หรือได้สิทธิพิเศษทางด้านภาษีอากรด้วย..
เมื่อสถานะการณ์ของประเทศเลวร้ายขนาดไม่อาจชำระหนร้ต่างผระเทศได้ใน ค.ศ. 1965 นั้น ประขวบกับมีัฐประหารขึ้นและมีการเปลี่ยนแรัฐบาลใหม่ สถานการณ์การผลิตดีขึ้นเนื่องจากการพยายามฟื้นฟูเสถียรภาพของราคา ทำให้ผู้ลงทุนมีความมันใจขมากขึ้น การส่งออกฟื้นตัวโดยเฉาพอย่างยิ่งหลัง ค.ศ. 1968 อย่างไรก็ตาม ดุลย์การชำระเงินอยุ่ในสภาพขาดดุลย์เนื่องจาก การเพิ่มของสินค้าเข้ามามากว่าโดยเฉพาะอย่างยิ่งินค้าเข้าประเภททุนและวัตถุดิบที่อินโดนีเซียผลิตไม่ได้เอง ผลของสภาพการต้าระหว่างประเทศเช่นนี้มีผลให้เกิดปัญหาดุลย์ชำระเงินขาดดุลย์รุนแรงขึ้น
- การใช้จ่ายของรัฐบาลแบะภาวะเงินเฟ้อ การใช้จ่ายของรัฐบาลหลังสงคราดลครัี้งที่สองแนวโน้มเพ่ิมขึ้นเรื่อยๆ ในขณะที่การผลิตและการ่งออกยังไม่อาจปรับตัวได้ทันกับการเพ่ิมของประชกร ยังผลให้งบประมาณของรัฐบาลมีสภาพขาดดุล ความไม่สามารถชะลอตัวในการใช้จ่ายของรัฐบาลนั้นเป้นสาเหตุหนึ่งของภาวะเงินเฟ้อหลังสงคราม ซึ่งภาวะเงินเฟ้อเป้นไปอย่างรุนแรงในช่วงเศรษฐกิจแบบชี้นำระหว่างปี ค.ศ.1960-1965
อินโดนีเซียได้ผ่านระยะของการตกเป็นอาณานิคมจนมาถึงปัจจุบันด้วยสภาพเศรษบกิจต่างๆ การถูกเอารัดเอาเปรียบจากเมืองปม่ในระยะตกเป็นอาณานิคมของดัชท์และญี่ปุ่น ทั้งได้ผ่านระยะของความเป็นเอกราชโดยรัฐบาลที่มุ่งมั่นทางการเมืองและการทหารมากว่าเศรษกฐกิจจนถึงระยะที่สภาพเศรษฐฏิจเกือบจะล้มละลายใน ค.ศ.1965 และในที่สุดเกิดรัฐประหารขึ้มา ซึ่งนโยบายช่วงหลังนี้เป็นการพยายามฟื้นฟูทางเศรษฐกิจอย่างมาก อย่างไรก็ตาม ปัฐญหาอีกมากมายยังรอคอยการแก้ไขของชาวอินโดนีเซียอยุ่สภาพการขาดดุลย์การชุระเงินอนเนื่องมาจากการสั่งสินค้าเพื่อการพัฒนานั้น เป้ฯสิ่งที่ต้องหาทางออกให้ได้จะด้วยการผลิตทดแทนการนำเข้าหากปัจจัยในประเทศมีความพร้อมหรือาจต้องเปลี่ยนแผลงการใช้เทคนิคในดาผลิตให้เหมาะสมกับทรัพยากรทีรมี หรือแม้กระทั่งการพยายามขยายปริมาณและมูลค่าสินค้าออกด้วยการหาตลาดใหม่ๆ หรือ เพิ่มประเภทการผลิตเพื่อส่งออก อันเป็นบทบาทที่ต้องการความร่วมมือของเอกขนแลรัฐบาลทุกขึ้นตอนรัีฐบาลควรให้แรงจูงใจแก่เอกชนในการออมและการลงทุน ควรมีการปรับปรุงสถาบันการเงินเพื่อการระดมเงินทุนและการให้สินเชื่อย่างมีประสิทธิภาพ ในขณะเดียวกันการผลิตสาขชาเกาษตรกรรมและโดยเฉพาะอย่างยิ่งการผลิตพืชอาหารนั้นไม่ควรละเลย เพราะประวัติศาสตร์ของอินโดนีเซียได้แสดงให้เห็นแล้วว่า หากมีการขาดแคบนส่ิงจำเป้นแก่การดำรงชีพแล้ว ภาวะเงินเฟ้อผ่อมเกิด และผุ้ประกอบการจะไม่แน่ใจในการลงทุนประชาชนโดยทั่ยไปเกิดความอดอยาก และเมื่อใดที่ระบบเศรษบกิจขาดเสถียรภาพระบบการเมืองก็จะขาดความั่นคงไปด้วย นอกจากนั้นทางฝ่ายรัฐบาลเองจะต้องมีการปรับปรุงประสทิะภาพของการบริหารงาน ซึ่งรวมถึงความสุจริตของข้ราชการด้วยเพื่อมิให้ระบบราชการกลายเป้นจุดถ่วงที่สำคีัญของการพัฒนาประเทศ..(ประวัติการพัฒนาเศรษฐกิจของเอเซียนตะวันออกเฉียงใต้,รศ. ญาดา ประภาพันธ์,2538.)
History Economic of Sounth East Asia : Filipine
-ฟิลิปปินส์ สภาพของฟิลิปปินส์เมื่อสิ้นสงครามโลกครั้งที่สองนั้น ความยับเยินของบ้านเมือง ิส่งก่อสร้าง การคมนาคมเสียหายมาก ความอดอย่างรวมทั้งโรคระบาดต่างๆ แพร่ไปทั่ว เมืองสำคัญๆ ถูกทำลาย เศรษฐกิจทรุดโทรม ขาดแคลนสำรองเงินตรต่างประเทศเพื่อซื้อสินค้าเข้า ภาวะเงินเฟ้อสูงมาก ค่าครองชีพสูงถึง 800% เมื่อเทียบกับก่อนสงคราม อเมริกายื่นมือเข้าช่วยเหลือ โดยจ่ายเงินถึง 72 ล้านดอลลาร์ ซึ่งก็มาจากเงนิ ที่ยกจากภาษีสินค้าเข้าอเมริกันบลางอย่างของฟิลิปปินส์นั่นเอง จากนั้นฟิลิปปินส์ก็รับความช่วยเหลือจากต่างประเทศมาตลอด การยอมรับความช่วยเหลือโดยไม่หยุดยั้งของฟิลิปปินส์นับแต่หลังสงครามดลกคร้งที่สองนี้เอง ได้ส่งผลต่อประเทศมาจนถึงปัจจุบันด้วยภาระหนี้สินที่ท่วมท้นจนอาจล้มละลายได้ การตกเแ็นหนี้สินต่างประเทศนั้นย่อมมีผลให้ประเทศเจ้าหนี้มีอำนาจในการกำหนดเงื่อนไขบางอยางที่สำคัญแก่ประเทศผุ้กู้ได้ ดังนั้นประเทศผุ้กู้จึงเสมอนตกอยู่ในลักษณะอาณานิคมนั้นเอง เป้ฯอาณานิคมซึ่งมิได้ถูกบังคับโดยกำลังอาวุธ แต่ถูกบังคับโดยอำนาจแห่งเศรษฐกิจที่เหนือกว่าถือเป็นอาณานิคมแผนใหม่ การตกเป้นอาณานิคมไม่ว่าจะลักษณะใดย่อมไม่เป็นผลดีแก่ประเทศทั้งนั้น
เมื่อสิ้นสงครามโลก นายมานูเอล โรซัล ได้รับตำแหนงประธานาธิบดีโดยการสนับสนนุของอเมริกัน เขาพยายามปรับปรุงสถานการณ์ด้านเศรษฐกิจ โดยนำมารตรการทุกอย่างมังการเงิน การคลัง การต้า และนธยบายการแลกเปลี่ยนเงินตรามาใช้ มีการทำข้อตกลงทางการค้ากับสหรัฐอเมริกา ใน ค.ศ. 1946 ซึ่งปรากฎใน "รับบัญญัติเบลล์"และข้อตกลงว่าด้วยการบูรณะประเทศฟิลิปปินส์ใน "รัฐบัญญัติไทดิงส์"ในรัฐบัญญัติเบลล์มีการตกลงทางการต้ากับสหรัฐ เช่น ในระยะ 8 ปี จากค.ศ. 1946-1954 ฟิลิปปินส์จะส่งสินค้าเข้าอเมิรกาได้โดยไม่เสียภาษี แต่ต้องเป้นจำนวนที่สหรัฐกำหนด จากนั้นสินคึ้าเข้าของฟิลิปปินส์จะถูกเก็บภาษีขาเข้าเพิ่มเรื่อยๆ จนถึงจุดสูงสุดในปี ค.ศ. 1974 สินค้าทีอยุ่ในข่ายข้อตกลงดังกล่าว คือ น้ำตาลดิบ น้ำตาลขาว ข้าว ยาสูบ น้ำมันมะพร้าว กระดุมหอยมุก สินค้าเหล่านี้จะต้องลดจำนวนร้อยละ 5 ทุกๆ ปี แต่ขณะเดี่ยวกันสินค้าอเมริกันจะไม่ถูกจำกัดสิทะิ์ใดๆ ทั้งสิ้นและคนอเมริกันจะมีัสิทธิ์ทุกอย่างในประเทศฟิลิปปินส์เท่าคนฟิลิปปินส์ เช่น สิทธิการสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ จะเห้ฯได้ว่าเป้นสัญญาที่ฟิลิปปินส์ถูกเอาเปรียบอย่างเด่นชัน เช่น จะถูกกบโดยทรัยากรธรรมชาติ กีดขวางการตั้งอุตสาหกรรมในประเทศ ฯลฯ แต่ฟิลิปปินส์ต้องยอมรับเพื่อให้ได้รับความช่วยเลหือตามรัฐบัญญัติไทดิ้งส์ของอเมริกัน ซึ่งมีข้อกำหนดว่าจะจ่ายค่าเสียหายให้ฟิลิปปินส์เกิน 500 เหรียญได้ต่อเมื่อฟิลิปปินส์ยอมรับรัฐบัญญัติเบลล์แล้ว รัฐบัญญัติเบลล์นี้ได้ถูกขนานนามว่า ไรัฐบัญญัติปีศาสจ" นอกจากนั้นการยอมรับข้อตกลงดังกล่าวอาจเป็นเพราะเห็นว่ามีประโยชน์แก่การฟื้นตัวของอุตสาหกรรมบางประเภท คือ น้ำตาล ซึ่งอย่างน้อยจะมีตลาดอเมริกันเป็นแหล่งรองรับก็ได้ การแก้ปัญหารเศรษกฐกิจนี้ไม่ได้ผลนัก จนเป้ฯที่สงสัยกันว่า เมื่ออเมริกันยุติการช่วยเหลือ ฟิลิปปินส์จะเลี้ยงตนเองได้หรือไม่...ในรัฐบาลต่อมาผุ้นำฟิลิปปินส์ ก็พยายามแก้ไขปัญหาต่างๆ แต่สภานการเลวร้ายลง มีผุ้กล่าวว่าเหตุเพราะรับบาลไม่มีความรับผิดชอบอย่างแท้จริง ทั้งๆ ที่การผลิตในค.ศ. 1949 ได้ผลดีมาก เมื่อเทียบกย คศ. 1946 รายได้ของประเทศก็สูง โดยให้เหตุผลว่า การบริหารภาษีขาดประสิทธิภาพ, ความล้มเหลวในระบบการเช่าที่ดินทำกสิกรรม,ความเสื่อมโทรมทางศีลธรรมจรรยาของประชาชน รวมทั้งการฉ้อราษฎร์บังหลวงของข้าราชการ,การขาดความศรัทธาในรัฐบาลและประการสุดท้ายซึ่งเป็นข้ออ้างจากคณะสำรวจภาวะเศราฐกิจจากอเมริกา คือ ประชากรเพิ่มเร็วมาก ฟิลิปปินส์พยายามแก้ไปัญหาต่างๆ แต่ไม่แก้ที่รากฐาน กลุ่มอิทธิิพลและข้าราชการทุจริตคือปัญหาพื้นฐานของฟิลิปปินส์ (เช่นเดี่ยวกับประเทศด้อยพัฒนาอีกหลาบประเทศ) ซึ่งทำให้มาตรการเื่อแก้ปขปัญหาเศรษบกิจไม่ประสบผลสำเร็จ
ในสมัยของ รามอน แมกไซไซ มีจุดหมายทางเศราฐกิจที่สำคัีญ คือ การปฏิรูปการเกษตรกรรม ตั้งองค์การฝึกฝนอาชีพ ตั้งศษลเกี่ยวกับที่ดิน ฯ แต่อิทธิพลของบรรดาเจ้าทของที่ดินซึ่งเป็นสมาชิกพรรคการเมืองก็ทำให้ความพยายามของเขาไร้ผล เขาพยายามแก้ไขปัญหาด้วยการใช้นโยบายวบประมาณแบบไม่สมดุลในการกระตุ้นการขยายตัวทางเกษตรกรรมซึ่งแนวคิดนี้เป้นแนวคิดแบบเคนส์ แมกไซไซ พยายามใช้ขบวนการสหกร์เกษตร สภาบันการเงินเพือสินเชื่อเกษตร อย่างไรก็ตามนโยบายของเขามีผลให้การผลิตขยายตัวเพิ่มขึ้น แต่ทว่ามีผลทำให้กิดภาวะเงินเฟ้อขึ้นด้วย เนื่องจากธนาคารกลางขยายตัวเพ่ิมขึ้น แต่ทว่ามีผลทำให้เกิกถาวะเิงนเฟ้อขึ้นด้วย เนื่องจากธนาคารกลางขยายวงเงินกู้ให้แก่รัฐบาลอย่างรวดเร็ซจนเกินไป กล่าวได้ว่าในช่วง ค.ศ. 195431957 ผลผลิตเพิ่มอย่างรวดเร็วถึงประมาณร้อยละ25 ในสมัยของแมกไซไซ มีการกีดกันชาวต่างชาติยกเว้นอเมริกัน ในการต้าปลีกมีการควบคุมทั้งสินค้าเข้าและออกเพื่อช่ววยอุตสาหกรรมในประเทศ
ฟิลิปปินส์ไม่อาจหลีกเลี่ยงอเมริกันได้พ้น เมื่อแมกไซไซถึงแก่กรรม รัฐบาลชุต่อมาต้องใช้นโยบายรัดเขช็มขัด รวมทั้งการควบคุมการแลกเปลียนเงินตราด้วย ทั้งนี้เนื่องมาจากการใช้จ่ายอย่างมากมายของรัฐบาล ฟิลิปปินส์เริ่มแสงวงหาเงินกู้จากแหล่งต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น แต่เป็นการให้กู้ที่มีเงื่อนไขมากมายหนี้สินต่างประเทศของฟิลิปปินส์เพิ่มขึ้นทุกที่ ยังผลให้การเงินขาดเสถียรภาพและต้องลดค่าเงินพื้นบ้านเสมอ
ฟิลิปปินส์ยังเต็มไปด้วยปัญหาทั้งเศรษฐกิจและการเมืองซึ่งสะสมมาแต่อดีต ปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งเกิดจากการตกเป็นทั้งในรูแปบบเก่าและรูปแบบใหม่ ดดยเฉพาะหลังสงครามดลกครั้งที่สองนั้นอิทะิพลทางเศรษบกิจของชาวต่างชาติที่มีต่อฟิลิปปินส์ยิ่งเด่นชัด การตกเป็นอาณานิคมครั้งแล้วครั้งเล่าของฟิลิปปินส์ ช่วยให้ชนชั้นนายทุนพื้นเมืองดำรงอยู่ได้อย่างผาสุกโดยความร่วมมือกบประเทศแม่ คนกลุ่มนี้น่าจะเป็นผุ้ที่ทำให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจของฟิลิปปินส์ได้เป็ฯอย่างดี แต่เป็นที่นน่าสงสัยว่านายทุนพื้นเมืองเหล่านี้มีบทบาทต่ดการพัฒนาประเทศเพียงไร ชนชั้นนายทุนชาวพื้นเมืองนี้ได้รับการปกปักษ์รักษามาตั้งแต่สมัยการตกเป็นอาณานิคมของสเปน ขณะที่เศรษฐกิจเพื่อการส่งออกชขยายตัวนับแต่อดีตจนกระทั่งเข้าสู่ศตวรรษที่ 20 ในช่วก่อนสงครามโลกครั้งที่สองนั้น จำนวนนายทุนชาวพื้นเมืองก็ขยายตัวออกไปเรื่อยๆ เช่น กัน ในขณะเดี่ยวกันการเกษตรกรรมตลดอจนการส่งออกก็ขยายตัวไปด้วย แต่ทว่ากิจกรรมการเกษตณและการส่งออกของฟิลิปปินส์ต่างไปจากประเทศอาณานิคมโดยทั่วไป คือ การเกษตรเพื่อการส่งออกนั้นจัดำเนินการโดยชวฟิลิปปินส์เองเป็นส่วนใหญ่ ในขณะที่อาณานิคมอื่นๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นั้นการเกษตรขนาดใหญ่ตลอดจนการส่งออกมักจะดำเนินงานโดยคนต่างชาติ โดยลักษณะเช่นนี้น่าจะเป็นบทบาทของนายทุนชาวพื้นเมืองด้วย แต่สินค้าเกษตรของฟิลิปปินส์ส่วนใหญ่เป็นการผลิตตามความต้องการของสหรัฐอเมริกานั่นเอง อุตสาหกรรมของฟิลิปปินส์ยังผุกพันกับเศรษบกิจของสหรัฐอย่างเหนียวแน่น บรรษัทอเมริกันยังคงควบคุมกิจการประเภทโรงสีและการตลาดของสินค้าส่งออกทั้งยังมีการลงทุนขนาดมหาศาลในกิจการประเภทเหมืองแร่และสาธารณูปโภค
การค้าเสรีระหว่างอเมริกาและฟิลิปปินส์เริ่มจากปี ค.ศ. 1909 นั้นังผลให้สไรัฐกลายเป็นตลาดที่สำคัยของสินค้าขึ้นปฐมของฟฺิลิปปินส์ และสินค้าอุตาสหกรรมจากอเมริกาก็ถูกส่งมาขายที่ฟิลิปปินส์ด้วยราคาที่สุงลิบลิ่ว จะเห็นได้ว่าแม้ข้อตกลงจะส่งผลดีให้กับสินค้าออกเกษตรของฟิลิปปินส์ก็ตาม แต่ทว่าสินค้าอุตสาหกรรมจากสหรัฐอเมริกานั้นเป็นฝ่ายได้เปรียบมากกว่า
หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ฟิลิปปินส์ก็เหมือนกับประเทศนแถบอเชียตะวันออกเแียงใต้โดยทั่วไป กล่าวคือขากแคลนเงนิตราต่างประเทศแต่ที่ค่อนข้างจะพิเศษคือ ฟิลิปปินส์เป็นหนี้ต่างประเทศอย่างมหาศาล ซึงชี้ให้เห็นว่าชาวต่างชาติจะเข้ามามีบทบาทในเศรษฐกิจของฟิลิปปินส์อย่างแน่นอน
การที่ชาวต่างชาติจะผลิตสินค้าส่งมาขายฟิลิปปินส์หรือเข้าดำเนินกิจกรรมทางเศราฐกิจ่างๆ ในประเทศนี้ อาจมิใช่สิ่งที่เสียหายมากนัก ถ้าเงินกำไรจะถูกสะสมในประเทศ หรือก่อใหเกิดการว่าจ้างทำงานเพิ่มขึ้นฯ แต่ที่เป็นผลเสียหายเนื่องจากเงินกำไรจากการลงทุนของบรรษัทต่างชาติถูกส่งกลับไปสู่ประเทศแม่ และที่เลวร้ายไปหว่านั้นคือ นักลงทุนข้ามชาติเข้ามาในประเทศฟิลิปปินส์ในลักษณะมือปล่าแต่เข้ามากู้เงินจากธนาคารท้องถ่ินในการลงทุนเพื่อกอบโดยผลกำไรกลับสู่ประเทศตน ในขณะที่นักลงทุนชาวฟิลิปปินส์เองเป็นจำนวนไม่น้อยต้งอไปแสวงหาเงินทุนจากแหล่งอื่นซึ่งอาจเสียดอกเบี้ยในอัตราสูง และส่งผลให้เกิดปัญหาด้านดุลขำระเงินติดตามมาในอนาคต สภาพดังกล่าวนั้นดูเหมือนจะเกิดขึ้นกับประเทศด้อยพัฒนาหลงสงครามดลกครังที่ 2 เป็นส่วนใหญ่ ภายใต้การบงการของประเทศมหาอำนาจฝ่ายพันธมิตรนั้น การสำรวจภาวะเศรษบกิจของประเทศด้อยพัฒนาทั้งหลายตลอดจนคำแนะนำต่างๆ ถูกเสนอขึ้นมาพร้อมกับข้อเสนอให้ความช่วยเหลือ ทั้งทางด้านการเงินและวิทยาการต่างๆ ตลอดจนผุ้เชี่ยวชาญ โดยมีหน้าฉากอยุ่ที่สถาบนระหว่างประเทศ เช่น ธนาคราโลก, กองทุนการเงินระหว่างประเทศ IMF ปรากฎว่าฟิลิปปินส์ต้องตกอยู่ภายใต้ข้อเรียกร้องต่างๆ ของนักลงทุนต่างชาติ มีการให้สิทธิพิเศษมากมายตามกฎมหายต่างๆ ที่สร้างขั้นมาในช่วงนั้น
ฟิลิปปินสก้าวเข้าสู่ทศวรรษ 1970 ด้วยอาการที่ซวนเซ ในค.ศ. 1972 ตกเป็นหนี้ต่างประเทศเป้นจำนวถึง 2 พันล้านเหรียญสหรัฐและเพ่ิมเป็นกว่า 8 พันล้านเหรียญสหรัฐ ใน ค.ศ. 1979 การกู้ยืมเงินจากต่างประเทศน้นมิใช่แต่จะทำให้มีภาระหนี้สินเท่านั้น แต่มักปรากฎว่าสถาบันการเงินผุ้ให้กู้เหล่านี้มีบทบาทเข้าแทรกแซงกิจการทางเศรษบกิจภายในประเทศผุ้กู้ด้วย นโยบายต่างๆ ทางเศรษฐกิจจึงมักถูกกำหนดโดยเงื่อนไขของสถาบันการเงินเลห่นั้น และโดยที่สถาบันการเงินเหล่านี้ได้รับการสนับสนุนจากประทเศอุตสาหกรรมที่ร่ำรวยทั้งหลาย จึงเท่ากับว่าบรรดานายทุนเหล่านี้มีอำนาจในการสร้างเงื่อนไขต่างๆ แก่ประเทศผุ้ขอกู้ยืมด้วย... (ประวัติการพัฒนาเศรษฐกิจของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้,รศ. ญาดา ประภาพันธ์)
เมื่อสิ้นสงครามโลก นายมานูเอล โรซัล ได้รับตำแหนงประธานาธิบดีโดยการสนับสนนุของอเมริกัน เขาพยายามปรับปรุงสถานการณ์ด้านเศรษฐกิจ โดยนำมารตรการทุกอย่างมังการเงิน การคลัง การต้า และนธยบายการแลกเปลี่ยนเงินตรามาใช้ มีการทำข้อตกลงทางการค้ากับสหรัฐอเมริกา ใน ค.ศ. 1946 ซึ่งปรากฎใน "รับบัญญัติเบลล์"และข้อตกลงว่าด้วยการบูรณะประเทศฟิลิปปินส์ใน "รัฐบัญญัติไทดิงส์"ในรัฐบัญญัติเบลล์มีการตกลงทางการต้ากับสหรัฐ เช่น ในระยะ 8 ปี จากค.ศ. 1946-1954 ฟิลิปปินส์จะส่งสินค้าเข้าอเมิรกาได้โดยไม่เสียภาษี แต่ต้องเป้นจำนวนที่สหรัฐกำหนด จากนั้นสินคึ้าเข้าของฟิลิปปินส์จะถูกเก็บภาษีขาเข้าเพิ่มเรื่อยๆ จนถึงจุดสูงสุดในปี ค.ศ. 1974 สินค้าทีอยุ่ในข่ายข้อตกลงดังกล่าว คือ น้ำตาลดิบ น้ำตาลขาว ข้าว ยาสูบ น้ำมันมะพร้าว กระดุมหอยมุก สินค้าเหล่านี้จะต้องลดจำนวนร้อยละ 5 ทุกๆ ปี แต่ขณะเดี่ยวกันสินค้าอเมริกันจะไม่ถูกจำกัดสิทะิ์ใดๆ ทั้งสิ้นและคนอเมริกันจะมีัสิทธิ์ทุกอย่างในประเทศฟิลิปปินส์เท่าคนฟิลิปปินส์ เช่น สิทธิการสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ จะเห้ฯได้ว่าเป้นสัญญาที่ฟิลิปปินส์ถูกเอาเปรียบอย่างเด่นชัน เช่น จะถูกกบโดยทรัยากรธรรมชาติ กีดขวางการตั้งอุตสาหกรรมในประเทศ ฯลฯ แต่ฟิลิปปินส์ต้องยอมรับเพื่อให้ได้รับความช่วยเลหือตามรัฐบัญญัติไทดิ้งส์ของอเมริกัน ซึ่งมีข้อกำหนดว่าจะจ่ายค่าเสียหายให้ฟิลิปปินส์เกิน 500 เหรียญได้ต่อเมื่อฟิลิปปินส์ยอมรับรัฐบัญญัติเบลล์แล้ว รัฐบัญญัติเบลล์นี้ได้ถูกขนานนามว่า ไรัฐบัญญัติปีศาสจ" นอกจากนั้นการยอมรับข้อตกลงดังกล่าวอาจเป็นเพราะเห็นว่ามีประโยชน์แก่การฟื้นตัวของอุตสาหกรรมบางประเภท คือ น้ำตาล ซึ่งอย่างน้อยจะมีตลาดอเมริกันเป็นแหล่งรองรับก็ได้ การแก้ปัญหารเศรษกฐกิจนี้ไม่ได้ผลนัก จนเป้ฯที่สงสัยกันว่า เมื่ออเมริกันยุติการช่วยเหลือ ฟิลิปปินส์จะเลี้ยงตนเองได้หรือไม่...ในรัฐบาลต่อมาผุ้นำฟิลิปปินส์ ก็พยายามแก้ไขปัญหาต่างๆ แต่สภานการเลวร้ายลง มีผุ้กล่าวว่าเหตุเพราะรับบาลไม่มีความรับผิดชอบอย่างแท้จริง ทั้งๆ ที่การผลิตในค.ศ. 1949 ได้ผลดีมาก เมื่อเทียบกย คศ. 1946 รายได้ของประเทศก็สูง โดยให้เหตุผลว่า การบริหารภาษีขาดประสิทธิภาพ, ความล้มเหลวในระบบการเช่าที่ดินทำกสิกรรม,ความเสื่อมโทรมทางศีลธรรมจรรยาของประชาชน รวมทั้งการฉ้อราษฎร์บังหลวงของข้าราชการ,การขาดความศรัทธาในรัฐบาลและประการสุดท้ายซึ่งเป็นข้ออ้างจากคณะสำรวจภาวะเศราฐกิจจากอเมริกา คือ ประชากรเพิ่มเร็วมาก ฟิลิปปินส์พยายามแก้ไปัญหาต่างๆ แต่ไม่แก้ที่รากฐาน กลุ่มอิทธิิพลและข้าราชการทุจริตคือปัญหาพื้นฐานของฟิลิปปินส์ (เช่นเดี่ยวกับประเทศด้อยพัฒนาอีกหลาบประเทศ) ซึ่งทำให้มาตรการเื่อแก้ปขปัญหาเศรษบกิจไม่ประสบผลสำเร็จ
ในสมัยของ รามอน แมกไซไซ มีจุดหมายทางเศราฐกิจที่สำคัีญ คือ การปฏิรูปการเกษตรกรรม ตั้งองค์การฝึกฝนอาชีพ ตั้งศษลเกี่ยวกับที่ดิน ฯ แต่อิทธิพลของบรรดาเจ้าทของที่ดินซึ่งเป็นสมาชิกพรรคการเมืองก็ทำให้ความพยายามของเขาไร้ผล เขาพยายามแก้ไขปัญหาด้วยการใช้นโยบายวบประมาณแบบไม่สมดุลในการกระตุ้นการขยายตัวทางเกษตรกรรมซึ่งแนวคิดนี้เป้นแนวคิดแบบเคนส์ แมกไซไซ พยายามใช้ขบวนการสหกร์เกษตร สภาบันการเงินเพือสินเชื่อเกษตร อย่างไรก็ตามนโยบายของเขามีผลให้การผลิตขยายตัวเพิ่มขึ้น แต่ทว่ามีผลทำให้กิดภาวะเงินเฟ้อขึ้นด้วย เนื่องจากธนาคารกลางขยายตัวเพ่ิมขึ้น แต่ทว่ามีผลทำให้เกิกถาวะเิงนเฟ้อขึ้นด้วย เนื่องจากธนาคารกลางขยายวงเงินกู้ให้แก่รัฐบาลอย่างรวดเร็ซจนเกินไป กล่าวได้ว่าในช่วง ค.ศ. 195431957 ผลผลิตเพิ่มอย่างรวดเร็วถึงประมาณร้อยละ25 ในสมัยของแมกไซไซ มีการกีดกันชาวต่างชาติยกเว้นอเมริกัน ในการต้าปลีกมีการควบคุมทั้งสินค้าเข้าและออกเพื่อช่ววยอุตสาหกรรมในประเทศ
ฟิลิปปินส์ไม่อาจหลีกเลี่ยงอเมริกันได้พ้น เมื่อแมกไซไซถึงแก่กรรม รัฐบาลชุต่อมาต้องใช้นโยบายรัดเขช็มขัด รวมทั้งการควบคุมการแลกเปลียนเงินตราด้วย ทั้งนี้เนื่องมาจากการใช้จ่ายอย่างมากมายของรัฐบาล ฟิลิปปินส์เริ่มแสงวงหาเงินกู้จากแหล่งต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น แต่เป็นการให้กู้ที่มีเงื่อนไขมากมายหนี้สินต่างประเทศของฟิลิปปินส์เพิ่มขึ้นทุกที่ ยังผลให้การเงินขาดเสถียรภาพและต้องลดค่าเงินพื้นบ้านเสมอ
ฟิลิปปินส์ยังเต็มไปด้วยปัญหาทั้งเศรษฐกิจและการเมืองซึ่งสะสมมาแต่อดีต ปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งเกิดจากการตกเป็นทั้งในรูแปบบเก่าและรูปแบบใหม่ ดดยเฉพาะหลังสงครามดลกครั้งที่สองนั้นอิทะิพลทางเศรษบกิจของชาวต่างชาติที่มีต่อฟิลิปปินส์ยิ่งเด่นชัด การตกเป็นอาณานิคมครั้งแล้วครั้งเล่าของฟิลิปปินส์ ช่วยให้ชนชั้นนายทุนพื้นเมืองดำรงอยู่ได้อย่างผาสุกโดยความร่วมมือกบประเทศแม่ คนกลุ่มนี้น่าจะเป็นผุ้ที่ทำให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจของฟิลิปปินส์ได้เป็ฯอย่างดี แต่เป็นที่นน่าสงสัยว่านายทุนพื้นเมืองเหล่านี้มีบทบาทต่ดการพัฒนาประเทศเพียงไร ชนชั้นนายทุนชาวพื้นเมืองนี้ได้รับการปกปักษ์รักษามาตั้งแต่สมัยการตกเป็นอาณานิคมของสเปน ขณะที่เศรษฐกิจเพื่อการส่งออกชขยายตัวนับแต่อดีตจนกระทั่งเข้าสู่ศตวรรษที่ 20 ในช่วก่อนสงครามโลกครั้งที่สองนั้น จำนวนนายทุนชาวพื้นเมืองก็ขยายตัวออกไปเรื่อยๆ เช่น กัน ในขณะเดี่ยวกันการเกษตรกรรมตลดอจนการส่งออกก็ขยายตัวไปด้วย แต่ทว่ากิจกรรมการเกษตณและการส่งออกของฟิลิปปินส์ต่างไปจากประเทศอาณานิคมโดยทั่วไป คือ การเกษตรเพื่อการส่งออกนั้นจัดำเนินการโดยชวฟิลิปปินส์เองเป็นส่วนใหญ่ ในขณะที่อาณานิคมอื่นๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นั้นการเกษตรขนาดใหญ่ตลอดจนการส่งออกมักจะดำเนินงานโดยคนต่างชาติ โดยลักษณะเช่นนี้น่าจะเป็นบทบาทของนายทุนชาวพื้นเมืองด้วย แต่สินค้าเกษตรของฟิลิปปินส์ส่วนใหญ่เป็นการผลิตตามความต้องการของสหรัฐอเมริกานั่นเอง อุตสาหกรรมของฟิลิปปินส์ยังผุกพันกับเศรษบกิจของสหรัฐอย่างเหนียวแน่น บรรษัทอเมริกันยังคงควบคุมกิจการประเภทโรงสีและการตลาดของสินค้าส่งออกทั้งยังมีการลงทุนขนาดมหาศาลในกิจการประเภทเหมืองแร่และสาธารณูปโภค
การค้าเสรีระหว่างอเมริกาและฟิลิปปินส์เริ่มจากปี ค.ศ. 1909 นั้นังผลให้สไรัฐกลายเป็นตลาดที่สำคัยของสินค้าขึ้นปฐมของฟฺิลิปปินส์ และสินค้าอุตาสหกรรมจากอเมริกาก็ถูกส่งมาขายที่ฟิลิปปินส์ด้วยราคาที่สุงลิบลิ่ว จะเห็นได้ว่าแม้ข้อตกลงจะส่งผลดีให้กับสินค้าออกเกษตรของฟิลิปปินส์ก็ตาม แต่ทว่าสินค้าอุตสาหกรรมจากสหรัฐอเมริกานั้นเป็นฝ่ายได้เปรียบมากกว่า
หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ฟิลิปปินส์ก็เหมือนกับประเทศนแถบอเชียตะวันออกเแียงใต้โดยทั่วไป กล่าวคือขากแคลนเงนิตราต่างประเทศแต่ที่ค่อนข้างจะพิเศษคือ ฟิลิปปินส์เป็นหนี้ต่างประเทศอย่างมหาศาล ซึงชี้ให้เห็นว่าชาวต่างชาติจะเข้ามามีบทบาทในเศรษฐกิจของฟิลิปปินส์อย่างแน่นอน
การที่ชาวต่างชาติจะผลิตสินค้าส่งมาขายฟิลิปปินส์หรือเข้าดำเนินกิจกรรมทางเศราฐกิจ่างๆ ในประเทศนี้ อาจมิใช่สิ่งที่เสียหายมากนัก ถ้าเงินกำไรจะถูกสะสมในประเทศ หรือก่อใหเกิดการว่าจ้างทำงานเพิ่มขึ้นฯ แต่ที่เป็นผลเสียหายเนื่องจากเงินกำไรจากการลงทุนของบรรษัทต่างชาติถูกส่งกลับไปสู่ประเทศแม่ และที่เลวร้ายไปหว่านั้นคือ นักลงทุนข้ามชาติเข้ามาในประเทศฟิลิปปินส์ในลักษณะมือปล่าแต่เข้ามากู้เงินจากธนาคารท้องถ่ินในการลงทุนเพื่อกอบโดยผลกำไรกลับสู่ประเทศตน ในขณะที่นักลงทุนชาวฟิลิปปินส์เองเป็นจำนวนไม่น้อยต้งอไปแสวงหาเงินทุนจากแหล่งอื่นซึ่งอาจเสียดอกเบี้ยในอัตราสูง และส่งผลให้เกิดปัญหาด้านดุลขำระเงินติดตามมาในอนาคต สภาพดังกล่าวนั้นดูเหมือนจะเกิดขึ้นกับประเทศด้อยพัฒนาหลงสงครามดลกครังที่ 2 เป็นส่วนใหญ่ ภายใต้การบงการของประเทศมหาอำนาจฝ่ายพันธมิตรนั้น การสำรวจภาวะเศรษบกิจของประเทศด้อยพัฒนาทั้งหลายตลอดจนคำแนะนำต่างๆ ถูกเสนอขึ้นมาพร้อมกับข้อเสนอให้ความช่วยเหลือ ทั้งทางด้านการเงินและวิทยาการต่างๆ ตลอดจนผุ้เชี่ยวชาญ โดยมีหน้าฉากอยุ่ที่สถาบนระหว่างประเทศ เช่น ธนาคราโลก, กองทุนการเงินระหว่างประเทศ IMF ปรากฎว่าฟิลิปปินส์ต้องตกอยู่ภายใต้ข้อเรียกร้องต่างๆ ของนักลงทุนต่างชาติ มีการให้สิทธิพิเศษมากมายตามกฎมหายต่างๆ ที่สร้างขั้นมาในช่วงนั้น
ฟิลิปปินสก้าวเข้าสู่ทศวรรษ 1970 ด้วยอาการที่ซวนเซ ในค.ศ. 1972 ตกเป็นหนี้ต่างประเทศเป้นจำนวถึง 2 พันล้านเหรียญสหรัฐและเพ่ิมเป็นกว่า 8 พันล้านเหรียญสหรัฐ ใน ค.ศ. 1979 การกู้ยืมเงินจากต่างประเทศน้นมิใช่แต่จะทำให้มีภาระหนี้สินเท่านั้น แต่มักปรากฎว่าสถาบันการเงินผุ้ให้กู้เหล่านี้มีบทบาทเข้าแทรกแซงกิจการทางเศรษบกิจภายในประเทศผุ้กู้ด้วย นโยบายต่างๆ ทางเศรษฐกิจจึงมักถูกกำหนดโดยเงื่อนไขของสถาบันการเงินเลห่นั้น และโดยที่สถาบันการเงินเหล่านี้ได้รับการสนับสนุนจากประทเศอุตสาหกรรมที่ร่ำรวยทั้งหลาย จึงเท่ากับว่าบรรดานายทุนเหล่านี้มีอำนาจในการสร้างเงื่อนไขต่างๆ แก่ประเทศผุ้ขอกู้ยืมด้วย... (ประวัติการพัฒนาเศรษฐกิจของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้,รศ. ญาดา ประภาพันธ์)
วันอังคารที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2560
History Economic of Sounth East Asia
เมื่อญี่ปุ่นจากไปหลังสงครามโลกครั้งที่สองพร้อมทั้งทิ้งความเสียหายทางเศรษฐกิจตลอดจนการปลูกฝั่งความเป็นชาตินิยมเอาไว้ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้แล้วปรากฎว่าบรรดาประเทศต่างๆ ในภูมิภาคนี้มีความตื่นตัวในความเป็นชาตินิยม และพยายามดำเนินการแสวงหาเอกราชจามหาอำนาจตะวันตกที่ครอบครองประเทศอยู่แม้บางประเทศ เช่น อินโดนีเซีย พม่า และเวียดนาม จะต้องต่อสุ้อย่างยากลำบากในการได้มาซึ่งเอกราช แต่ในที่สุดต่่างก็ได้รับอิสระภาพ แต่เมื่อได้รับอริสระภาพมาแล้วปัญหาต่างๆ ทั้งภายในประทเศและภายนอกประเทศมิได้หมดไป ความไม่พร้อมของรัฐบาลบางประเทศที่จะยืนหยัดด้วยตนเองปรากฎอยู่ นอกจานั้นความคิดที่วาลัทธิอาณานิคมที่เคยรุ่งเรืองอยู่ในภูมิภาคนี้ได้ถูกทำลายไปสิ้นนั้นเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องแท้จริงเป็นเพรียงการเสื่อมสลายของลัทธิอาณานิคมแบบเก่าแต่รากเหว้าของลัทธินี้ยังคงอยุ่เพียงแต่เปลี่ยนแมาเป็นรูปแบบที่เรียกว่าลัทธิอาณานิคมแบบใหม่ Neo3-Colonialism ซึ่งยังคงลักษณะแห่งการเอารัดเอาเปรียบของประเทศนายทุนอุสาหกรรม ทั้งฝ่ายตะวันตกและญี่ปุ่นไว้อย่างครบครัน การเข้ามาควบคุมเศรษบกิจในรูปผูกขาดในยุคหลังสงครามดลกนี้ บรรดาประเทศมหาอำนาจทั้งหลายได้อาศัยสถาบันระหว่างประเทศ เช่น ธนาคารโลก กองทุนการเงินระหว่างประเทศ ซึ่งตนมีอิทธิพลอยุ่เบื่องหลังเข้ามาช่วยเหลือให้การผูกขาดดำเนินโดยสะดวกยิ่งขึ้น
ลักษณะพื้นฐานของลัทธิอาณานิคมแบบใหม่ นั้นคือ การผูกขาดทุน และระบบรัฐทุนนิยมผูกขาด ตัวอย่างของการดำเนินงานของลัทธิอาณานิคมแบบใหม่ เช่น บรรษัทข้ามชาติ ซึ่งเข้ามามีบทบาททางเศรษกิจในหลายๆ ประเทศของเอเซีย อัฟริกา และลาตินอเมริกา วิธีการนั้นมีหลายรูปแบบ เช่น การให้เงินกู้แก่ประเทศกำลังพัฒนา การใช้องค์การระหว่างประเทศที่ตนมีอิทธิพลเข้าแทรกแซงนโยบายทางเศราฏิจของรัฐบาลประเทศกำลังพัฒนาโดยให้ความช่วยเหลือเป้นเครื่องแลกเปลี่ยน ลัทธิดังกล่าวนี้ขยายตัวอยุ่ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้เรื่อยมานับจากการสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่สอง ทำให้ประเทศในภูมิภาคนี้มัวเมาอยู่กับความสะดวกสะบายจากความช่วยเหลือด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากเงินที่ได้รับ จนในที่สุดไม่อาจถอนตัวจากการพึ่งพาและภาระหนี้สินที่ท่วมท้นได้ ความเป้ฯอยู่ของประชาชนส่วนใกญ่ในประเทศเหล่านี้ไม่พัฒนาไปมากนักผลประโยชน์ต่างๆ จากความช่วยเหลือแม้จะตกกับประเทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้บ้าง แต่มิได้เป็นไปอย่างทั่วถึงและมักจะตกกับคนกลุ่มน้อยกรืผุ้ที่อยู่ในเขตเมือง นอกจากนั้นผลประโยชน์ส่วนใหญ่จะถูกดึงกลับไปยังประเทศผุ้เป็ฯเจ้าของทุนตามเงื่อนไขต่างๆ ที่ตั้งไว้
แม้ประเทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้จะเป้นเอกราชแล้วก็ตามที แม่เมื่อพิจารณาอย่างรอบคอบแล้วจะเห็นได้ว่า ประเทศเหล่านี้ตกอยู่ใต้อิทธิพลของประเทศมหาอำนาจฝ่ายโลกเสรีหรือฝ่ายคอมมิวนิสต์ นับจากหลังสงครามโลกครั้งที่สอเป็นต้นมา ประเทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้จึงกลายเป้นกำแพงสงครามลัทธิระหว่างมหาอำนาจทั้งสองฝ่าย และผุ้ที่รับเคราะห์กรรมจากากรแผ่ลัทธิก็คือประชาชนในแถบนี้นั่นเอง ดังตัวอย่างของชาวเวียดนาม ลาว และกัมพูชา
สภาพภายหลังสงคราโลกซึ่งแท้จริงมีรากฐานมาจากอดีตก็คือ ประเทศเหล่านี้ขาดความผสมกมลกลือนกันทั้งทางเศรษบกิจ การเมือง วัฒนธรรมและภาษาฯลฯ ตลอดจนมีความเชื่อที่ต่างกัน เช่น พม่าเชื่อนโยบายการปิดประเทศ แม้กับประเทศเพื่อนบ้าน นอกจากความแบ่งแยกระหว่างประเทศแล้วยังปรากฎว่า ปัญหาการแตกแยกภายในของหลายๆ ประเทศยังดำรงอยู่หลังสงครามโลก เช่น การแบ่งแยกประเทศเวียดนามเป้ฯสองฝ่าย กล่าวได้ว่า ความไม่สงบและการแบ่งแยกของประเทศในภูมิภาคนี้ทำให้มีอำนาจต่อรองกับประเทศมหาอำนาจต่ำ แต่ในที่สุประเทศเหล่านี้บางประเทศได้ตระหนักถึงปัญหาและความเสียเปรียบต่างๆ ที่เกิดขึ้นจึงพยายามสร้างความร่วมมือระหว่างกนในรูปต่างๆ จนกระทั่งถึงสมาคมอาเซียนซึ่งมีบทบาทสำคัญในเวลาต่อมา
ปัญหาของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้หลังสงครามดลกครั้งที่สอง
- ปัญหาการเลือกทางเดินของประเทศ หลังสงครามโลกนั้นปรากฎว่าประเทศในภูมิภาคนี้ต้องเผชิญกับปัญหาว่าจะเลือกพัฒนาเศรษบกิจของประเทศไปในรูปแบบใด เสรีนิยมหรือสังคมนิยม และทางด้านการปกครองจะเลือกเสรีประชาธิปไตยหรือจะเป้นเผด็จการคอมมิวนิสต์ ภายหลักงสงครามนั้นมหาอไนาจทั้งฝ่ายโลกเสรีและคอมมิวนิสต์ต่างก็คุมเชิงกันอยู่ในการช่วงชขิงอำนาจทั้งทางเศรษฐกิจและการเมืองในภูมิภาคนี้
ในบรรดาประเทศเอกราชหลังสงครามโลกครั้งที่สองนั้นมีเพียงพม่าที่ประกาศตัวเป้ฯกลางในสงครามเย็นระหว่างค่ายทั้งสอง แม้จะได้รับความช่วยเหลือจากประเทศทั้งสองฝ่าย ด้านระบบเศรษฐกิจนั้นมีทางเลือกต่่างๆ กัน เช่น พม่าหรืออินโดนีเซีย เลือกระบบเศรษฐกิจแบบมาร์ก(ในสมัยซูการ์โน) ซึ่งอาจเป็นเพราะเห็นว่าประเทศของตนยังไม่มีความมั่นคงพอ ดังนั้น การรวศูนย์อำนาจจะเป็นวิธีเดี่ยวที่จะแก้ปัญหาต่างๆ ของประเทศได้เร็วที่สุด เช่น ปัญหาทรัพย์สินซึ่งรวมทัี้งปัญหาที่ดิน การอุตสาหกรรม ชนกลุ่มนอยชาวต่างประเทศที่เข้ามาคุมเศรษฐกิจของชาติผุ้นำของพม่าและอินโดนีเซียได้แก่ปัญหาชาวต่า่งขาติเข้าครอบงำเศรษฐกิจของประเทศโดยการเข้ายึดโอนกิจการของชาวต่างชาติเข้าเป็นรัฐเสีย ในประเทศทั้งสองนี้ปัญญาชนซึ่งเป็ฯกำลังสำคัญในการต่อสุ้เพ่เอกราชนั้น มีความรู้สึกว่าการจะได้เอกราชโดยสมบูรณ์นั้นต้องขจัดนายจ้างต่างชาติ และระบบเศรษฐกิจแบบนายทุนเสียด้วย จึงเห็นว่ารัฐแบบสังคมนิยมเป็นทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด แต่ในลบางประเทศซึ่งกาต่อสู้เพื่อเอกราชมิได้มีความยุ่งยาก เช่น ฟิลิปปินส์หรือมิมิได้ตกเป็นเมืองขึ้นของใคร เช่น ไทย มักจะเลอกทิศทางที่ค่อนข้างเป็นเสรีหรือเป็นประชาธิปไตย แต่ขณะเดียวกันยังมีข้อจำกัดสิทธิของคนกลุ่สมน้อยไว้ เช่น ประเทศไทย ฟิลิปปินส์ เป็นต้น อย่างไรก็ดีการรู้จักประนีประนอมเป็นสิ่งสำคัญในอันที่จะประคองประเทศให้ดำรงยอยู่ได้อย่างมั่นคง
- ปัญหาความยากจนของประชากรและความเหลื่อล้ำระหว่งเมืองกับชนบท เป้ฯรากฐานตั้งแต่อดีตต่อมาจนหลังสงครามโลกครั้งที่สองกระทั่งในปัจจุบัน
- ปัญหารความขาดเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งเป็นผลมาจาการมีเศรษฐกิจขึนกับสินค้าออกเกษตรกรรมเพียงไม่กี่ประเภท ในขณะที่มีการสั่งสินค้าเข้าอุตสาหกรรมมาก จึงมักประสบปัญหาการขาดดุลชำระเงิน
- ปัญหาการว่างงานและการเพิ่มขึ้นของประชากร การว่างงานเป็นปัฐหาที่มีความสำคัญต่อประเทศในเอเซียตะวันออกเฉยงวใต้อย่างมาก หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา ปัญหาทวีความรุนแรมากขึ้น เมื่อมีการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ถึงกับกล่าวได้ว่าปัญหาการว่างงานและการเพิ่มขึ้นของประชากรคือ ระเบิดเวลาของเอเซียตะวนออกเฉียงใต้ หากมาตรการต่างๆ ที่ดำเนินไปเืพ่ควบคุมอัตราประชากรให้เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจไม่ประสบความสำเร็จซึ่งจะถึงเวลาวิกฤตในไม่ข้า
-ปัญหาการบริหารที่ไม่มีประสิทธิภาพและการทุจริตในหน่วยงาน เป้นปัญหาหนักที่แก้ไม่ตกในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ อาจด้วยความยากจนหรือการบริากรงานที่เละหลวม ทำให้การทุจริตมีมากในประเทศแถบนี้ มีผุ้ประมาณว่าการทุจริตในอินโดนีเซียมีประมาณ 30 % ของรายได้ประชาชาติ มีผุ้กล่าวว่ารัฐบาลแถบเอเซียใต้และเอเซียตะวนออกเฉียงใต้เป้นรัฐที่อ่อนเหลว แลอาจเป็นเพราะผุ้นำไม่เต็มใจที่จะแก้ปัญหาทุจริตในราชการหรือเป็นเพราะผุ้นำไร้ความสามารถก็ได้ การทุจริตอย่างมากมายนั้นย่อมมีส่วนทำลายการพัฒนาประเทศ เพราะเมื่อควาททุจริตแพร่ไปในงางานต่างๆ เช่น ขบวนการยุติธรรมย่อมทำให้เกิดความไม่เที่ยวะรรมได้ และหากผลของการทุจริตไปกระทบกับคนส่วนใหญ่อาจก่อให้เกิดปัญหารุนแรงถึงขึ้นจราจลได้ ซึ่งไม่เป้นผลดีต่อเสถียรภาพของประเทศ
- ขาดการลงทุนที่มีประสิทธิภาพ ถ้าหากใช้แนวคิดการพัฒนาของนัก เศรษฐศาสตร์ ตลอดจนประสบการณ์ในการพัฒนาที่ผท่านมาของประเทศด้อยพัฒนาเป็แนวทางแล้วปัญหาของความยากจน การว่างงาน การทำงานต่ำระดับ ซึ่งเป็นปัญหาวิกฤตของเอเซียออกเฉียงใต้นั้นจะแก้ได้ด้วยวิธีการเพิ่มการลงทุนให้พอเียง ดันจะช่วยให้ประเทศเหล่่านี้มีสมรรถภาพเพ่ิมขึ้น โดนมีนโยบายลงทุนที่จะลืเกใช้ได้สามประการซึ่งมีความเกี่ยวพนอยู่คือ โดยกาเพิ่มการลงทุนในประเทศ โดยเพ่ิมการลงทุน จากต่างประเทศ และโดยการช่วยเหลือจากต่างประเทศ
- ความไม่คล่องตัวในการโยกย้ายทรัพยากรภายในประเทศ นอกจากการขาดแคลนทุนและผุ้ประกอบการแล้วการไม่คล่อตัวในการโยกย้ายทรัพยากรหรือการจัดสรรทรัพยากรโดยไม่มีประสิทธิภาพล้วนเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการพัฒนาประเทศทั้งสิ้น ประเทศในภูมิภาคแถบนี้มักจะจัดสรรวงประมาณส่วนใหญ่เพื่อความมั่นคงของประเทศ ซึ่งอาจเป้นเพราะประสบการณ์ของแารตกอยุ่ใต้อิทธิพลของตะวันตกมานานตลอดจนมีปัญหาความแตกแยกทางการเมืองภายในด้ย ดดยเฉพาะในปะรเทศที่มีประชานหลายเชื้อชาติ หรือมีความแตกต่างกันมากๆ ทางด้านศาสนาและภาษาูดมีรัฐบาลหลายประเทศในภูมิภาคแถบเอเซียตะวันออกเแียงใต้ที่มองปัญหาของปการพัฒนาอย่งผิวเผิน โดยเชื่อว่าการวบอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลางหรืออาศัยการควบคุมของรัฐ หรือใช้รัฐวิสาหกิจ จะเป็นสิ่งที่ทำให้การพัฒนดำะเนินไปได้โดยราบรื่น
- ปัญหาชนกลุ่มน้อย เป็นปัญหาที่ไม่อาจละเลยได้ทั้งชนกลุ่มน้อยที่เป้ฯชาวต่างชาติ และชนกลุ่มน้อยที่เป้นชาวพื้เมือง ทั้งนี้เพราะมีคามเกี่ยวพันกับความมัี่นคงทงเศรษบกิจและการเมืองของประเทศ ชนกลุ่มน้อยชาวต่างชาติมักจะมัีอิทธิพลต่อเศรษบกิจของประเทศแถบเอเซียตะวันออกเฉียงใต้มาก เช่น คนจีนในมลายู ชาวอินเดียในประเทศพม่า เป็นต้น ทีั้งนี้ชาวต่างชาติเหล่านี้ไม่เพียงแต่ครอบงำเศรษบกิจของประเทศเอาไว้เท่านั้น แต่มักจะแผ่อิทธิพลข้าครอบงำทางการเมืองด้วยในมลายูแลในประเทศไทยนั้น ชาวจีนมักเป้ฯเจ้าของกิจการธนาคาร โรงเลื่อย โรงสีข้าว ตลอดจนกิจการต้าสส่งค้าปลีก และการเป้นแรงงานรับจ้าง ปัญหาจีนในมลายูระยะแรกๆ หลังสงครามดลกนั้นค่อนข้างรุนแรง เนื่องจากท้ังสองฝ่ายคือจีนและมลายูต่างไม่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน จึงลงเอยด้วยการแย่งชิงอำนาจทางการเมืองระหว่างเชื้อชาติ...
ความร่วมมือระหว่งประเทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
ก่อนหน้าที่สมาคมอาเซียนจะก่อกำเนินขึ้นมานั้น ความร่วมมือในรูปแบบองค์การต่างๆ ที่ภูมิาคนี้เข้าไปม่ส่วนร่วมมีหลายองค์การ เช่น คณะกรรมาธิการเศรษบกิจสำหรับภาคพื้นเอเซียและตะวันออกไกล, สนธิสัญญาร่วมป้องกันแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งทั่งสององค์กรเป็นองค์การความร่วมมือทางเศรฐกิจและทางการทหารจึงส่งผลให้ดินแดนแถบนี้แบ่งเป็นสองค่ย คือฝ่ายที่สนับสนุนโดยคอมมิวนิสต์กับฝ่ายของโลกเสรี ซึ่งองค์กรนี้เป็นองค์ที่มีจุดประสงค์ต่อต้านการรุกรานของคอมมิวนิสต์โดยตรง
- ประวัติการพัฒนาเศรษฐกิจของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้, รศ. ญาดา ประภาพันธ์,2531.
ลักษณะพื้นฐานของลัทธิอาณานิคมแบบใหม่ นั้นคือ การผูกขาดทุน และระบบรัฐทุนนิยมผูกขาด ตัวอย่างของการดำเนินงานของลัทธิอาณานิคมแบบใหม่ เช่น บรรษัทข้ามชาติ ซึ่งเข้ามามีบทบาททางเศรษกิจในหลายๆ ประเทศของเอเซีย อัฟริกา และลาตินอเมริกา วิธีการนั้นมีหลายรูปแบบ เช่น การให้เงินกู้แก่ประเทศกำลังพัฒนา การใช้องค์การระหว่างประเทศที่ตนมีอิทธิพลเข้าแทรกแซงนโยบายทางเศราฏิจของรัฐบาลประเทศกำลังพัฒนาโดยให้ความช่วยเหลือเป้นเครื่องแลกเปลี่ยน ลัทธิดังกล่าวนี้ขยายตัวอยุ่ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้เรื่อยมานับจากการสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่สอง ทำให้ประเทศในภูมิภาคนี้มัวเมาอยู่กับความสะดวกสะบายจากความช่วยเหลือด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากเงินที่ได้รับ จนในที่สุดไม่อาจถอนตัวจากการพึ่งพาและภาระหนี้สินที่ท่วมท้นได้ ความเป้ฯอยู่ของประชาชนส่วนใกญ่ในประเทศเหล่านี้ไม่พัฒนาไปมากนักผลประโยชน์ต่างๆ จากความช่วยเหลือแม้จะตกกับประเทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้บ้าง แต่มิได้เป็นไปอย่างทั่วถึงและมักจะตกกับคนกลุ่มน้อยกรืผุ้ที่อยู่ในเขตเมือง นอกจากนั้นผลประโยชน์ส่วนใหญ่จะถูกดึงกลับไปยังประเทศผุ้เป็ฯเจ้าของทุนตามเงื่อนไขต่างๆ ที่ตั้งไว้
แม้ประเทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้จะเป้นเอกราชแล้วก็ตามที แม่เมื่อพิจารณาอย่างรอบคอบแล้วจะเห็นได้ว่า ประเทศเหล่านี้ตกอยู่ใต้อิทธิพลของประเทศมหาอำนาจฝ่ายโลกเสรีหรือฝ่ายคอมมิวนิสต์ นับจากหลังสงครามโลกครั้งที่สอเป็นต้นมา ประเทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้จึงกลายเป้นกำแพงสงครามลัทธิระหว่างมหาอำนาจทั้งสองฝ่าย และผุ้ที่รับเคราะห์กรรมจากากรแผ่ลัทธิก็คือประชาชนในแถบนี้นั่นเอง ดังตัวอย่างของชาวเวียดนาม ลาว และกัมพูชา
สภาพภายหลังสงคราโลกซึ่งแท้จริงมีรากฐานมาจากอดีตก็คือ ประเทศเหล่านี้ขาดความผสมกมลกลือนกันทั้งทางเศรษบกิจ การเมือง วัฒนธรรมและภาษาฯลฯ ตลอดจนมีความเชื่อที่ต่างกัน เช่น พม่าเชื่อนโยบายการปิดประเทศ แม้กับประเทศเพื่อนบ้าน นอกจากความแบ่งแยกระหว่างประเทศแล้วยังปรากฎว่า ปัญหาการแตกแยกภายในของหลายๆ ประเทศยังดำรงอยู่หลังสงครามโลก เช่น การแบ่งแยกประเทศเวียดนามเป้ฯสองฝ่าย กล่าวได้ว่า ความไม่สงบและการแบ่งแยกของประเทศในภูมิภาคนี้ทำให้มีอำนาจต่อรองกับประเทศมหาอำนาจต่ำ แต่ในที่สุประเทศเหล่านี้บางประเทศได้ตระหนักถึงปัญหาและความเสียเปรียบต่างๆ ที่เกิดขึ้นจึงพยายามสร้างความร่วมมือระหว่างกนในรูปต่างๆ จนกระทั่งถึงสมาคมอาเซียนซึ่งมีบทบาทสำคัญในเวลาต่อมา
ปัญหาของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้หลังสงครามดลกครั้งที่สอง
- ปัญหาการเลือกทางเดินของประเทศ หลังสงครามโลกนั้นปรากฎว่าประเทศในภูมิภาคนี้ต้องเผชิญกับปัญหาว่าจะเลือกพัฒนาเศรษบกิจของประเทศไปในรูปแบบใด เสรีนิยมหรือสังคมนิยม และทางด้านการปกครองจะเลือกเสรีประชาธิปไตยหรือจะเป้นเผด็จการคอมมิวนิสต์ ภายหลักงสงครามนั้นมหาอไนาจทั้งฝ่ายโลกเสรีและคอมมิวนิสต์ต่างก็คุมเชิงกันอยู่ในการช่วงชขิงอำนาจทั้งทางเศรษฐกิจและการเมืองในภูมิภาคนี้
ในบรรดาประเทศเอกราชหลังสงครามโลกครั้งที่สองนั้นมีเพียงพม่าที่ประกาศตัวเป้ฯกลางในสงครามเย็นระหว่างค่ายทั้งสอง แม้จะได้รับความช่วยเหลือจากประเทศทั้งสองฝ่าย ด้านระบบเศรษฐกิจนั้นมีทางเลือกต่่างๆ กัน เช่น พม่าหรืออินโดนีเซีย เลือกระบบเศรษฐกิจแบบมาร์ก(ในสมัยซูการ์โน) ซึ่งอาจเป็นเพราะเห็นว่าประเทศของตนยังไม่มีความมั่นคงพอ ดังนั้น การรวศูนย์อำนาจจะเป็นวิธีเดี่ยวที่จะแก้ปัญหาต่างๆ ของประเทศได้เร็วที่สุด เช่น ปัญหาทรัพย์สินซึ่งรวมทัี้งปัญหาที่ดิน การอุตสาหกรรม ชนกลุ่มนอยชาวต่างประเทศที่เข้ามาคุมเศรษฐกิจของชาติผุ้นำของพม่าและอินโดนีเซียได้แก่ปัญหาชาวต่า่งขาติเข้าครอบงำเศรษฐกิจของประเทศโดยการเข้ายึดโอนกิจการของชาวต่างชาติเข้าเป็นรัฐเสีย ในประเทศทั้งสองนี้ปัญญาชนซึ่งเป็ฯกำลังสำคัญในการต่อสุ้เพ่เอกราชนั้น มีความรู้สึกว่าการจะได้เอกราชโดยสมบูรณ์นั้นต้องขจัดนายจ้างต่างชาติ และระบบเศรษฐกิจแบบนายทุนเสียด้วย จึงเห็นว่ารัฐแบบสังคมนิยมเป็นทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด แต่ในลบางประเทศซึ่งกาต่อสู้เพื่อเอกราชมิได้มีความยุ่งยาก เช่น ฟิลิปปินส์หรือมิมิได้ตกเป็นเมืองขึ้นของใคร เช่น ไทย มักจะเลอกทิศทางที่ค่อนข้างเป็นเสรีหรือเป็นประชาธิปไตย แต่ขณะเดียวกันยังมีข้อจำกัดสิทธิของคนกลุ่สมน้อยไว้ เช่น ประเทศไทย ฟิลิปปินส์ เป็นต้น อย่างไรก็ดีการรู้จักประนีประนอมเป็นสิ่งสำคัญในอันที่จะประคองประเทศให้ดำรงยอยู่ได้อย่างมั่นคง
- ปัญหาความยากจนของประชากรและความเหลื่อล้ำระหว่งเมืองกับชนบท เป้ฯรากฐานตั้งแต่อดีตต่อมาจนหลังสงครามโลกครั้งที่สองกระทั่งในปัจจุบัน
- ปัญหารความขาดเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งเป็นผลมาจาการมีเศรษฐกิจขึนกับสินค้าออกเกษตรกรรมเพียงไม่กี่ประเภท ในขณะที่มีการสั่งสินค้าเข้าอุตสาหกรรมมาก จึงมักประสบปัญหาการขาดดุลชำระเงิน
- ปัญหาการว่างงานและการเพิ่มขึ้นของประชากร การว่างงานเป็นปัฐหาที่มีความสำคัญต่อประเทศในเอเซียตะวันออกเฉยงวใต้อย่างมาก หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา ปัญหาทวีความรุนแรมากขึ้น เมื่อมีการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ถึงกับกล่าวได้ว่าปัญหาการว่างงานและการเพิ่มขึ้นของประชากรคือ ระเบิดเวลาของเอเซียตะวนออกเฉียงใต้ หากมาตรการต่างๆ ที่ดำเนินไปเืพ่ควบคุมอัตราประชากรให้เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจไม่ประสบความสำเร็จซึ่งจะถึงเวลาวิกฤตในไม่ข้า
-ปัญหาการบริหารที่ไม่มีประสิทธิภาพและการทุจริตในหน่วยงาน เป้นปัญหาหนักที่แก้ไม่ตกในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ อาจด้วยความยากจนหรือการบริากรงานที่เละหลวม ทำให้การทุจริตมีมากในประเทศแถบนี้ มีผุ้ประมาณว่าการทุจริตในอินโดนีเซียมีประมาณ 30 % ของรายได้ประชาชาติ มีผุ้กล่าวว่ารัฐบาลแถบเอเซียใต้และเอเซียตะวนออกเฉียงใต้เป้นรัฐที่อ่อนเหลว แลอาจเป็นเพราะผุ้นำไม่เต็มใจที่จะแก้ปัญหาทุจริตในราชการหรือเป็นเพราะผุ้นำไร้ความสามารถก็ได้ การทุจริตอย่างมากมายนั้นย่อมมีส่วนทำลายการพัฒนาประเทศ เพราะเมื่อควาททุจริตแพร่ไปในงางานต่างๆ เช่น ขบวนการยุติธรรมย่อมทำให้เกิดความไม่เที่ยวะรรมได้ และหากผลของการทุจริตไปกระทบกับคนส่วนใหญ่อาจก่อให้เกิดปัญหารุนแรงถึงขึ้นจราจลได้ ซึ่งไม่เป้นผลดีต่อเสถียรภาพของประเทศ
- ขาดการลงทุนที่มีประสิทธิภาพ ถ้าหากใช้แนวคิดการพัฒนาของนัก เศรษฐศาสตร์ ตลอดจนประสบการณ์ในการพัฒนาที่ผท่านมาของประเทศด้อยพัฒนาเป็แนวทางแล้วปัญหาของความยากจน การว่างงาน การทำงานต่ำระดับ ซึ่งเป็นปัญหาวิกฤตของเอเซียออกเฉียงใต้นั้นจะแก้ได้ด้วยวิธีการเพิ่มการลงทุนให้พอเียง ดันจะช่วยให้ประเทศเหล่่านี้มีสมรรถภาพเพ่ิมขึ้น โดนมีนโยบายลงทุนที่จะลืเกใช้ได้สามประการซึ่งมีความเกี่ยวพนอยู่คือ โดยกาเพิ่มการลงทุนในประเทศ โดยเพ่ิมการลงทุน จากต่างประเทศ และโดยการช่วยเหลือจากต่างประเทศ
- ความไม่คล่องตัวในการโยกย้ายทรัพยากรภายในประเทศ นอกจากการขาดแคลนทุนและผุ้ประกอบการแล้วการไม่คล่อตัวในการโยกย้ายทรัพยากรหรือการจัดสรรทรัพยากรโดยไม่มีประสิทธิภาพล้วนเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการพัฒนาประเทศทั้งสิ้น ประเทศในภูมิภาคแถบนี้มักจะจัดสรรวงประมาณส่วนใหญ่เพื่อความมั่นคงของประเทศ ซึ่งอาจเป้นเพราะประสบการณ์ของแารตกอยุ่ใต้อิทธิพลของตะวันตกมานานตลอดจนมีปัญหาความแตกแยกทางการเมืองภายในด้ย ดดยเฉพาะในปะรเทศที่มีประชานหลายเชื้อชาติ หรือมีความแตกต่างกันมากๆ ทางด้านศาสนาและภาษาูดมีรัฐบาลหลายประเทศในภูมิภาคแถบเอเซียตะวันออกเแียงใต้ที่มองปัญหาของปการพัฒนาอย่งผิวเผิน โดยเชื่อว่าการวบอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลางหรืออาศัยการควบคุมของรัฐ หรือใช้รัฐวิสาหกิจ จะเป็นสิ่งที่ทำให้การพัฒนดำะเนินไปได้โดยราบรื่น
- ปัญหาชนกลุ่มน้อย เป็นปัญหาที่ไม่อาจละเลยได้ทั้งชนกลุ่มน้อยที่เป้ฯชาวต่างชาติ และชนกลุ่มน้อยที่เป้นชาวพื้เมือง ทั้งนี้เพราะมีคามเกี่ยวพันกับความมัี่นคงทงเศรษบกิจและการเมืองของประเทศ ชนกลุ่มน้อยชาวต่างชาติมักจะมัีอิทธิพลต่อเศรษบกิจของประเทศแถบเอเซียตะวันออกเฉียงใต้มาก เช่น คนจีนในมลายู ชาวอินเดียในประเทศพม่า เป็นต้น ทีั้งนี้ชาวต่างชาติเหล่านี้ไม่เพียงแต่ครอบงำเศรษบกิจของประเทศเอาไว้เท่านั้น แต่มักจะแผ่อิทธิพลข้าครอบงำทางการเมืองด้วยในมลายูแลในประเทศไทยนั้น ชาวจีนมักเป้ฯเจ้าของกิจการธนาคาร โรงเลื่อย โรงสีข้าว ตลอดจนกิจการต้าสส่งค้าปลีก และการเป้นแรงงานรับจ้าง ปัญหาจีนในมลายูระยะแรกๆ หลังสงครามดลกนั้นค่อนข้างรุนแรง เนื่องจากท้ังสองฝ่ายคือจีนและมลายูต่างไม่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน จึงลงเอยด้วยการแย่งชิงอำนาจทางการเมืองระหว่างเชื้อชาติ...
ความร่วมมือระหว่งประเทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
ก่อนหน้าที่สมาคมอาเซียนจะก่อกำเนินขึ้นมานั้น ความร่วมมือในรูปแบบองค์การต่างๆ ที่ภูมิาคนี้เข้าไปม่ส่วนร่วมมีหลายองค์การ เช่น คณะกรรมาธิการเศรษบกิจสำหรับภาคพื้นเอเซียและตะวันออกไกล, สนธิสัญญาร่วมป้องกันแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งทั่งสององค์กรเป็นองค์การความร่วมมือทางเศรฐกิจและทางการทหารจึงส่งผลให้ดินแดนแถบนี้แบ่งเป็นสองค่ย คือฝ่ายที่สนับสนุนโดยคอมมิวนิสต์กับฝ่ายของโลกเสรี ซึ่งองค์กรนี้เป็นองค์ที่มีจุดประสงค์ต่อต้านการรุกรานของคอมมิวนิสต์โดยตรง
- ประวัติการพัฒนาเศรษฐกิจของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้, รศ. ญาดา ประภาพันธ์,2531.
วันจันทร์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2560
International Political Economy
พัฒนาการความร่วมมือด้านเศรษฐกิจระหว่างประเทศในอดีต ประเทศทั่วโลกได้เริ่มตระหนักอย่างจริงจังว่าระบบเศรษบกิจตำต่ำทั่วโลกในช่วงทศวรรษที่ 1930 หรือ The Great Depresstion ต่อเนื่องมาจนถึงสงครามโลกครั้งที่ 2 ภาวะเศรษฐกิจของโลกในช่วงนี้เกิดภาวะที่เรียกว่าสงครามทางการต้าระหว่างประเทศและสงครามทางการเงินระหว่าประเทศ สงครามทางการต้าเกิดขึ้นจากการที่แต่ละประเทศต่างมีมาตรการกีอกันทางการค้า เรียกระบบการค้าที่ใช้ในสมัยนั้นว่า Protectionism คือระบบการต้าแบบกีดกันควลบคู่กับสงคราทางการต้า เกิดสงครามางการเงอน ซึ่งเป้นสภานการณ์ที่แต่ละประเทศใช้มาตรการลดค่าเงิน ของประเทศตน เพื่อที่จะทำให้เศรษบกิจของแต่ละประเทศและของโลกขยายตัวกลับหดตัว
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จุดเริ่มจ้นของการจัดระเบียบเศรษฐกิจโลก ธนาคราระหว่าประเทศเพื่อการบูรณฟื้นฟูและพัฒนา หรือเรียกย่อว่า "ธนาคารโลก World Bank", กองทภนการเงินระหว่างประเทศ IMF, ข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการต้า GATT เป็นสามหน่วยงานระหว่างปผระเทศที่ประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกจและการเมืองคือ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และฝรั่งเศส ได้สร้้างขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เพื่อแก้ไขปัญหาและจัดระเบียบการจัดการระบบเศรษฐกิจของโลกใหม่ ปัญหาเศรษบกิจที่โลกต้องเผชิญหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงมี 3 ประการ ประการแรกเป็นปัญหาเรือ่งการเงินระหว่างประเทศ ให้ IMF เป้นหน่วยงานที่ดูแลทั้งนี้ได้จัดตั้งระบบการเงินที่เรียกว่า ระบบ Bretton Wods System ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเสถียรภาพของอัตราและเปลี่ยนปัญหาประการที่สอง เรื่องการกีอดันทางการค้าให้ GATT ดำเนินการจัดการเจรจาไปสู่การต้าเสรี และปัญหาเร่องสุดท้ายคือ การบูรณะและพัฒนาประเทศที่ได้รับความเสียหายจากสงครามโลก ให้ธนาคารโลก เป็นผู้ดูแล
ฉันทามติวอชิงตัน Washington Consensus รูปแบการแทรกแซงอธิปไตยทางเศรษฐกิจ การล่มสลายของระบบการเงิน Bretton Woods ในปี ค.ศ. 1971 และคามล่าช้าและขาดประสิทธิภาพของการเจรจาภายใต้ GATT นำไปสู่แนวคิดการปฏิรูปนโยบายเศรษฐกิจของโบกอีกครั้ง หรือที่เรียกว่า ฉันทามติวอชิงตัน ในปี 1989 เป้ฯนโยบายเศรษฐกิจที่ร่างโดยองค์กรระหว่างประเทศคือกองทุนการเงินระหว่าง
ประเทศ ธนาคารโลก และกระทรวงการคลังของสหรัฐอเมริกา เพื่อใช้เป็นข้อเสนอในการปฏิรูปเศรษบกิจของกลุ่มประเทศลาตินอเมริกาที่ประสบปัญหาเศรษฐกจและต้องขอความช่วยเหลือจาธนาคารโลกและกองทุนการเงินระหว่าปงระเทศ มีข้อสังเกตว่า ฉนทมติวอชิงตันนี้ก้าวล่วงเข้าไปในการกำหนนโยบายภายในประเทศของแต่ละประเทศ ซึ่งต่งจากที่ผ่านมาที่จำกัดเฉพาะนโบายเศรษฐกิจระหว่างปรเทศคือ เฉาพะทางด้านการเงินและการต้าระหว่างประเทศ ข้อเสนอการปรับนโยบายเศรษฐกิจภายในของแต่ละประเทศ ตามฉันทมติวอชิงตันมีองค์ประอบที่สำคัญ 3 ประการ คือ สร้างวินัยทางนดยบายเสณาฐกิจมหภาค ประการที่สองให้กลไกตลอดทำงาน ซึ่งนำไปสู่แนวนโยบายเรื่องการแปรรูปและการลดบทบาทของภาครัฐ และประการสุดท้ายเปิดตลาดให้เสรีให้ต่างชาติอย่างน้อยก็ทางด้านการต้าการลงทุน นโยบายที่นำเสนอนี้ ธนาคารโลกกองทุนการเงินระหว่งประเทศและองค์กรกระหว่างประเทศอื่น กระทรวงการคลังของสหรัฐอเมริกา รวมทังรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ต่างก็ใช้เป็นข้อเสนอแนะในการปฏิรูปนธยบายเศรษบกิจต่อประเทศสมาชิกที่ต้องการช่วยเลหือ ฉันทมติวอชิงตัน นำปไสู่ความขัดแย้งทางปรัชญาแนวคิดด้านเศรษฐศาสตร์มหภาคของสำนักต่างๆ และนไปสู่ข้อขัดแย้งในทางปฏิบัติ บางกลุ่มบางประเทศไม่เห็นด้ายกับฉันทมติวอชิงตัน เพราะเห็นว่าจะเป้นผลเสียต่อประเทศที่กำลังพัฒนา แต่จะเป้นประดยชน์ต่อประทเสที่พัฒนาและมีศักยภาพในการแข่งขันดีกว่า
สภาพความไม่สมดุลของโลก สมรภูมิในเอเชีย นโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจตามแยวทางฉันทมติวอชิงตันได้นำไปใช้ในประเทศลาตินอเมริกาในช่วงทศวรรษที่ 1990 รวมทั้งกลุ่มประเทศในยุโรปตะวันออกที่แยกตัวออกจากสหภาพโซเวียตและเปลียนรูปแบบการบริการจัดการประเทศโดยใช้ระบบตลาดแทนการวางแผนจากส่วนกลาง สำหรับในช่วงทศวรรษที่ 2000 นี้คาดว่าแนวนโยบายเสรษฐกิจตามแนวทางของฉันทมติวอชิงตันจะถูกนำมาบังคับใช้ในประเทศเอเวีย ดดยมีประเทศสหรับอเมริกาจะเป้ฯหัวหอกที่กดดันให้ประทเศในเอเซียดำเนินนโยบายเศรษฐกิจทั้งภายในประเทศและต่างประเทศจาที่สหรัฐต้องการมารกยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพราะเกิดสภาพที่เรียกว่า "ความไม่สมดุล"ระหว่งเศรษฐกิจของประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกิจของโลก ความไม่สมดุลด้านหนึ่งเกิดขึ้นในประเทศหรัฐอเมริกา อีด้านเหนึ่งเกิดขึ้นในประเทศอเซียที่สำคัญคือ ประเทศสาธารณรับประชาชนจีน และญี่ปุ่น ความไม่สมดุลนดังกล่าวนี้นิยมเรียกว่า "Global Imbalance"ทั้งนี้เนื่องจากทั้งประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน และปรเทศญี่ปุ่นต่างก็เป็นมหาอำนาจทางเศรษบกิจของโลก ภาวะเศรษบกิจของโลกจะูกกำหนดโดยภาวะเศรบกิจของประเทศเหล่านี้นในสภาวะที่ดลกขาดความสมดุลอาจนำไปสู่ "สึนามิ"ทางเสรษฐกิจ ถ้าไม่ได้รับการแก้ไข
การขาดสภาวะสมดุล หมายถึง กรณีทีประเทศสหรัฐมีการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดในระดับที่สุงและต่อเนื่อง ทำให้ประเทศสมีหนี้สูงมาก เพราะต้องกู้เงินมาใช้ในขณะที่ประทเศที่เกินดุลบัญชีเดินสะพัดและอยู่ในฐานะเจ้าหนี้ของสหรัฐอเมริกาคือประเทศในกลุ่มเอเชีย โดยมีประเทศญี่ปุ่นและประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนเป้นหลัก การขาดความสมดุลดังหล่าว แม้ที่ผ่านมาจะช่วยสร้างการเติบโตให้กับเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาและเศรษฐกิจ ของโลก แต้ถ้าหากไม่มีการปรับแก้ อาจนำไปสู่วิกฤตเศรษฐกิจอย่างรุนแรง เร่ิมจากากรขาดความเชื่อมันในเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งถือว่าเป้นเงินระหว่างประเทศ วิกฤตค่าเงินและนำไปสู่ภาวะการณ์ชะงักงันด้านการต้าและากรลงทุระหว่างปะเทศ ดังเช่นที่เยเกิดขึ้นในอดีตแต่จะรุนแรงกว่า
ประเทศสหรัฐขาดดุลการต้าและดุลบัญชีเดินสะพัดต่อเนื่องยาวนานถึง 20 ปี รวมทั้งมีขนาดเพิ่มมากขึ้นทำลายสถิติื โดยในปี 2002 ขาดดุลการต้าที่มูลค่า 420 พันฃ้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2003 และ 2004 ขาดดุลมีมูลค่าเพิ่มเป็น 5-6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ตามลำดับการขาดดุลดังกล่าว หมายถึงประเทศสหรัฐอเมริกามีการใช้จ่ายมากว่ารายได้ที่หาได้ ขนาดของการขอดดุลบัฐชีเดินสะพันและจำนวนหนี้ที่สะสมของประทเศสหรัฐอเมริกา ถ้าเป็นประเทศอื่นจะต้องเผชิญกับวิกฤตเศรษฐกิจอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่กรณีของสหรัฐอเมริกา มีแรงจูงใจให้มีเงินทุนไหลเข้ามาชดเชย ดยดที่สหรัฐไม่ต้องขึ้นดอกเบี้ยหรือปรับเพียงเล็กน้อย รวมทั้งรัฐบาลของกลุามประเทศเอเชีย เช่น จีนและญีปุ่น ก็เต็มใจที่จะซื้อตราสารหนี้ของอเมริกา แม้จะได้ผลตอบแทนต่ำ แต่ผลประดยชน์อีกด้านหึ่งคือช่วยพยุงค่าเงินของตนเองไม่ให้แข็งค่าเมืองเที่ยบกับดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นกลยุทธ์ทสนับสนุนนโยบายการสร้างการเติบโตของแลุ่มประทเสเอเชียที่เน้นภาคส่งออกเป็นตัวนำ
ความสัมพันธ์ภายใต้สภาพความไม่สมดุลตามที่กล่าวมา ทั้งสองกลุ่มได้ผลประโยชน์ร่วมกัน คือทั้งสองฝ่ายต่างก็เติบโตดัวยกันและต่างก็พึ่งพาซึ่งกัน เอเชียพึงพาสหรัฐในฐานะเป็ฯตลาดใหญ่ สหรัฐพึ่งพาเอเชียในฐานะที่ให้กู้ยืมรายไใย๋ การพึ่งพาดังกล่วดำเนิมาจนถึงจุดที่หลายฝ่ายเริ่มตั้งคำถามว่า การกู้ยืมนำเงินมาชดเชยกับการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดของสหรัฐอเมริกาจะเป็นอยู่อย่างนี้ตลอดไปได้หรือไม่ หรือประเทศต่างๆ จะเต็ใจที่จะถือครองหลักทรัพย์ของอเมริกาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ อย่างไม่มีพเพดามกำหนดหรอืไม่คำตอบคือสภานการณ์ทั้งสองแบบน้ไม่สมารถดำเนินต่อไปอย่างไม่มีข้อจำกัด ทั้งนี้เพราะความเชื่อมันในประเทศสหรัฐอเมริกาและความเชื่อมั่นในเงินดอลลาร์สหรัฐจะเสื่อมถอย อันจะนำไปสู่วิกฤตการเงินระหว่างประเทศอีกครั้ง...
กลยุทธ์การปรับตัวของกลุ่มประเทศอาเซียน การกดดันทางด้านการเมืองและศรษบกิจของประเทศสหรัฐต่อประเทศอื่นทั้ที่ทำโดยตรงและผ่านองค์กรระหว่างประเทศเหล่านั้นมักเป้ฯลูกหนี่ของสถาบันการเงินระหว่างประเทศและเป็นประเทศที่สหรัฐอเมริกาให้ความช่วยเลหือ แต่ในกรรณีประเทศจีนและญี่ปุ่นซึ่งมีสถานะเปรียบเหมือนเจ้าหนี้ของประเทศสหรัฐ ถ้าประสบผลสำเร็จจะเป็นตัวอย่างที่ประเทศสหรัฐจะนไมาใช้กับประเทศอื่นๆ ในเอเชีย ตัวอย่างเช่น กระทรวงการคบลังของประทเศสหรัฐอเมริกาได้ทำรายงานที่ออกทุกครึ่งปี เพื่อประเมินอัตราและเปลี่ยนของประเทศคู่ค้าหลักของสหรัฐฯ ว่ายตุธรรมหรือไม่" ดังนั้น การต่อสู่กันในเวทีเศรษฐกิจระหว่างประเทศเคลื่อนตัวมาสู่ทวีปเอเซียและจะทวีความเข้มข้นมากขึ้น ประเทศในเอเชียจะต้องดำเนินนธยบายเศรษบกิจระหว่างประเทศทั้งทางด้านการต้าและการงินร่วมกันเพื่อเพิ่มอำนาจการต่อรองทางทั้งทางด้านเศรษฐกิจและการเมือง
นโยบายด้านการต้า ควรต้องขยายความร่วมมือใน 2 ระดับ ระดับแรกขยายเขตเสรีการค้า ให้กว้างขึ้นทั้งนี้เพื่อขยายการค้าภายในกลุ่มให้มากขึ้น ช่วยลดการพึ่งพาตลาดสหรัฐอเมริกาและยุโรป ระดับที่สอง ปัจจุบันการรวมตัวทางการต้าของกลุ่มปรเทศเอเชียจะอยูในรูป FTA เท่านั้น จัดเป็นระดับการรวมตัวทางการต้าที่ง่ายที่สุดแต่มีข้ออ้อยมาก จึงควรพัฒนาไปสู่รูปแบบที่เรียกว่า ตลาดร่วม
นโยบายการเงิน ในระยะสั้น นอกจากมาตรการร่วมมือกันระหว่างธนาคารชาติของประเทศในเอเชียในการกู้ยืมเงินสกุลหลักระหว่ากันหรือที่เรียกว่า "currency swap"และการจัดตั้งตลดพันธบัติเอเลีย ควรเร่งดำเนินการจัดตั้งกองทุนการเงินของเอเชีย เพื่อเป็ฯองคกการเงินในกลุ่มประเทศเอเชีย มีบ่บาทหน้าที่เหมือน IMF สำหรับระยะยาว ควรพัฒนาความร่วมมือทาเศรษฐกิจในรูปแบบที่เรียกว่า สหภาพเศรษฐกิจเอเชีย ในลักษณะเดียวกันพับที่ประเทศในกลุ่มยุโรปจัดตั้ง สหภาพเศรษฐฏิจยุโรป การรวมตัวแบบสหภพเศรษบกิจจะนำไปสู่ความร่วมมือทางนโยบายเศรษกิจด้านการิงนและากรคลังและนำไปสู่การใช้เงินร่วมกัน..(บทความ,"เศรษฐศาสตร์การเมืองระหว่างประเทศ: กลยุทธ์การปรับตัวของประเทศกลุ่มอาเซียน, ถวิล นิลใบ.)
...งานวิจัยชิ้นนี้ได้โต้เถียงกับข้อเสนอของทฤษฎีโลกาภิวัตน์ที่ว่ารัฐมัยใหม่นั้นกำลังมีสภาวะ "ไร้อำนาจ" โดยเฉพาะในการควบคุมระบบเศรษฐกิจของตนเอง โดยงานวิจัยได้ข้อสรุปจากากรศักษาวิจัยทั้งหมด 3 ประการคือ
ประการที่หนึ่ง ระบบเศรษฐกิจของโลกในปัจจุบันนั้นมีลักษณะเป้ฯเสณาฐกิจระหว่งประเทศ กล่าวคือเป็นเวทีที่รัฐต่างพยายามหาผลประโยชน์ แข่งขันกัน โดยรัฐต่างๆ ใช้อำนาจและความสามารถภายในการขยายตัวในตลาดโลก แต่ไม่ใช่ระบบเศรฐกิจโลกาภิวัฒนน์ ที่เกิดตัวละครที่เป้ฯอิสระและมีลักษณธข้ามชาติ ที่สามารถกดดันให้รัฐเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐฏิจภายในของตน และในขณะเดี่ยวกันรัฐไม่สามารถเข้าควบคุมกิจกรรมใดๆ ของตนทางเศณาฐกิจเลยนั้น เป้นการกล่าวอ้างที่เกินจริงแม้ว่าในภาคการเงินระหว่างประเทศจะมีสภาพข้ามชาติบ้างแต่ไม่ใช่ทุกมิติ ส่วนในภาคการผลิต การต้าและมายาคติเรื่องบรรษัทข้ามชาตินั้น ไม่ได้มีพลังอย่างที่กล่าวอ้างไว้
ประการที่สอง ข้อเสนอที่ว่ารัฐต่างๆ ต้องเลือกเอานโยบายทางเสณาฐกิจในกรอบเสรีนิยมสมัยใหม่มาปฏิบัติ เพื่อให้สอดประสานกับพลังของโลกาภิวัฒน์นั้นก็เป็นข้อกล่าวอ้างที่ไม่สมเหตุสมผลเช่นเดี่ยวักัน เพราะโลกาภิวัฒน์นั้นอาจจะเป็นข้ออ้างทางการเมืองเพื่อสร้างผลประดยชน์แก่รัฐที่กำลังขาดความได้เปรีียบในตลาดโลกเนื่องจากการแข่งขัน ยิ่งไปกว่านั้นจาการศึกษาพบว่า รัฐนั้นมีความหลากหลายทางโครงสร้างแลที่สำคัญที่ความสามารรถในการปรับตัว ซึ่งมีลักษณะเป้นรัฐปฏิกิริยา ดังในกรณีของประเทศในเอเชียตะวันออกเชอย่างเช่น ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ไต้หวัน และสิงค์ปร์เป้นต้น หรือแม้กระทั่วประเทศในยุโรปเองเช่นเยอรมันนี ก็ไม่ได้ดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจเสรี นิยมสมัยใหม่เพื่อยังคงความได้เปรียบท่ามกลางกระแสโลกาภิวัฒน์ทั้งนี้จะเห้นได้ว่ารัฐที่เป็นรัฐแข็งจะมีความสามารถเชิงโครงสร้างและสถาบันทางเศรษฐกิจที่สามารถประสานประยชน์และควบคุมคามสัมัพนธืระหว่างรัฐกับธุรกิจและในขณะเดี่ยวกันก็มีความสามารถในการใช้กลำกของการวางแผนและการร่วมมือในระดับภูมิภาคเพื่อขยายผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
ประกาศสุดท้าย ความสามารถของรัฐนั้นแตกต่างกัน เพราะฉะนั้นความสามารถในการหาผลประโยชน์ในโอกาสที่โครงสร้างของเศรษฐกิจโลกเปลี่ยนแปลงไปนั้นไม่เท่ากัน โดยรัฐแข็งนั้นสามารถเป็นผุ้ได้เปรียบากว่ากรัฐอ่อน ทั้งนี้รูปแบบของการปกป้องผลประโยชน์ก็มีลักาณะเป็นการสรางความร่วมมือในรูปแบบของการรวมกลุ่มทางภูมิภาคมากขึ้นอันเป้นการสร้างความสัมพันธืเชิงกลยุทธนอกรัฐมากขึ้น
นอกเนหือจากความสำเร็จในกาขยายความสามารถทางเศรษฐกิจของรัฐต่างๆ ในเอเชียตะวันออกและความสามารถในการปรับตัวต่อการท้าทายใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นั้นผุ้วิจัยเห้ฯว่าในอนาคตน่าจะมีรัฐที่มีรูปแบบในการดำเนินนโยบายทางเศราฐกิจใหม่ๆ เกิดขึ้น ทั้งในกรอบของความสัมพันะ์นอกรัฐ และความสัมพันธ์ภายในรัฐ อันเป็นรูปแบบที่ทดแทนกระบวนการโลกาภิวัฒน์ที่เน้นความเสือ่มกำลังของรัฐซึ่งต้องทำการศึกษาวิจัยในเชิงลึกต่อไปในอนาคต...("เศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ : ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัฒน์การรวมกลุ่มทางภูมิภาคและรัฐ".อ.วิโรจน์ อาลี, งานวิจัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,2548.)
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จุดเริ่มจ้นของการจัดระเบียบเศรษฐกิจโลก ธนาคราระหว่าประเทศเพื่อการบูรณฟื้นฟูและพัฒนา หรือเรียกย่อว่า "ธนาคารโลก World Bank", กองทภนการเงินระหว่างประเทศ IMF, ข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการต้า GATT เป็นสามหน่วยงานระหว่างปผระเทศที่ประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกจและการเมืองคือ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และฝรั่งเศส ได้สร้้างขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เพื่อแก้ไขปัญหาและจัดระเบียบการจัดการระบบเศรษฐกิจของโลกใหม่ ปัญหาเศรษบกิจที่โลกต้องเผชิญหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงมี 3 ประการ ประการแรกเป็นปัญหาเรือ่งการเงินระหว่างประเทศ ให้ IMF เป้นหน่วยงานที่ดูแลทั้งนี้ได้จัดตั้งระบบการเงินที่เรียกว่า ระบบ Bretton Wods System ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเสถียรภาพของอัตราและเปลี่ยนปัญหาประการที่สอง เรื่องการกีอดันทางการค้าให้ GATT ดำเนินการจัดการเจรจาไปสู่การต้าเสรี และปัญหาเร่องสุดท้ายคือ การบูรณะและพัฒนาประเทศที่ได้รับความเสียหายจากสงครามโลก ให้ธนาคารโลก เป็นผู้ดูแล
ฉันทามติวอชิงตัน Washington Consensus รูปแบการแทรกแซงอธิปไตยทางเศรษฐกิจ การล่มสลายของระบบการเงิน Bretton Woods ในปี ค.ศ. 1971 และคามล่าช้าและขาดประสิทธิภาพของการเจรจาภายใต้ GATT นำไปสู่แนวคิดการปฏิรูปนโยบายเศรษฐกิจของโบกอีกครั้ง หรือที่เรียกว่า ฉันทามติวอชิงตัน ในปี 1989 เป้ฯนโยบายเศรษฐกิจที่ร่างโดยองค์กรระหว่างประเทศคือกองทุนการเงินระหว่าง
ประเทศ ธนาคารโลก และกระทรวงการคลังของสหรัฐอเมริกา เพื่อใช้เป็นข้อเสนอในการปฏิรูปเศรษบกิจของกลุ่มประเทศลาตินอเมริกาที่ประสบปัญหาเศรษฐกจและต้องขอความช่วยเหลือจาธนาคารโลกและกองทุนการเงินระหว่าปงระเทศ มีข้อสังเกตว่า ฉนทมติวอชิงตันนี้ก้าวล่วงเข้าไปในการกำหนนโยบายภายในประเทศของแต่ละประเทศ ซึ่งต่งจากที่ผ่านมาที่จำกัดเฉพาะนโบายเศรษฐกิจระหว่างปรเทศคือ เฉาพะทางด้านการเงินและการต้าระหว่างประเทศ ข้อเสนอการปรับนโยบายเศรษฐกิจภายในของแต่ละประเทศ ตามฉันทมติวอชิงตันมีองค์ประอบที่สำคัญ 3 ประการ คือ สร้างวินัยทางนดยบายเสณาฐกิจมหภาค ประการที่สองให้กลไกตลอดทำงาน ซึ่งนำไปสู่แนวนโยบายเรื่องการแปรรูปและการลดบทบาทของภาครัฐ และประการสุดท้ายเปิดตลาดให้เสรีให้ต่างชาติอย่างน้อยก็ทางด้านการต้าการลงทุน นโยบายที่นำเสนอนี้ ธนาคารโลกกองทุนการเงินระหว่งประเทศและองค์กรกระหว่างประเทศอื่น กระทรวงการคลังของสหรัฐอเมริกา รวมทังรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ต่างก็ใช้เป็นข้อเสนอแนะในการปฏิรูปนธยบายเศรษบกิจต่อประเทศสมาชิกที่ต้องการช่วยเลหือ ฉันทมติวอชิงตัน นำปไสู่ความขัดแย้งทางปรัชญาแนวคิดด้านเศรษฐศาสตร์มหภาคของสำนักต่างๆ และนไปสู่ข้อขัดแย้งในทางปฏิบัติ บางกลุ่มบางประเทศไม่เห็นด้ายกับฉันทมติวอชิงตัน เพราะเห็นว่าจะเป้นผลเสียต่อประเทศที่กำลังพัฒนา แต่จะเป้นประดยชน์ต่อประทเสที่พัฒนาและมีศักยภาพในการแข่งขันดีกว่า
สภาพความไม่สมดุลของโลก สมรภูมิในเอเชีย นโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจตามแยวทางฉันทมติวอชิงตันได้นำไปใช้ในประเทศลาตินอเมริกาในช่วงทศวรรษที่ 1990 รวมทั้งกลุ่มประเทศในยุโรปตะวันออกที่แยกตัวออกจากสหภาพโซเวียตและเปลียนรูปแบบการบริการจัดการประเทศโดยใช้ระบบตลาดแทนการวางแผนจากส่วนกลาง สำหรับในช่วงทศวรรษที่ 2000 นี้คาดว่าแนวนโยบายเสรษฐกิจตามแนวทางของฉันทมติวอชิงตันจะถูกนำมาบังคับใช้ในประเทศเอเวีย ดดยมีประเทศสหรับอเมริกาจะเป้ฯหัวหอกที่กดดันให้ประทเศในเอเซียดำเนินนโยบายเศรษฐกิจทั้งภายในประเทศและต่างประเทศจาที่สหรัฐต้องการมารกยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพราะเกิดสภาพที่เรียกว่า "ความไม่สมดุล"ระหว่งเศรษฐกิจของประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกิจของโลก ความไม่สมดุลด้านหนึ่งเกิดขึ้นในประเทศหรัฐอเมริกา อีด้านเหนึ่งเกิดขึ้นในประเทศอเซียที่สำคัญคือ ประเทศสาธารณรับประชาชนจีน และญี่ปุ่น ความไม่สมดุลนดังกล่าวนี้นิยมเรียกว่า "Global Imbalance"ทั้งนี้เนื่องจากทั้งประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน และปรเทศญี่ปุ่นต่างก็เป็นมหาอำนาจทางเศรษบกิจของโลก ภาวะเศรษบกิจของโลกจะูกกำหนดโดยภาวะเศรบกิจของประเทศเหล่านี้นในสภาวะที่ดลกขาดความสมดุลอาจนำไปสู่ "สึนามิ"ทางเสรษฐกิจ ถ้าไม่ได้รับการแก้ไข
การขาดสภาวะสมดุล หมายถึง กรณีทีประเทศสหรัฐมีการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดในระดับที่สุงและต่อเนื่อง ทำให้ประเทศสมีหนี้สูงมาก เพราะต้องกู้เงินมาใช้ในขณะที่ประทเศที่เกินดุลบัญชีเดินสะพัดและอยู่ในฐานะเจ้าหนี้ของสหรัฐอเมริกาคือประเทศในกลุ่มเอเชีย โดยมีประเทศญี่ปุ่นและประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนเป้นหลัก การขาดความสมดุลดังหล่าว แม้ที่ผ่านมาจะช่วยสร้างการเติบโตให้กับเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาและเศรษฐกิจ ของโลก แต้ถ้าหากไม่มีการปรับแก้ อาจนำไปสู่วิกฤตเศรษฐกิจอย่างรุนแรง เร่ิมจากากรขาดความเชื่อมันในเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งถือว่าเป้นเงินระหว่างประเทศ วิกฤตค่าเงินและนำไปสู่ภาวะการณ์ชะงักงันด้านการต้าและากรลงทุระหว่างปะเทศ ดังเช่นที่เยเกิดขึ้นในอดีตแต่จะรุนแรงกว่า
ประเทศสหรัฐขาดดุลการต้าและดุลบัญชีเดินสะพัดต่อเนื่องยาวนานถึง 20 ปี รวมทั้งมีขนาดเพิ่มมากขึ้นทำลายสถิติื โดยในปี 2002 ขาดดุลการต้าที่มูลค่า 420 พันฃ้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2003 และ 2004 ขาดดุลมีมูลค่าเพิ่มเป็น 5-6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ตามลำดับการขาดดุลดังกล่าว หมายถึงประเทศสหรัฐอเมริกามีการใช้จ่ายมากว่ารายได้ที่หาได้ ขนาดของการขอดดุลบัฐชีเดินสะพันและจำนวนหนี้ที่สะสมของประทเศสหรัฐอเมริกา ถ้าเป็นประเทศอื่นจะต้องเผชิญกับวิกฤตเศรษฐกิจอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่กรณีของสหรัฐอเมริกา มีแรงจูงใจให้มีเงินทุนไหลเข้ามาชดเชย ดยดที่สหรัฐไม่ต้องขึ้นดอกเบี้ยหรือปรับเพียงเล็กน้อย รวมทั้งรัฐบาลของกลุามประเทศเอเชีย เช่น จีนและญีปุ่น ก็เต็มใจที่จะซื้อตราสารหนี้ของอเมริกา แม้จะได้ผลตอบแทนต่ำ แต่ผลประดยชน์อีกด้านหึ่งคือช่วยพยุงค่าเงินของตนเองไม่ให้แข็งค่าเมืองเที่ยบกับดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นกลยุทธ์ทสนับสนุนนโยบายการสร้างการเติบโตของแลุ่มประทเสเอเชียที่เน้นภาคส่งออกเป็นตัวนำ
ความสัมพันธ์ภายใต้สภาพความไม่สมดุลตามที่กล่าวมา ทั้งสองกลุ่มได้ผลประโยชน์ร่วมกัน คือทั้งสองฝ่ายต่างก็เติบโตดัวยกันและต่างก็พึ่งพาซึ่งกัน เอเชียพึงพาสหรัฐในฐานะเป็ฯตลาดใหญ่ สหรัฐพึ่งพาเอเชียในฐานะที่ให้กู้ยืมรายไใย๋ การพึ่งพาดังกล่วดำเนิมาจนถึงจุดที่หลายฝ่ายเริ่มตั้งคำถามว่า การกู้ยืมนำเงินมาชดเชยกับการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดของสหรัฐอเมริกาจะเป็นอยู่อย่างนี้ตลอดไปได้หรือไม่ หรือประเทศต่างๆ จะเต็ใจที่จะถือครองหลักทรัพย์ของอเมริกาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ อย่างไม่มีพเพดามกำหนดหรอืไม่คำตอบคือสภานการณ์ทั้งสองแบบน้ไม่สมารถดำเนินต่อไปอย่างไม่มีข้อจำกัด ทั้งนี้เพราะความเชื่อมันในประเทศสหรัฐอเมริกาและความเชื่อมั่นในเงินดอลลาร์สหรัฐจะเสื่อมถอย อันจะนำไปสู่วิกฤตการเงินระหว่างประเทศอีกครั้ง...
กลยุทธ์การปรับตัวของกลุ่มประเทศอาเซียน การกดดันทางด้านการเมืองและศรษบกิจของประเทศสหรัฐต่อประเทศอื่นทั้ที่ทำโดยตรงและผ่านองค์กรระหว่างประเทศเหล่านั้นมักเป้ฯลูกหนี่ของสถาบันการเงินระหว่างประเทศและเป็นประเทศที่สหรัฐอเมริกาให้ความช่วยเลหือ แต่ในกรรณีประเทศจีนและญี่ปุ่นซึ่งมีสถานะเปรียบเหมือนเจ้าหนี้ของประเทศสหรัฐ ถ้าประสบผลสำเร็จจะเป็นตัวอย่างที่ประเทศสหรัฐจะนไมาใช้กับประเทศอื่นๆ ในเอเชีย ตัวอย่างเช่น กระทรวงการคบลังของประทเศสหรัฐอเมริกาได้ทำรายงานที่ออกทุกครึ่งปี เพื่อประเมินอัตราและเปลี่ยนของประเทศคู่ค้าหลักของสหรัฐฯ ว่ายตุธรรมหรือไม่" ดังนั้น การต่อสู่กันในเวทีเศรษฐกิจระหว่างประเทศเคลื่อนตัวมาสู่ทวีปเอเซียและจะทวีความเข้มข้นมากขึ้น ประเทศในเอเชียจะต้องดำเนินนธยบายเศรษบกิจระหว่างประเทศทั้งทางด้านการต้าและการงินร่วมกันเพื่อเพิ่มอำนาจการต่อรองทางทั้งทางด้านเศรษฐกิจและการเมือง
นโยบายด้านการต้า ควรต้องขยายความร่วมมือใน 2 ระดับ ระดับแรกขยายเขตเสรีการค้า ให้กว้างขึ้นทั้งนี้เพื่อขยายการค้าภายในกลุ่มให้มากขึ้น ช่วยลดการพึ่งพาตลาดสหรัฐอเมริกาและยุโรป ระดับที่สอง ปัจจุบันการรวมตัวทางการต้าของกลุ่มปรเทศเอเชียจะอยูในรูป FTA เท่านั้น จัดเป็นระดับการรวมตัวทางการต้าที่ง่ายที่สุดแต่มีข้ออ้อยมาก จึงควรพัฒนาไปสู่รูปแบบที่เรียกว่า ตลาดร่วม
นโยบายการเงิน ในระยะสั้น นอกจากมาตรการร่วมมือกันระหว่างธนาคารชาติของประเทศในเอเชียในการกู้ยืมเงินสกุลหลักระหว่ากันหรือที่เรียกว่า "currency swap"และการจัดตั้งตลดพันธบัติเอเลีย ควรเร่งดำเนินการจัดตั้งกองทุนการเงินของเอเชีย เพื่อเป็ฯองคกการเงินในกลุ่มประเทศเอเชีย มีบ่บาทหน้าที่เหมือน IMF สำหรับระยะยาว ควรพัฒนาความร่วมมือทาเศรษฐกิจในรูปแบบที่เรียกว่า สหภาพเศรษฐกิจเอเชีย ในลักษณะเดียวกันพับที่ประเทศในกลุ่มยุโรปจัดตั้ง สหภาพเศรษฐฏิจยุโรป การรวมตัวแบบสหภพเศรษบกิจจะนำไปสู่ความร่วมมือทางนโยบายเศรษกิจด้านการิงนและากรคลังและนำไปสู่การใช้เงินร่วมกัน..(บทความ,"เศรษฐศาสตร์การเมืองระหว่างประเทศ: กลยุทธ์การปรับตัวของประเทศกลุ่มอาเซียน, ถวิล นิลใบ.)
...งานวิจัยชิ้นนี้ได้โต้เถียงกับข้อเสนอของทฤษฎีโลกาภิวัตน์ที่ว่ารัฐมัยใหม่นั้นกำลังมีสภาวะ "ไร้อำนาจ" โดยเฉพาะในการควบคุมระบบเศรษฐกิจของตนเอง โดยงานวิจัยได้ข้อสรุปจากากรศักษาวิจัยทั้งหมด 3 ประการคือ
ประการที่หนึ่ง ระบบเศรษฐกิจของโลกในปัจจุบันนั้นมีลักษณะเป้ฯเสณาฐกิจระหว่งประเทศ กล่าวคือเป็นเวทีที่รัฐต่างพยายามหาผลประโยชน์ แข่งขันกัน โดยรัฐต่างๆ ใช้อำนาจและความสามารถภายในการขยายตัวในตลาดโลก แต่ไม่ใช่ระบบเศรฐกิจโลกาภิวัฒนน์ ที่เกิดตัวละครที่เป้ฯอิสระและมีลักษณธข้ามชาติ ที่สามารถกดดันให้รัฐเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐฏิจภายในของตน และในขณะเดี่ยวกันรัฐไม่สามารถเข้าควบคุมกิจกรรมใดๆ ของตนทางเศณาฐกิจเลยนั้น เป้นการกล่าวอ้างที่เกินจริงแม้ว่าในภาคการเงินระหว่างประเทศจะมีสภาพข้ามชาติบ้างแต่ไม่ใช่ทุกมิติ ส่วนในภาคการผลิต การต้าและมายาคติเรื่องบรรษัทข้ามชาตินั้น ไม่ได้มีพลังอย่างที่กล่าวอ้างไว้
ประการที่สอง ข้อเสนอที่ว่ารัฐต่างๆ ต้องเลือกเอานโยบายทางเสณาฐกิจในกรอบเสรีนิยมสมัยใหม่มาปฏิบัติ เพื่อให้สอดประสานกับพลังของโลกาภิวัฒน์นั้นก็เป็นข้อกล่าวอ้างที่ไม่สมเหตุสมผลเช่นเดี่ยวักัน เพราะโลกาภิวัฒน์นั้นอาจจะเป็นข้ออ้างทางการเมืองเพื่อสร้างผลประดยชน์แก่รัฐที่กำลังขาดความได้เปรีียบในตลาดโลกเนื่องจากการแข่งขัน ยิ่งไปกว่านั้นจาการศึกษาพบว่า รัฐนั้นมีความหลากหลายทางโครงสร้างแลที่สำคัญที่ความสามารรถในการปรับตัว ซึ่งมีลักษณะเป้นรัฐปฏิกิริยา ดังในกรณีของประเทศในเอเชียตะวันออกเชอย่างเช่น ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ไต้หวัน และสิงค์ปร์เป้นต้น หรือแม้กระทั่วประเทศในยุโรปเองเช่นเยอรมันนี ก็ไม่ได้ดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจเสรี นิยมสมัยใหม่เพื่อยังคงความได้เปรียบท่ามกลางกระแสโลกาภิวัฒน์ทั้งนี้จะเห้นได้ว่ารัฐที่เป็นรัฐแข็งจะมีความสามารถเชิงโครงสร้างและสถาบันทางเศรษฐกิจที่สามารถประสานประยชน์และควบคุมคามสัมัพนธืระหว่างรัฐกับธุรกิจและในขณะเดี่ยวกันก็มีความสามารถในการใช้กลำกของการวางแผนและการร่วมมือในระดับภูมิภาคเพื่อขยายผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
ประกาศสุดท้าย ความสามารถของรัฐนั้นแตกต่างกัน เพราะฉะนั้นความสามารถในการหาผลประโยชน์ในโอกาสที่โครงสร้างของเศรษฐกิจโลกเปลี่ยนแปลงไปนั้นไม่เท่ากัน โดยรัฐแข็งนั้นสามารถเป็นผุ้ได้เปรียบากว่ากรัฐอ่อน ทั้งนี้รูปแบบของการปกป้องผลประโยชน์ก็มีลักาณะเป็นการสรางความร่วมมือในรูปแบบของการรวมกลุ่มทางภูมิภาคมากขึ้นอันเป้นการสร้างความสัมพันธืเชิงกลยุทธนอกรัฐมากขึ้น
นอกเนหือจากความสำเร็จในกาขยายความสามารถทางเศรษฐกิจของรัฐต่างๆ ในเอเชียตะวันออกและความสามารถในการปรับตัวต่อการท้าทายใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นั้นผุ้วิจัยเห้ฯว่าในอนาคตน่าจะมีรัฐที่มีรูปแบบในการดำเนินนโยบายทางเศราฐกิจใหม่ๆ เกิดขึ้น ทั้งในกรอบของความสัมพันะ์นอกรัฐ และความสัมพันธ์ภายในรัฐ อันเป็นรูปแบบที่ทดแทนกระบวนการโลกาภิวัฒน์ที่เน้นความเสือ่มกำลังของรัฐซึ่งต้องทำการศึกษาวิจัยในเชิงลึกต่อไปในอนาคต...("เศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ : ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัฒน์การรวมกลุ่มทางภูมิภาคและรัฐ".อ.วิโรจน์ อาลี, งานวิจัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,2548.)
วันอาทิตย์ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2560
Intergration Theory
แนวคิดทฤษฎีการรวมกลุ่ม ได้ปรากฎขึ้นครั้งแรกในทวีปยุโรปในช่วงศตวรรษที่ 14-16 โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อต้องการรวมยุโรปตะวันตกเข้าไว้ด้วยกัน ซึ่งการรวมตัวดังกล่าวจะมีลักษณะของการผสมผสานกันทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ดยมีเป้าหมายในระยะแรกที่จะรวมให้ยุโรปตะวันตกเป้นองค์กรทางการเมือง และในขณะเดียวกันก็ต้องการจะสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนที่อยู่ในแต่ละประเทศให้มีความแน่นแฟ้นมากขึ้นด้วย กต่ในความเป้นจริงแนวคิดดังกล่าวไม่สามารถเกิดขึ้นได้ในทางปฏิบัติ เพราะในช่วงเวลาดังกล่าวยุโรปตะวันตกมีประเทศมหาอำนาจอยู่หลายประเทศ ซึ่งต่างฝ่ายต่างก็ต้องการมีอำนาจเหนือประเทศอื่นๆ ด้วยกันทัเ้งนั้น
ต่อมาแนวคิดการรวมกลุ่มได้เริ่มปรากฎขึ้นอีกครัี้งนกึค่งเมือสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้สิ้นสุดลงพร้อมกับความเสียหายทางด้านเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นไปทั่วทุกภูมิภาคทำให้ประเทศต่างๆ ต้องการที่จะฟื้นฟูประเทศให้มีความมั่นคงขึ้นอีกครั้งประกอบกับกัารที่แต่ละประเทศมีอำนาจอธิปำตรทีเป้นตัวของตัวเงอ อีกทั้งยังมีแนวคิดแบบชาตินิยมทำใป้ประเทศต่างๆ เหล่านี้จึงได้ขยายความร่วมือและสร้างความสัมพันธ์ต่อกันอย่างกวเ้างขชวางทั้งทางด้านการเมือง เศราฐกิจ และสังคม ด้วยการกระชับความ่วมมือต่อกันทั้งใรระดับทวิภาคและพหุภาคี และได้นำไปสู่การรวมตัวเป็นกลุ่มองค์กรระหว่างประเทศในสฃที่สุด
ปรากฎการณ์ดังกล่าวนี้เองได้ทำให้นักวิชากรทางด้านการวมกลุ่มเป้นจำนวนมากได้ไันมาสนใจศึกษา โดยในชั้นต้นนี้นักวิชาการได้แบ่งแนวความคิดการรวมกลุ่มออกเป็น 2 กลุ่ม โดยนักวิชาการกลุ่มแรกเชือ่ว่ ความก้าวหน้าทางด้านวิยาศาสตร์และเทคโนโลยีจะทำให้การติดต่อสื่อสารข้ามชาติกระทำได้โดยสะดวก แต่ในขณะเดียวกันก็จะทำให้โลกประสบกับเคราะหืกรรมที่เกี่ยวกับภัยของสงรามเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งการที่สภาวะทางด้านเศรษฐกิจของโลกที่แนวโน้มที่จะตกต่ภลงได้ส่งผลกระทบต่อมาตรฐานการครองชีพและคุณภาพชีวิตของประชกรโลกอย่งกวางขวาง ซึ่งปัญหาดังกล่าวนี้เองเป็นปัญหาร่วมกันของทุกประเทศในโลกที่จะต้องประสบ ดังนั้นจึงมีความจำเป้ฯที่แต่ละประเทศจะต้องให้ความร่วมือและช่วยเลหือซึ่งกันและกัน เพราะโดยลำพังของรัฐบาลชาติคงไม่สามารถแก้ไขปัญหาที่มีความสลับซับซ้อนเหล่านี้ลงได้ ทำให้บทบทแลอำนาจอธิปไตยของรัฐบาลชาติจึงเร่ิมลดลงเรื่อยๆ ในขณะเดี่ยวกันบทบาทและอำนาจขององค์กรระหว่างประเทศก็จะเพิ่มสูงข้นตามลำดับ
ในขณะที่นักวิชาการอีกกลุ่มหนึ่งมีความเห็ว่า การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมในปัจจุบนไม่มีความสอดคล้องกบระบบการเมืองที่แข่งขันกันแสวงหาอำนาจ เพราะว่าแต่ละประเทศต่างก็มีพัฒนาการทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งยังให้ความสำคัญกับนโยบายทางด้านการต่างประทเศ ทำให้แต่ละประเทศจะต้องมีการติดต่อสัมพันะ์กันระหว่างประเทศเพิ่มมากขึ้นซึ่งปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ได้ส่งผลให้รฐบาลของแต่ละประเทศต้องมีกาตติดต่อสัมพันธ์ดันเพ่ิมมาากข้นเพื่อให้ได้มาซึ้งผลประดยชน์แห่งชาติของตนเป็นสำคัญ แม้ว่าจะต้องแลกมาด้วยการลดลงของอำนาจอธิไตยของประเทศตนก็ตาม
ในขณะเดี่ยวกันนักวิชาการของประเทศสหรัฐอเมริกาก็ได้ให้ความสนใจในการศึกษาเรื่องการรวมตัวระหว่างประเทศด้วยเช่น โดยเฉพาะในช่วงที่การศึกษาประเทศสหรัฐอเมริกาได้ก้าวเข้าสู่ยุคพฤติกรรมศาสตร์ ด้วยการสร้างอิทธิพลให้กับการศึกษาทางด้านรัฐศาสตร์อย่างมีเหตุผลและเป็นวิทยาศาสตร์ แต่อย่างไรก็ตามก็ยังไม่สามารถหาข้อยุติได้ซึ่งจากการศึกษาของนักวิชาการในอดคตที่ผ่านมาพบ่า การรวมตัวกันของรัฐต่างๆ นั้นสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ลักษณะ โดยลักษณะแรก ได้แก่ การใช้อำนาจบังคับหรือการข่มขู่ด้วยกำลัง และลักษณะที่อง ได้แก่ การเห็นพ้องต้องกันในเรื่องของกระบวนการรวมตัวและโครงสร้างของสถาบันการเมืองมีการพั่งพาอาศัยกัน ทำให้รัฐสามารถรวมตัวเข้าเป้ฯอันหนึ่งอันเดียวกันและเป็นกรณีที่ทำการศึกษาใเวลาต่อมาด้วย
ซึ่งจากการศึกษางานด้านการรวมตัวกันระหว่งประเทศของนักวิชากรด้านการรวมกลุ่มที่ผ่านมา ทำให้สรุปแนวทางการรวมกลุ่มได้ 3 ระบบ 4 ทฤษฎี ดังนี้..
ระบบความร่วมมือ Cooperation System เป็นการรวมกลุ่มขององค์กรระหว่างประเทศหรือองค์กรของเอกชนระหว่างประเทศก็ได้ โดยจะเป็นความสัมพันธ์ในรูปแบบของรัฐต่อตัฐหรือองค์กรต่อองค์กร ถ้าเป็นในระดับของรัฐบาลก็จะประกอบด้วยตัวแทของรัฐบาลในแตละประเทศที่มารวมตัวกัน ถ้าหากเป็นองค์กรของเอกชนก็จะประกอบด้วยตัวแทนขององค์กรเอกชนในแต่ละประเทศที่เข้ามารวมตัวกัน แารรวมกลุ่มในระดับนี้สมาชิกจะมีความสำนึกในผลประโยชน์ร่วมกันของกลุ่ม โดยสมาชิกจะไม่มีการมอบอำนาจอธิปไตยของตนให้กับองค์กรส่วนกลาง แต่สมาชิกจะมีอำนาจอธิปไตยเป็นของตัวเอง มติที่ละคะแนนเสียงจะใช้มติเอกฉันท์ ประเทศใดจะรับไปปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัตก็ได้ ทำให้เสียงส่วนใหญ่จึมไผุกมัดประเทศสมาชิก ซึ่งในชั้นนี้จะเป้ฯการรวมตัวทางด้านนโยบายการต่างประเทศและนโยบายทางกาทหารซึ่งสามารถใช้ได้กับกรณีของอาเซียน
ระบบประชาคม Community System เป็นการรวมกลุ่มที่ประเทศสมาชิกจะมีการมอบอำนาจอธิปไตยส่วนหนึ่งให้แก่องค์กรกลาง หรือองค์กรที่มีอำนาจเหนือชาติ โดยองค์กรดังกล่าวจะมีหน้าที่ในาการควบคุมนโยบายด้านต่าๆง ตลดอจนดูแลในเรื่องผลประโยชน์ของประเทศสมาชิก โดยอธิปไำตยองประเทศสมาชิกจะมีการแบ่งกันอย่างชัดเจน การลงคะแนนเสียงจะใช้คะแนนเสียงส่วนใหญ่ของประเทศสมาชิกเป็นหลัก ประเทศที่ไม่เห็นด้วยจำเป็นต้องปฏิบัติตามด้วยระบบนี้สามารถใช้ได้กับกรณีของการรวมกลุ่มประเทศในยุโรป ซึ่งจะมีคณะกรรมาธิการรัฐสภายุโรปและคณะมนตรีเป็ฯองค์กรเหนือชาติที่คอยควบคุมอูแลองค์กรอยุ่
ระบบสหพันธรัฐ Federal System เป็นการรวมกลุ่มที่สมชิกแต่ละประเทศจะมอบอำนาจอธิปไตยทั้งหมด ไม่ว่าจะเป้ฯทางด้านการเมือง เศรษฐกิจและสสังคมให้แก่รัฐบาลกลาง โดยรัฐบาลกลางจะมีหน้าที่คอยควบคุมดูแลผลประโยชน์ของรัฐทุกรัฐอย่างเท่าเทียมกัน อำนาจของแต่ละรัฐจึงมีเท่าที่รัฐบาลกลางมอบให้ โดยแต่ละรัฐจะไม่มีตัวแทนของตัวเองแต่จะมีตัวแทนของประชาชนทั้งหมดคอยดูแลผละประโยชน์รัฐจะไม่มีตัวแทนของตัวเองแต่จะมีตัวแทนของประชาชนทั้งหมดคอยอูแลผลประดยชน์ร่วมกัน การลงมติต่างๆ จะใช้คะแนนเสียงส่วนใหญ่เป็นเกณฑ์ ระบบนี้สามารถใช้ได้กับกรณีของประเทศสหรัฐอเมริกา
ทฤษฎีการรวมกลุ่ม แบ่งได้ 4 ทฤษฎี คือ
ทฤษฎีสหพันธ์นิยม Federalism Theory เป็นแนวคิดการรวมกลุ่มของรัฐทางกฎหมายอยางเป็นทางการ ดดยเป็นการรวมกลุ่มทางการเมืองของรั้ฐตั้งแต่ 2 รัฐขึ้นไปด้วยมาตรการทางรัฐธรรมนูญและรูแบบทางการเมืองที่เหมาะสม เนื่องจากมีความเชื่อว่า การรวมตัวกันน่าจะเกิดขึ้นได้ในระดับนานาชาติ ซึ่งเมือแต่ละรัฐยอมสละอำนาจอธิปไตยของตนบางส่วนให้แก่องค์กรกลางแล้ว องค์กรดังกล่าวก็จะมีหน้าที่ในการรักษาผลประโยชน์ร่วมกันของทุกรัฐ โดยทำหน้าที่ทางด้านการต่างประเทศ การเงิน การคลัง การป้องกันประเทศและด้านอื่นๆ โดยประเทศที่เกิดการรวมกลุ่มดังกล่าวประชากรจะมีลัษณะบางอย่างที่คล้ายคลึงกัน อาทิ เช่น ภาษา วัฒนธรรม หรือการอุยูใกล้ชิดกันทางภุมิศาสตร์ ซึ่งเมื่อกิดการรวมกลุ่มกันอย่างเป็นทางการแล้วหลังจากนั้นประชารในแต่ละประเทศก็จะเกิดการปรับตัวเข้าหากันได้ต่อไป
ทฤษฎสัมพันธ์นิยม Transactionalism Theory เป็ฯแนวคิดที่ไม่ถือกรอบทางด้านกฎหมายและถาบันเป็นเรื่องสำคัญ แต่เน้นที่สภาพของการส่งเสริมและรักษาไว้ซึ่งความสำนึกในการเป็นชุมชนแห่งประชาคมเดี่ยวกัน เพื่อสร้างประชาคมให้มีความมั่นคง โดยประชาคมจะประกอบไปด้วยสถาบันต่างๆ ท้งที่เป้ฯทางการและไม่เป็นทางการ อีกทั้งสมาชิกภายในประชคมจะต้องมีกาตติดต่อสื่อสารและสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน มีประเพณีที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาหรือมีประเพณีที่ทางการได้กำหนดขึ้นโดยประเพณีต่างๆ เหล่านี้จะต้องมีความแข็งแรงและครอบคลุมขอบเขตอย่างกว้างขวางเพื่อให้สามารถควบุคุมการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นภายในกลุ่มสมาชิกได้อย่างสันติ และมีลักษระที่แน่นอนในช่วงเวลาที่นานพอควร
ทฤษฎีภารกิจนิยม Functionalism Theory เป็นแนวคิดที่เกิดขึ้นเนื่องจากการรวมกลุ่มแบบทฟษฎีสหพันธ์นิยมไม่สามารถจัดการกับปัญหาความแตกต่างของแต่ละรัฐลงได้ ดังนั้นเืพ่อต้องการแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงเกิดทฤษฎีภารกิจนิยมขึ้น โดยตั้งอยุ่บนสมมุติฐานที่ว่า ปัญหาต่างๆ ที่นานาชาติกำลังประสบอยู่ในปัจจุบนเป็นเรื่องทางด้านเทคนิคที่มีความสลับซับซ้อนเกิดความสามารถของรัฐบาลหรือนัการเมืองในระดับชาติที่จะแก้ไขได้โดยลำพัง ดังนั้นจึงมีความจำเป้ฯที่จะต้องมอบภาระกิจเหล่านี้ให้อยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของผุ้ชำนาญการเฉพาะเรื่อง ด้วยการรวมตัวกันอย่างหลวมๆ ดังนั้นการดำเนินการข้ามขอบเขตของรัฐ โดยรัฐยินยิมเสียสลุอธปไตยของตนด้วยการมอบอำนาจทางการบริหารบางเรื่องซึ่งเป็เนรื่องที่มีวัตถุประสงค์เฉาะที่ไม่ใช่เร่องทางด้านการเมืองให้แก่องค์กรกลางเฉพาะด้านแล้ว องค์กรกลางเฉพาะด้านเหล่านี้ก็จะสามารถแก้ไปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป ซึ่งจะมีผลทำให้หน่วยทางการเมืองของรัฐโน้มเอียงเข้าหากันเพิ่มมากขึ้น ทำให้พรมแดนของรัฐค่อยๆ ลดความสำคัญลง และจะนำไปสู่สภาวะเอ่อล้น ซึ่งจะทำให้เกิดความร่วมมือในสาขาอื่นๆ ตามมา
ทฤษฎีภารกิจนิยมใหม่ Neo-function Theory เป็นแนวคิดที่พัฒนาขึ้นมาจากทฤษฎีภารกิจนิยมเ นือ่งจาเชื่อว่าการรวมตัวกันเพื่อการแก้ปัญหาทางด้านเทคนิคเฉพาะด้านนั้นมีแนวโน้มทีจะขยายตัวออำปสู่สภาวะเอ่อล้น ซึ่งจะทำให้เกิดความร่วมมือในสาขาอื่นๆ ตามมา ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่จะต้องจัดตั้เงสภาบันกลางที่มีอำนาจเหนือรัฐ ขึ้นเพื่อทำหน้าที่ผลักดัน ส่งเสริม และเสนอทิศทางใหม่ๆ เืพ่อให้ความร่วมมือดังกล่าวดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเมื่อองค์กรปฏิบัติหน้าที่ในการส่งเสริมความร่วมมือทางด้านเศรฐกิจและสังคมมากขึ้น องค์กรเหล่านี้ก็จะพัฒนาและกลายเป็นองค์กรที่มีอำนาจทางการเมืองในที่สุด
สมาคมประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ อาเซียน ได้ก่อกำหเนิดเมื่อ 8 สิงหาคม ค.ศ. 1967 พัฒนาการความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจของอาเซียนตลอดระยะเวลา 3 ทศวรรษที่ผ่านมาพบว่า ในทศวรรษแรกความร่วมือทางด้านเศรษกิจของอาิซียนนั้นมีค่อยข้องน้อย เพราะในช่วงเวลาดังกล่าวอาเซียนได้ให้ความสำคัญไปในเรื่องของสันติภาพและความมั่นคงในภูมิภาคเป็นหลัก ซึ่งความร่วมมือดังกล่าวได้ทำให้ประเทศสมาชิกอาเซียนในขณะนั้น 5 ประเทศมีความเข้าใจและเห็นใจซึ่งกันและกันมีการรเียนรู้และพยายามปรับตัวเข้าหากัน ประกอบกับการที่ประเทศต่างๆ ในภูมิภาคแห่งนี้ยังมีความล้าหลังและยังขาดการพัฒนาในด้านต่างๆ เป็นจำนวนมาก ดังนั้นการสร้างพื้นฐานทางด้านเศรษบกิจในสาขชาเศราฐกิจที่ำสคัญต่างๆ จึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่จะต้องดำเนินการควบคู่ไปกับการสร้างความมัี่นคงทางด้านการเมืองภายในภุมิภาคใหกลับคืนมา
ต่อมาในทศวรรษที่ 2 อาเซียนจึงได้เริ่มมีความร่วมมือทางด้านเศรษบกิจในลักาณะของการพึ่งพากันระหว่างประเทศสมาชิกเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเป็นไปตามปฏิญญาสมานฉันท์แห่งอาเซียน ที่กำหนดให้มีความร่วมมือทางด้านเศรษบกิจเพื่อการพัฒนาทางอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการพัฒนอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ภายในอาเวียนการให้มความตกลงเรื่องสิทธิพิเศษทางด้านการต้าเพ่อส่งเนิามการค้าภายในภูมิภาค การให้มีความร่วมมือในการเข้าสุ่ตลาดภายนอกอาเซียน และการให้มีความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาสินค้าโภคภัณฑ์ระหว่างประเทศ ซึ่งใรเวลาต่อมาได้นำไปสู่การริเริ่มโครงการที่ครอบคลุมสาขาทางด้านเศรษบกิจต่าๆง โดยโครงการเพื่อการส่งเสริมการค้าภายในภูมิภาค การให้มีความร่วมมือในกาเข้าสู่ตลาดภายนอกอาเซียน และการให้มีความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาสินค้าโภคภัฒฑ์ระหว่างประเทศ ซึ่งในเวลาต่อมาได้นำไปสู่การริเริ่ม โครงการที่ครองคลุมาขาทางด้านเศรษฐกิจต่างๆ โดยโครงการเพื่อการส่งเสริมการค้าภายในภุมิภาคได้แก่ โครงการให้สิทธิพิเศษทางการค้าระหว่างกัน โครงการเืพ่อการพัฒนาทางด้านอุตาสาหกรรมได้แก่ โครงการอุตสาหกรรมอาเซียน ซึ่งเป็นโครงการที่เน้นการพัฒนาประสิทธิภาพในการผลิตของภุมิภาค ตามมาด้วยโครงการแบ่งผลิตทงอุตสาหกรรมอเาซีย และโครงการร่วมลงทุนทางอุตสาหกรรมอาเซียน ซึ่งโครงการทั้ง 4 โครงการที่อเาซียนได้ริเริ่มและดำเนินการในช่วงทศวรรษที่สองที่ผ่านมานั้น อาเซียนได้บรรลุวัตถุประสค์ร่วมในการพัฒนาเพื่อสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางด้านเศรษฐกิจของอาเซียนให้เกิดขึ้น โยอาศัยข้อได้เปรียบต่างๆ ของอาเซียนที่มีอยุ่แล้ว ในขณะที่ความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจกับประเทศนอกอาเซียนนั้นจะมีความสัมพันธ์ในสภระแบบผุ้ให็-ผู้รับ
ในทศวรรษที่ 3 อาเซียนไดพ้ยายามสานต่อแนวทางการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจที่ได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องมาจากทศวรรษที่ผ่านมา โดยเน้นในเรื่องของการบรรลุผลทางด้านเศรษบกิจในสาขาต่างๆ ให้เพ่ิมมากขึ้น ด้วยการเปิดเสรีทางด้านการค้าในระดับภูมิภาค เพือเพิ่มศักยภาพทางด้านเศรษบกิจให้มีอำนาจต่อรองที่ทัดเทียมกับประเทศที่มีความก้าวหน้าทางด้านเศรษบกิจด้วยความสัมพันธ์แบบพึงพาอาศัยกันแทนที่สภานะแบบผุ้ให้-ผู้รับ ในอดีต โดยอาเซียนจะนำเอาบทเรียนต่างๆ ที่เกิดขึ้นจาการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจในช่วงเวลาที่ผ่ามาเป้นบทเรียนและเป็นพื้นฐานสำคัญเพื่อนำมาปฏิบัติ ปรัฐปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาสาขาความร่วมมือทางด้านเศรษบกิจของประเทศสมาชิกให้มีศักยภาพทางด้านเศรษบกิจที่เพ่ิมสูงขึ้น ด้วยการให้ประเทศสมาชิกอาเซียนมีการพึ่งพากันเพิ่มมากขึ้นควบคู่ไปกับการเปิดประเศตนเองสู่โลกภายนอก เพื่อให้อาเซียนสามารถขยายตลาดและมีช่องทางในการติดต่อกันทางด้านเศรษฐกิจการต้าที่มีความกว้างขวางเพิ่มขึ้นอีกทั้งยังมี่วนทำให้มีอำนาจในการต่อรองที่ทัดเที่ยมกับประเทศต่างๆ ทั่วโลก ด้วยการมีความสัมัพนธ์แบบพึงพาอาศัยกันกับประเทศที่มีความเจริญก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจที่มากกว่าโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับประเทศที่พัฒนาแล้ว
- "เขตการต้าเสรีอาเซียนสู่มิติอาเซียน 2020: ลู่ทางและปัญหา", ภัทรพล ภูมิพย์, วิทยานิพนธ์ ศิบปศาสตร์มหาบัณฑิต(รัฐศาสตร์), มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2547.
ต่อมาแนวคิดการรวมกลุ่มได้เริ่มปรากฎขึ้นอีกครัี้งนกึค่งเมือสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้สิ้นสุดลงพร้อมกับความเสียหายทางด้านเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นไปทั่วทุกภูมิภาคทำให้ประเทศต่างๆ ต้องการที่จะฟื้นฟูประเทศให้มีความมั่นคงขึ้นอีกครั้งประกอบกับกัารที่แต่ละประเทศมีอำนาจอธิปำตรทีเป้นตัวของตัวเงอ อีกทั้งยังมีแนวคิดแบบชาตินิยมทำใป้ประเทศต่างๆ เหล่านี้จึงได้ขยายความร่วมือและสร้างความสัมพันธ์ต่อกันอย่างกวเ้างขชวางทั้งทางด้านการเมือง เศราฐกิจ และสังคม ด้วยการกระชับความ่วมมือต่อกันทั้งใรระดับทวิภาคและพหุภาคี และได้นำไปสู่การรวมตัวเป็นกลุ่มองค์กรระหว่างประเทศในสฃที่สุด
ปรากฎการณ์ดังกล่าวนี้เองได้ทำให้นักวิชากรทางด้านการวมกลุ่มเป้นจำนวนมากได้ไันมาสนใจศึกษา โดยในชั้นต้นนี้นักวิชาการได้แบ่งแนวความคิดการรวมกลุ่มออกเป็น 2 กลุ่ม โดยนักวิชาการกลุ่มแรกเชือ่ว่ ความก้าวหน้าทางด้านวิยาศาสตร์และเทคโนโลยีจะทำให้การติดต่อสื่อสารข้ามชาติกระทำได้โดยสะดวก แต่ในขณะเดียวกันก็จะทำให้โลกประสบกับเคราะหืกรรมที่เกี่ยวกับภัยของสงรามเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งการที่สภาวะทางด้านเศรษฐกิจของโลกที่แนวโน้มที่จะตกต่ภลงได้ส่งผลกระทบต่อมาตรฐานการครองชีพและคุณภาพชีวิตของประชกรโลกอย่งกวางขวาง ซึ่งปัญหาดังกล่าวนี้เองเป็นปัญหาร่วมกันของทุกประเทศในโลกที่จะต้องประสบ ดังนั้นจึงมีความจำเป้ฯที่แต่ละประเทศจะต้องให้ความร่วมือและช่วยเลหือซึ่งกันและกัน เพราะโดยลำพังของรัฐบาลชาติคงไม่สามารถแก้ไขปัญหาที่มีความสลับซับซ้อนเหล่านี้ลงได้ ทำให้บทบทแลอำนาจอธิปไตยของรัฐบาลชาติจึงเร่ิมลดลงเรื่อยๆ ในขณะเดี่ยวกันบทบาทและอำนาจขององค์กรระหว่างประเทศก็จะเพิ่มสูงข้นตามลำดับ
ในขณะที่นักวิชาการอีกกลุ่มหนึ่งมีความเห็ว่า การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมในปัจจุบนไม่มีความสอดคล้องกบระบบการเมืองที่แข่งขันกันแสวงหาอำนาจ เพราะว่าแต่ละประเทศต่างก็มีพัฒนาการทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งยังให้ความสำคัญกับนโยบายทางด้านการต่างประทเศ ทำให้แต่ละประเทศจะต้องมีการติดต่อสัมพันะ์กันระหว่างประเทศเพิ่มมากขึ้นซึ่งปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ได้ส่งผลให้รฐบาลของแต่ละประเทศต้องมีกาตติดต่อสัมพันธ์ดันเพ่ิมมาากข้นเพื่อให้ได้มาซึ้งผลประดยชน์แห่งชาติของตนเป็นสำคัญ แม้ว่าจะต้องแลกมาด้วยการลดลงของอำนาจอธิไตยของประเทศตนก็ตาม
ในขณะเดี่ยวกันนักวิชาการของประเทศสหรัฐอเมริกาก็ได้ให้ความสนใจในการศึกษาเรื่องการรวมตัวระหว่างประเทศด้วยเช่น โดยเฉพาะในช่วงที่การศึกษาประเทศสหรัฐอเมริกาได้ก้าวเข้าสู่ยุคพฤติกรรมศาสตร์ ด้วยการสร้างอิทธิพลให้กับการศึกษาทางด้านรัฐศาสตร์อย่างมีเหตุผลและเป็นวิทยาศาสตร์ แต่อย่างไรก็ตามก็ยังไม่สามารถหาข้อยุติได้ซึ่งจากการศึกษาของนักวิชาการในอดคตที่ผ่านมาพบ่า การรวมตัวกันของรัฐต่างๆ นั้นสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ลักษณะ โดยลักษณะแรก ได้แก่ การใช้อำนาจบังคับหรือการข่มขู่ด้วยกำลัง และลักษณะที่อง ได้แก่ การเห็นพ้องต้องกันในเรื่องของกระบวนการรวมตัวและโครงสร้างของสถาบันการเมืองมีการพั่งพาอาศัยกัน ทำให้รัฐสามารถรวมตัวเข้าเป้ฯอันหนึ่งอันเดียวกันและเป็นกรณีที่ทำการศึกษาใเวลาต่อมาด้วย
ซึ่งจากการศึกษางานด้านการรวมตัวกันระหว่งประเทศของนักวิชากรด้านการรวมกลุ่มที่ผ่านมา ทำให้สรุปแนวทางการรวมกลุ่มได้ 3 ระบบ 4 ทฤษฎี ดังนี้..
ระบบความร่วมมือ Cooperation System เป็นการรวมกลุ่มขององค์กรระหว่างประเทศหรือองค์กรของเอกชนระหว่างประเทศก็ได้ โดยจะเป็นความสัมพันธ์ในรูปแบบของรัฐต่อตัฐหรือองค์กรต่อองค์กร ถ้าเป็นในระดับของรัฐบาลก็จะประกอบด้วยตัวแทของรัฐบาลในแตละประเทศที่มารวมตัวกัน ถ้าหากเป็นองค์กรของเอกชนก็จะประกอบด้วยตัวแทนขององค์กรเอกชนในแต่ละประเทศที่เข้ามารวมตัวกัน แารรวมกลุ่มในระดับนี้สมาชิกจะมีความสำนึกในผลประโยชน์ร่วมกันของกลุ่ม โดยสมาชิกจะไม่มีการมอบอำนาจอธิปไตยของตนให้กับองค์กรส่วนกลาง แต่สมาชิกจะมีอำนาจอธิปไตยเป็นของตัวเอง มติที่ละคะแนนเสียงจะใช้มติเอกฉันท์ ประเทศใดจะรับไปปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัตก็ได้ ทำให้เสียงส่วนใหญ่จึมไผุกมัดประเทศสมาชิก ซึ่งในชั้นนี้จะเป้ฯการรวมตัวทางด้านนโยบายการต่างประเทศและนโยบายทางกาทหารซึ่งสามารถใช้ได้กับกรณีของอาเซียน
ระบบประชาคม Community System เป็นการรวมกลุ่มที่ประเทศสมาชิกจะมีการมอบอำนาจอธิปไตยส่วนหนึ่งให้แก่องค์กรกลาง หรือองค์กรที่มีอำนาจเหนือชาติ โดยองค์กรดังกล่าวจะมีหน้าที่ในาการควบคุมนโยบายด้านต่าๆง ตลดอจนดูแลในเรื่องผลประโยชน์ของประเทศสมาชิก โดยอธิปไำตยองประเทศสมาชิกจะมีการแบ่งกันอย่างชัดเจน การลงคะแนนเสียงจะใช้คะแนนเสียงส่วนใหญ่ของประเทศสมาชิกเป็นหลัก ประเทศที่ไม่เห็นด้วยจำเป็นต้องปฏิบัติตามด้วยระบบนี้สามารถใช้ได้กับกรณีของการรวมกลุ่มประเทศในยุโรป ซึ่งจะมีคณะกรรมาธิการรัฐสภายุโรปและคณะมนตรีเป็ฯองค์กรเหนือชาติที่คอยควบคุมอูแลองค์กรอยุ่
ระบบสหพันธรัฐ Federal System เป็นการรวมกลุ่มที่สมชิกแต่ละประเทศจะมอบอำนาจอธิปไตยทั้งหมด ไม่ว่าจะเป้ฯทางด้านการเมือง เศรษฐกิจและสสังคมให้แก่รัฐบาลกลาง โดยรัฐบาลกลางจะมีหน้าที่คอยควบคุมดูแลผลประโยชน์ของรัฐทุกรัฐอย่างเท่าเทียมกัน อำนาจของแต่ละรัฐจึงมีเท่าที่รัฐบาลกลางมอบให้ โดยแต่ละรัฐจะไม่มีตัวแทนของตัวเองแต่จะมีตัวแทนของประชาชนทั้งหมดคอยดูแลผละประโยชน์รัฐจะไม่มีตัวแทนของตัวเองแต่จะมีตัวแทนของประชาชนทั้งหมดคอยอูแลผลประดยชน์ร่วมกัน การลงมติต่างๆ จะใช้คะแนนเสียงส่วนใหญ่เป็นเกณฑ์ ระบบนี้สามารถใช้ได้กับกรณีของประเทศสหรัฐอเมริกา
ทฤษฎีการรวมกลุ่ม แบ่งได้ 4 ทฤษฎี คือ
ทฤษฎีสหพันธ์นิยม Federalism Theory เป็นแนวคิดการรวมกลุ่มของรัฐทางกฎหมายอยางเป็นทางการ ดดยเป็นการรวมกลุ่มทางการเมืองของรั้ฐตั้งแต่ 2 รัฐขึ้นไปด้วยมาตรการทางรัฐธรรมนูญและรูแบบทางการเมืองที่เหมาะสม เนื่องจากมีความเชื่อว่า การรวมตัวกันน่าจะเกิดขึ้นได้ในระดับนานาชาติ ซึ่งเมือแต่ละรัฐยอมสละอำนาจอธิปไตยของตนบางส่วนให้แก่องค์กรกลางแล้ว องค์กรดังกล่าวก็จะมีหน้าที่ในการรักษาผลประโยชน์ร่วมกันของทุกรัฐ โดยทำหน้าที่ทางด้านการต่างประเทศ การเงิน การคลัง การป้องกันประเทศและด้านอื่นๆ โดยประเทศที่เกิดการรวมกลุ่มดังกล่าวประชากรจะมีลัษณะบางอย่างที่คล้ายคลึงกัน อาทิ เช่น ภาษา วัฒนธรรม หรือการอุยูใกล้ชิดกันทางภุมิศาสตร์ ซึ่งเมื่อกิดการรวมกลุ่มกันอย่างเป็นทางการแล้วหลังจากนั้นประชารในแต่ละประเทศก็จะเกิดการปรับตัวเข้าหากันได้ต่อไป
ทฤษฎสัมพันธ์นิยม Transactionalism Theory เป็ฯแนวคิดที่ไม่ถือกรอบทางด้านกฎหมายและถาบันเป็นเรื่องสำคัญ แต่เน้นที่สภาพของการส่งเสริมและรักษาไว้ซึ่งความสำนึกในการเป็นชุมชนแห่งประชาคมเดี่ยวกัน เพื่อสร้างประชาคมให้มีความมั่นคง โดยประชาคมจะประกอบไปด้วยสถาบันต่างๆ ท้งที่เป้ฯทางการและไม่เป็นทางการ อีกทั้งสมาชิกภายในประชคมจะต้องมีกาตติดต่อสื่อสารและสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน มีประเพณีที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาหรือมีประเพณีที่ทางการได้กำหนดขึ้นโดยประเพณีต่างๆ เหล่านี้จะต้องมีความแข็งแรงและครอบคลุมขอบเขตอย่างกว้างขวางเพื่อให้สามารถควบุคุมการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นภายในกลุ่มสมาชิกได้อย่างสันติ และมีลักษระที่แน่นอนในช่วงเวลาที่นานพอควร
ทฤษฎีภารกิจนิยม Functionalism Theory เป็นแนวคิดที่เกิดขึ้นเนื่องจากการรวมกลุ่มแบบทฟษฎีสหพันธ์นิยมไม่สามารถจัดการกับปัญหาความแตกต่างของแต่ละรัฐลงได้ ดังนั้นเืพ่อต้องการแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงเกิดทฤษฎีภารกิจนิยมขึ้น โดยตั้งอยุ่บนสมมุติฐานที่ว่า ปัญหาต่างๆ ที่นานาชาติกำลังประสบอยู่ในปัจจุบนเป็นเรื่องทางด้านเทคนิคที่มีความสลับซับซ้อนเกิดความสามารถของรัฐบาลหรือนัการเมืองในระดับชาติที่จะแก้ไขได้โดยลำพัง ดังนั้นจึงมีความจำเป้ฯที่จะต้องมอบภาระกิจเหล่านี้ให้อยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของผุ้ชำนาญการเฉพาะเรื่อง ด้วยการรวมตัวกันอย่างหลวมๆ ดังนั้นการดำเนินการข้ามขอบเขตของรัฐ โดยรัฐยินยิมเสียสลุอธปไตยของตนด้วยการมอบอำนาจทางการบริหารบางเรื่องซึ่งเป็เนรื่องที่มีวัตถุประสงค์เฉาะที่ไม่ใช่เร่องทางด้านการเมืองให้แก่องค์กรกลางเฉพาะด้านแล้ว องค์กรกลางเฉพาะด้านเหล่านี้ก็จะสามารถแก้ไปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป ซึ่งจะมีผลทำให้หน่วยทางการเมืองของรัฐโน้มเอียงเข้าหากันเพิ่มมากขึ้น ทำให้พรมแดนของรัฐค่อยๆ ลดความสำคัญลง และจะนำไปสู่สภาวะเอ่อล้น ซึ่งจะทำให้เกิดความร่วมมือในสาขาอื่นๆ ตามมา
ทฤษฎีภารกิจนิยมใหม่ Neo-function Theory เป็นแนวคิดที่พัฒนาขึ้นมาจากทฤษฎีภารกิจนิยมเ นือ่งจาเชื่อว่าการรวมตัวกันเพื่อการแก้ปัญหาทางด้านเทคนิคเฉพาะด้านนั้นมีแนวโน้มทีจะขยายตัวออำปสู่สภาวะเอ่อล้น ซึ่งจะทำให้เกิดความร่วมมือในสาขาอื่นๆ ตามมา ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่จะต้องจัดตั้เงสภาบันกลางที่มีอำนาจเหนือรัฐ ขึ้นเพื่อทำหน้าที่ผลักดัน ส่งเสริม และเสนอทิศทางใหม่ๆ เืพ่อให้ความร่วมมือดังกล่าวดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเมื่อองค์กรปฏิบัติหน้าที่ในการส่งเสริมความร่วมมือทางด้านเศรฐกิจและสังคมมากขึ้น องค์กรเหล่านี้ก็จะพัฒนาและกลายเป็นองค์กรที่มีอำนาจทางการเมืองในที่สุด
สมาคมประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ อาเซียน ได้ก่อกำหเนิดเมื่อ 8 สิงหาคม ค.ศ. 1967 พัฒนาการความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจของอาเซียนตลอดระยะเวลา 3 ทศวรรษที่ผ่านมาพบว่า ในทศวรรษแรกความร่วมือทางด้านเศรษกิจของอาิซียนนั้นมีค่อยข้องน้อย เพราะในช่วงเวลาดังกล่าวอาเซียนได้ให้ความสำคัญไปในเรื่องของสันติภาพและความมั่นคงในภูมิภาคเป็นหลัก ซึ่งความร่วมมือดังกล่าวได้ทำให้ประเทศสมาชิกอาเซียนในขณะนั้น 5 ประเทศมีความเข้าใจและเห็นใจซึ่งกันและกันมีการรเียนรู้และพยายามปรับตัวเข้าหากัน ประกอบกับการที่ประเทศต่างๆ ในภูมิภาคแห่งนี้ยังมีความล้าหลังและยังขาดการพัฒนาในด้านต่างๆ เป็นจำนวนมาก ดังนั้นการสร้างพื้นฐานทางด้านเศรษบกิจในสาขชาเศราฐกิจที่ำสคัญต่างๆ จึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่จะต้องดำเนินการควบคู่ไปกับการสร้างความมัี่นคงทางด้านการเมืองภายในภุมิภาคใหกลับคืนมา
ต่อมาในทศวรรษที่ 2 อาเซียนจึงได้เริ่มมีความร่วมมือทางด้านเศรษบกิจในลักาณะของการพึ่งพากันระหว่างประเทศสมาชิกเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเป็นไปตามปฏิญญาสมานฉันท์แห่งอาเซียน ที่กำหนดให้มีความร่วมมือทางด้านเศรษบกิจเพื่อการพัฒนาทางอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการพัฒนอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ภายในอาเวียนการให้มความตกลงเรื่องสิทธิพิเศษทางด้านการต้าเพ่อส่งเนิามการค้าภายในภูมิภาค การให้มีความร่วมมือในการเข้าสุ่ตลาดภายนอกอาเซียน และการให้มีความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาสินค้าโภคภัณฑ์ระหว่างประเทศ ซึ่งใรเวลาต่อมาได้นำไปสู่การริเริ่มโครงการที่ครอบคลุมสาขาทางด้านเศรษบกิจต่าๆง โดยโครงการเพื่อการส่งเสริมการค้าภายในภูมิภาค การให้มีความร่วมมือในกาเข้าสู่ตลาดภายนอกอาเซียน และการให้มีความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาสินค้าโภคภัฒฑ์ระหว่างประเทศ ซึ่งในเวลาต่อมาได้นำไปสู่การริเริ่ม โครงการที่ครองคลุมาขาทางด้านเศรษฐกิจต่างๆ โดยโครงการเพื่อการส่งเสริมการค้าภายในภุมิภาคได้แก่ โครงการให้สิทธิพิเศษทางการค้าระหว่างกัน โครงการเืพ่อการพัฒนาทางด้านอุตาสาหกรรมได้แก่ โครงการอุตสาหกรรมอาเซียน ซึ่งเป็นโครงการที่เน้นการพัฒนาประสิทธิภาพในการผลิตของภุมิภาค ตามมาด้วยโครงการแบ่งผลิตทงอุตสาหกรรมอเาซีย และโครงการร่วมลงทุนทางอุตสาหกรรมอาเซียน ซึ่งโครงการทั้ง 4 โครงการที่อเาซียนได้ริเริ่มและดำเนินการในช่วงทศวรรษที่สองที่ผ่านมานั้น อาเซียนได้บรรลุวัตถุประสค์ร่วมในการพัฒนาเพื่อสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางด้านเศรษฐกิจของอาเซียนให้เกิดขึ้น โยอาศัยข้อได้เปรียบต่างๆ ของอาเซียนที่มีอยุ่แล้ว ในขณะที่ความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจกับประเทศนอกอาเซียนนั้นจะมีความสัมพันธ์ในสภระแบบผุ้ให็-ผู้รับ
ในทศวรรษที่ 3 อาเซียนไดพ้ยายามสานต่อแนวทางการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจที่ได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องมาจากทศวรรษที่ผ่านมา โดยเน้นในเรื่องของการบรรลุผลทางด้านเศรษบกิจในสาขาต่างๆ ให้เพ่ิมมากขึ้น ด้วยการเปิดเสรีทางด้านการค้าในระดับภูมิภาค เพือเพิ่มศักยภาพทางด้านเศรษบกิจให้มีอำนาจต่อรองที่ทัดเทียมกับประเทศที่มีความก้าวหน้าทางด้านเศรษบกิจด้วยความสัมพันธ์แบบพึงพาอาศัยกันแทนที่สภานะแบบผุ้ให้-ผู้รับ ในอดีต โดยอาเซียนจะนำเอาบทเรียนต่างๆ ที่เกิดขึ้นจาการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจในช่วงเวลาที่ผ่ามาเป้นบทเรียนและเป็นพื้นฐานสำคัญเพื่อนำมาปฏิบัติ ปรัฐปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาสาขาความร่วมมือทางด้านเศรษบกิจของประเทศสมาชิกให้มีศักยภาพทางด้านเศรษบกิจที่เพ่ิมสูงขึ้น ด้วยการให้ประเทศสมาชิกอาเซียนมีการพึ่งพากันเพิ่มมากขึ้นควบคู่ไปกับการเปิดประเศตนเองสู่โลกภายนอก เพื่อให้อาเซียนสามารถขยายตลาดและมีช่องทางในการติดต่อกันทางด้านเศรษฐกิจการต้าที่มีความกว้างขวางเพิ่มขึ้นอีกทั้งยังมี่วนทำให้มีอำนาจในการต่อรองที่ทัดเที่ยมกับประเทศต่างๆ ทั่วโลก ด้วยการมีความสัมัพนธ์แบบพึงพาอาศัยกันกับประเทศที่มีความเจริญก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจที่มากกว่าโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับประเทศที่พัฒนาแล้ว
- "เขตการต้าเสรีอาเซียนสู่มิติอาเซียน 2020: ลู่ทางและปัญหา", ภัทรพล ภูมิพย์, วิทยานิพนธ์ ศิบปศาสตร์มหาบัณฑิต(รัฐศาสตร์), มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2547.
วันเสาร์ที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2560
ASEAN Investment Area
เขตการลงทุนอาเซียน(AIA) เป็นการรวมกลุ่มทางเศราฐกิจในระดับภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียน (ASEAN) ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในอันที่จเพิรมการลงทุนในอาเซียนจากนักลงทุนทั้งในแลนอกกลุ่มอาเซียน เพื่อเสริมสร้างประสทิธิภาพของอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจของอาเซียนโดยเฉพาะให้มีความได้เปรียบในด้านการลงทุนโดยคำนึงถึงความแตกต่างในระดับการพัฒนาการและเสรษฐกิจของประเทศสมาชิกอาเซียนภายใต้กรอบความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน ซึ่งกำหนดพันธกรณีให้ประเทศสมาชิกอาเวียนเปิดเสรีอุตสาหกรรมและให้การประฏิบัติเยี่ยงคนชาติ ภายในปี ค.ศ. 2010 สำหรับนักลงทุนอาเซียน และปี ค.ศ. 2020 สำหรับนักลงทุนทั่วไป
ในการจัดตั้้งเขตการลงทุนอเาซียนภายใต้กรอบความตกลงเขตการลงทุนอาเซียนเขตการลงทุนอาเซียน มิใช่องค์การระหว่างประเทศ ซึ่งจะมีสภาพบุคคลตามกฎหมายระหว่างประเทศ แต่เป็นเพรียงองค์กรย่อยของอาเซียนเพื่อการพัฒนาความร่่วมือทางเศรษฐกิจของอาิซียน โดยจะต้องอยู่ภายใต้กรอบของ GATT และ WTO ซึ่งประเทศสมาชิกอาเซียส่วนใหญ่ต่างก็เป็ฯสมาชิกอยู่โดยในการดำเนินการจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียภายใต้กรอบความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน ซึ่งเป็นความตกลงระหว่างประเทศที่มีค่าในทางกฎหมายระหว่างประเทศอันส่งผลให้สามารถใช้บังคับกับทุกประเทศสมาชิกอาเซียนให้ต้องยอมรับให้ความตกลงดังกล่าว โดยให้มีผลใช้บังคับในอินแดนของตน
แต่ในทางปฏิบัติ การดำเนินการตามพันธกรณีของกรอบความตกลงเขตการลงทุนอาเซียนก็ประสบปัญหาบ้างทั้งปัญหาที่เกิดจากตัวกรอบความตกลงแลปัญหาที่เกิดจาประเทศสมาชิกอาเซียนด้วยกัน ซึ่งประเทศสมาชิกอาเซียนจะต้องแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นร่วมกัน ทั้งนี้เพื่อให้การจัดตั้งแขตการลงทุนอาเซียนบรรลุวัตถุปรสงค์และเอื้อประโยชน์ท้งในด้านการต้าและากรลงทุนต่ออาเซียนและประทเศไทย
อย่างไรก็ตาม การจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียนอาจเกิดผลกระทบต่ออาเซียนและประเทศไทยบ้าง ซึ่งทำให้อาเซียนและประเทศไทยต้องพัฒนาตัวเองและปรับปรุงแก้ไขกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อให้สามารถรองรัีบการลงทุนที่จะเกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้การจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียนเกิดประโยชน์ต่ออาเซียนและประเทศไทยได้อยางสูงสุดต่อไป
การจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียน เกิดขึ้นจากการที่ประเทศสมาชิกอาเซียนได้เบ็งเห็นถึงควาสำคัญในการวมกลุ่มความร่วมือทางเศรษฐกิจในระดับภุมิภาค ซึ่งเป้ฯผลมาจากเหตุผลภายในอาเซียน และกระแสภูมิภาคของประเทศต่างๆ อาเซียนจึงต้องพัฒนาระดับความร่วมมือทางเศรษฐกิจในกลุ่มให้มากขึ้นและโดยเฉพาะอย่งยิ่ง เมื่ออาเซียขยายตัวโดยมีประเทศสมาชิกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉีงใต้ครบทั้ง 10 ประเทศ ทำให้อาเวียนกลายเป้นแหล่งรับการลงทุนทั้งจากภายในและภายนอกภูมิภาคอาเวียน เขตการลงทุนอาเซียนจึงเกิดขึ้นเพื่อดึงดูดการลงทุนเสริมสร้างความแข็งแกร่งและเพิ่มความได้เปรียบในด้านการลงทุน ซึ่งจะพัฒนาให้อาเซียนเป็นภูมิภาคกาลงทุนที่มีักยภาพในการรองรับการลงทุนจากส่วนต่างๆ ของโลก
สถานะทางกฎหมายระหว่างประเทศของเขตการลงทุนอาเซีย เมื่อพิจารณาโดยใช้หลักที่ศาลยุติธรรมระหว่งประเทศได้วินิจฉัยไว้โดยความเห้นแนะนำในคดี ซึ่งงางหลักว่าองค์การระหว่งประเทศใดจะมีสภาพบุคคลในทางกฎหมายระหว่างประเทศหรือไม่ให้พิจารณาจากเจตจำนงค์ของมวลสมาชิกที่จัดตั้งองค์การระหว่างประเทศ โดยดูากวัตถุประสงค์และหน้าที่การงานโดยเฉพาะขององค์การนั้น จะเห้นว่าเขตการลงทุนอาเซียนได้รับการจัดตั้งขึ้นภายใต้กรอบความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน ยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาเซียนเป็นแหล่งดึงดูดการลงทุนทั้งจากในและนอกอาเซียนและได้มีการจัดตั้งคณะมนตรีเขตการลงทุนอาเซียน และคณะกรรมการความร่วมมือด้านการลงทุนเพื่อติดตาม ดูแลและประสานงานกับหน่วยงานของอาเซียน เพื่อให้การจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซีนบรรลุประสงค์ ดังนั้น เขตการลงทุนอาเซียนจึงไม่มีสถานะเป้ฯองค์การระหว่างประเทศ ซึงจะมีสภาพบุคคลในทางกฎหมายระหว่างประเทศแต่เป็นองค์กรย่อยของอาเซีนเพื่อพัฒนาความร่วมมือทางเศรษบกิจของอาเซียน
เขตกรลงทุนอาเซียน โดยตัวของมันเองแล้วไม่ใช่การค้าแต่ที่ต้องเข้าไปอยู่ภายใต้กฎหมายการต้าระหว่างประเทศเนื่องจากการให้สิ่งจูงใจและสทิะิประโยชน์จำนวนมากเพือดึงดูดการลงทุนที่จะไปกระทบต่อการค้า ดังนั้น ในการพิจารณาถึงความสอดคล้องของการจัตั้งเขตการลงทุนอาเซียนกับกฎหมายระหว่างประเท จึงต้องใช้หลักกฎหมายการต้าระหว่างประเทสที่มีบทาทสำคัญในระดับสากล และประเทศสมาชิกส่วนใหญ่ของอาเซียนมีพันธกรณีอยู่ อันได้แก่ GATT และ WTO
GATT 1994 ซึ่งเกิดจากการประชุมเจรจา GATT รอบอุรุกวัย ที่สิ้นสุดลงมี่เมือง Marakesh ประเทศโมรอคโค เมื่อวันที่ 15 เมษายน 1994 ได้มีการจัดทำความตกลงมาร์ราเกซ เพื่อจัดตั้งองค์การการต้าโลก และไ้มีการนำเอาหลักทั่วไปใน GATT 1947 มารวมไว้ใน GATT 1994 ด้วย โดย GATT 1994 ยังคงรับรองสิทธิในการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคในรูปแบบของการจัดตั้งเขตการต้าเสรีไว้ในมาตรา 24 ซึ่งได้มีการกำหนดกรอบเงื่อนไขใการรวมกลุ่มทางเศราฐกิจว่าจะต้องมีการขจัดภาษีและข้อจำกัดทางการค้าไม่ให้สูงหรือเคร่งครัดไปหว่าเดิมก่อนที่จะมีการจัดตั้งเขตการต้าเสรี และจะต้องรวบรวมแผนงานและกำหนดการสำหรับการจัดตั้งเขตการต้าเสรีภายในระยะเวลาอันสมควร โดยไม่ควรจะเกิน 10 ปี เมื่อพิจารณาถึงแนวทางในการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจและเงื่อนไขในการจัดตั้งเขตการต้าเสรีดังกล่าวกับการจัดต้งแขตการลงทุนอาเซียนซึ่งเป้นการรวมกลุ่มทางการต้ารูปแบบหนึ่งที่เน้นในเรื่องของการลงทุน เพื่ออำนวยความสะดวกทางการค้าในด้านการลงทุน และมไเป็นการเพิ่มอุปสรรคทางการค้าในการลงทุนระหว่างประเทศสมาชิกอาเว๊ยนกับประเทศคู่ค้าอื่นนๆ โยในการจัดทำกรอบความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน ได้กำหนดการจัดเก็บภาษีอากรต่างๆ และกฎระเบียบในการลงทุนไม่สูงกว่าหรือจำกัดมากกว่าที่เคยมีอยุ่ก่อนการรวมกลุ่มหรืทำควาตกลง และมีการกำหนดแผนงานและการดำเนินการต่าๆง สำหรับการรวกลุ่มภายในระยะเวลาที่เหมาะสม คือ 10 ปีสำหรับประเทสมาชิกกลุ่ทอาเซียน นอกจากนั้น ยังได้มีการประชุมเพื่อจะเร่งเปิดเสรีการลงทุนและให้การประติบัติเยี่ยงคนชาติแก่นักลงทุนอาเวียนและนักลงทุนทั่วไปให้เร็วขึ้นแม้ว่าจะยังไม่มีการแจ้งต่อที่ประชุมใหญ่ประเทศสมาชิก เนื่องจากการดำเนินการในเรื่องดังกล่าวยังดำเนินการไปได้ไม่มากนัก แต่เมื่อพิจารณาถึงการรวมกลุ่ททางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคของอาเซีนในการจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียน จะเห็นได้ว่าสอดคล้องกับบทบัญญัติในเรื่องการรวมกลุ่มการต้าเสรีที่ชอบด้วยบทบัญญัติของ GATT ประเทสมาชิกอาเซียนควรจะได้มีการดำเนินการตามเงื่อนไขของ GATT มาตรา 24 ต่อไป
ในการจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียนได้มีการจัดทำกรอบความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน และพิธีสารเพื่อการแก้ไขกรอบควมตกลงเขตการลงทุนอาเซียน เพื่อให้การดำเนินกาจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียนบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ไ้กำหนดไว้เมื่อวิเคราะห์ถึงสถานะทางกฎหมายของเอกสารดังกล่าว ดดยใช้แนวทางการหลักที่ได้จาก คำนิยามในอนุสัญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา 1969 และคำพิพากษาของศาลุติธรรมระหว่างประเทศในคดีไหล่ทวีปแห่งทะเลเอเจี้นยที่ได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะหืเอกสารระหว่างประเทศ จะเห็นว่า เอกสารดังกล่าวเป้นความตกลงระหว่างประเทศที่ทำขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษรระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน โดยมีผุ้แทนของรัฐซึ่งได้รับมอบอำนาจเต็มหรือถือว่าเป็นผู้มีอำนาจเต็มเขาทำสนธิสัญญาและแสดงเจตนาในการให้ความยินยิมเพื่อผูกพันตามสนธิสัญญาแทนรัฐ และอยู่ภายใตบังคับของกฎหมายระหว่งประเทศแม้ว่าข้อความและสาระของความตกลงดังกล่าว จะมิได้ระบุชัดแจ้งเกี่ยวกับลักษณธทางกฎหมายแต่ได้มีการกำหนดพันธกรณีระหว่างประเทศสมาชิก และดำเนินกาต่าๆง เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของความตกลงดังกล่าว ดังนั้น AISA Agreement และพิธีสารเพื่อการแก้ไข AIA Agreetment จึงเป็นความตกลงระหว่างประเทศที่มีค่าบังคับทางกฎหมายระหว่างประเทศและมีนิติฐานะเป็นความตกลงเพื่อากรจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียน และมื่อ AIA Agreement เป็นความตกลงระหว่างประเทศ ดังนั้นบันทึการตีความกอบควาตกลงเขตการลงทุนอาเซีย ซึ่งจัดทำขชึ้นเืพ่อช่วยในการตีความเอกสารที่มีค่าบังคับเป้ความตกลงระหว่างประทเศ บันทึกการตีความดังกล่าวจึงมีค่าบังคับเช่นเดี่ยวกับเอกสารที่ถูกตีความ
และโดยผลผูกพันของความตกลงระหว่างประเทศเมื่อประเทศสมาชิกได้ลงนามและปฺบัติตามพันธกรณีแล้ว ความตกลงระหว่างประเทศนั้นย่อมสามารถใช้บังคับกับประเทศสมาชิกทุกประเทศได้และประเทศสมาชิกจะต้องยอมรับให้ความตกลงดังกล่าวมีผลใช้บังคับในดินแดนของตน ซึ่งวิธีการยอรับอาจจะทโดยการประกาศรับสนธิสัญญา หรือการออกกฎหมายเพื่อนุวัติการ แต่กหากมีกฎหมายภายในเรื่องดังกล่าวใช้บังคับอยู่แล้วก็ไม่จำต้องออกกฎหมายเพื่อการนุวัติการจะเห็นได้ว่า ประเทศสมาชิกอาเซียนมีกฎหมายภายในเกี่ยวกับการลงทุนและกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกอยุ่แล้วความตกลงเขตการลงทุนอาเซียนจึงมีผลใช้บังคัยกับประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศได้ทันที่ โดยไม่ต้องมีกาออกกฎหมายเพื่อการอนุวัติการ
ใการดำเนินงานในดารจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียนได้มีกาจัดตั้งคณะมนตรีเขตการลงทุนอาเซียนและคณะกรรมการความร่วมมืออด้านการลงทุน เพื่อใไ้คำแนะนำประสานงานกับหน่วยงานที่เีก่ยวข้อง ทบทวนการดำเนินงานเสนอคำแนะนำและแก้ไขปัญหาอุปสรรคต่างๆ ที่เกิดจากกรดำเนินกาจัดตั้งเขตการลงทุนอาเวียน ภายใต้การควบคุม ดูแลและช่วยเหลือที่อยู่ในอาเซีียนรวมท้งกำหนดกลไกในกรระวับข้อพิพาท โดยได้กำหนดให้นำพิธีสารว่าด้วยกลไกการระงับ้อพิพาท มาใช้จะช่วยให้ปัญหาข้อพิพาทระหว่างประเทศสมาชิกได้รับการแก้ไขปย่างมีประสิทธิภาพ
AIA Agreement ได้กำหนดพันธกรณีให้ประเทศสมาชิกต้องดำเนินการเปิดอุตสาหกรรมทุกประเภทและให้ารปฏิบัติเยี่ยงคนชาติ โดยทันที แต่ประเทศสมาชิกสามารถขอขยายระยะเวลาการเปิดอุตสาหกรรมและากรให้การปฏิบัติเยี่ยงคนชาติเ็ฯภายในปี 2010 สำหรับนักลงทุนอาเซียน และปี 2020 สำหรับนักลงทุนทั่วไปได้ โดยทำเป็นรายการขอยกเว้นชั่วคราว และรายการที่มีความอ่อนไหว และรายการดังกล่าวยังขยายให้ครอบคลุมถึงการบริการที่เกที่วข้องด้วย โดยประเทศสมาชิกจะต้องเปิดภาคบริการไม่น้อยไปกว่าข้อผูกพันที่ประเทศสมาชิกได้ยื่นภายใต้กรอบการเจรจากรเปิดเสรีการค้าบริากรในองค์การการค้าโลก WTO ซึ่งทุกประเทศสมาชิกก็ได้ยื่นรายการดังกลบาวสำหรับภาคการผลิต เกษตร ประมง ป่าไม และเหมืองแร่ เรียบร้อยแล้ว นอกจากการขอยกเว้นตามรายการขอยกเว้นทั้ง 2 รายการแล้ว ประเทศสมาชิกสามารถขอยกเว้นจากการเปิดอุตสหกรรมและการให้การปฏิบัติเยี่ยงคนชาติได้โดยการขอยกเว้นทั่วไป สำหรับประเภทกิจการที่มีผลต่อความมั่นคงของชาติ ประเพณี วัฒนธรณมและศีลธรรมอันดี และชีวิตมนุษย์ สัตว์ และพืช ซึ่งทุกประเทศสมาชิกก็ได้ยื่นรายการดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว นอกจากนี้ยังได้กำหนดมาตรการป้องกันฉุกเฉิน ในกรณีที่ประเทศสมาชิกได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากมาตรการการเปิดเสรีตาม ASIA Agreement และมาตรการป้องกันดุลการชำระเงนิระหว่งประเทศในกรณีที่ประเทศสมาชิกเกิดวิก๖การณ์ทางการเงิน
ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการตามพันธกรณี คือ ปัญหาที่เกิดจากข้อกำหนดหลักการอย่างกว้างๆ โดยไม่มีการให้คำจำกัดความสำหรับรายการขอยกเว้นชั่วคราว รายการที่มีความอ่อนไหว หรือรายการขอยอเว้นทั่วไปไม่มีการกำหนดจำนวนเงื่อนไขและรายละเอียดในการเสนอและทยอยออกจากรายการดังกล่าว นอกจานี้ ราการดังกล่าวยังไม่ครอคลุมถึงมาตรการการลงทุนที่เกี่ยวกับการค้า ภายใต้กรอบขององค์การการค้าโลกซึ่งกำหนดให้ยกเลิกมาตรการการลวทุนบางประการที่จะมีผลก่อให้เกิดการจำกัดและบิดเบือนทางการค้า ในส่วนของการใช้มาตรกรป้องกันฉุกเฉิน และมาตรการป้องกันดุลการชำระเงินระหว่งประเทศก็ยังขาดรายละเอียดที่ชัดเจนเกี่ยวกับการำมาตรการดังกล่าวมาใช้เช่นกัน ซึ่งจากปัญหาดังกล่าวอาจส่งผลในทางปฏิบัติได้หากประเทศสมาชิกคำนึงถึงแต่การรักษาผลประโยชน์ของชาติเป็นหลักและใช้มาตรการต่างๆ โดยไม่สุจริต จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ประเทศสมาชิกจะต้องร่วมมือกันในการปรับปรุงแก้ไข ข้อตกลงให้มีความชัดเจน และโปร่งใสมากย่ิงขึ้น เพื่อให้การดำเนินการจัดตั้งแขตการลงทุนอาเซียนบรรลุวัตถุประสงค์ และก่อประดยชน์แก่ประเทศมาชิกอย่างแท้จริง
และจากการที่อาเซียนรับสมาชิกใหม่ ซึ่งได้แก่ เวียดนาม ลาว พม่า และกัมพูชา ซึ่งมีปัญหาการเมืองภายในประเทศ และมีสภาพเศรษบกิจที่แตกต่างกับประเทศมาชิกอาเซียนเดิม ทำให้อาเซียนมีระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ 2 ระดับ ประเทศสมาชิกใหม่เหล่านี้จึงได้รับการผ่อนผันระยะเวลาใการดำเนินการตามพันธกรณี แต่ประเทศสมาชิกใหม่เหล่านี้ก็ได้ให้ความร่วมมือในการปรับปรุงและพัฒนาในด้านต่างๆ อันจะเื่อ้อำนวยต่อการลงทุน ประกอบกับการที่ประเทศสมาชิกอาเซียนเดิมก็ได้พยายามให้ความช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาต่างๆ โดยการประชุมปรึกษาหารือและการเสนอความคิดเห้นร่วมกันของหน่วยงานและคณะทำงานใรระดับต่างๆ ทั้งภายในประเทศสมาชิกแต่ละประเทศและระหว่างประเทศ และยงมีการกำหนดแผนงานอื่นๆ เพ่อส่งเสริมให้การดำเนินการตาม วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
จากการพิจารณาึถงสภาพเศรษบกิจและการลงทุนของประเทศสมาชิกอาเซียน จะเห้นได้ว่า การลงทุนในประเทศสมาชิกอาเซียนมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นทุกปีกระทั่งในปี 1998 ซึ่งเกิดวิกฤตเศรษบกิจ ทำให้การลงทุนในภูมิภาคอาเวีนลดลงอันเนื่องมาจากสภาพเศรษฏฐิจของประเทศสมาชิกอาเซีนเอง และของประเทศผุ้ลงทุน ทั้งจากยุโรป ญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา ซึ่งต่างก็ได้รับผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจที่แผ่ขยายไปทั่วโลกประกอบกับการถูกแบ่งส่วนทางการตลาดจากการรวมกลุ่มทางเศรษบกิจในภูมิภาคต่างๆ ซึ่งสร้างความสนใจให้แก่ประเทศผุ้ลงทุนให้หันไปลงทุนในปละนอกประเทศ
จากการศึกษาหลักการและการดำเนินการต่างๆ ในการจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียน แม้จะเกิดปัญหาหลายประการ ซึ่งดดยภาพรวมของอาเวียนอาจส่งผลกระทบด้านลบในระยะสั้นพอสมควร จากการที่ประเทศสมาชิกต้องสูญเสียรายได้บางส่วนจากการลดภาษี ความไม่พร้อมทีจะแข่งขันกับอุตสาหกรรรมจากต่างประเทศ ระดับการพัฒนาทางเศรษบกิจที่แตกต่างกันระหว่งประเทศสมาชิกเดิมกับประเทศสมาชิกใหม่ และความไม่พร้อมในโครงสร้างพื้นฐานทางเศณษฐกิจ ความผันผวนทางเศราฐกิจอาจส่งผลให้ความร่วมมือชะงักงันหรือเกิดควาทล่าช้ากว่ากำหนด แต่ในระยะยาวเขตการลงทุนอาเซียนจะส่งผลในด้านบวกแก่ประเทศสมาชิกอยางมาก เนื่องจากการขยายจำนวนประเทศสมาชิก ทำให้อาเซียนกลายเป็นตลาดขนาดใหญ่ และมีทรัยพากรธรรมชาิตท่อุดมสมบูรณื ซึ่งจะดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ และการลงทุนจากต่างประเทศจะเป็นสื่อนำความช่วยเลือทางเทคนิคเข้าประเทศ ซึ่งจะทำให้อาเว๊ยนเพิ่มอำนาจต่อรองทางการค้า และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลกมายิ่งขึ้น อีกทั้งยังช่วยลดการแข่งขันระหว่งประเทศสมาชิกในการให้ปสิทธิประโยชน์ด้านการลงทุนแก่การลงทุนจากต่างประเทศนอกจานั้นเขตการลงทุนอาเซียนยังอาจจะช่วยแก้ปัญหวิฏฟติเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นทั่วทุกภูมิภาคเพราะการร่วมมือกันจะทำให้มีโอกาสในการแก้ไขปัญหาได้ยอ่างมีประสทิธิภาพมากยิ่งขึ้น
"ความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน", กษมา มาลาวรรณ,วิทยานิพนธ์(บางส่วน)มหาวิทยาลัยรามคำแหง นิติศาตรมหาบัณฑิต,2544.
ในการจัดตั้้งเขตการลงทุนอเาซียนภายใต้กรอบความตกลงเขตการลงทุนอาเซียนเขตการลงทุนอาเซียน มิใช่องค์การระหว่างประเทศ ซึ่งจะมีสภาพบุคคลตามกฎหมายระหว่างประเทศ แต่เป็นเพรียงองค์กรย่อยของอาเซียนเพื่อการพัฒนาความร่่วมือทางเศรษฐกิจของอาิซียน โดยจะต้องอยู่ภายใต้กรอบของ GATT และ WTO ซึ่งประเทศสมาชิกอาเซียส่วนใหญ่ต่างก็เป็ฯสมาชิกอยู่โดยในการดำเนินการจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียภายใต้กรอบความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน ซึ่งเป็นความตกลงระหว่างประเทศที่มีค่าในทางกฎหมายระหว่างประเทศอันส่งผลให้สามารถใช้บังคับกับทุกประเทศสมาชิกอาเซียนให้ต้องยอมรับให้ความตกลงดังกล่าว โดยให้มีผลใช้บังคับในอินแดนของตน
แต่ในทางปฏิบัติ การดำเนินการตามพันธกรณีของกรอบความตกลงเขตการลงทุนอาเซียนก็ประสบปัญหาบ้างทั้งปัญหาที่เกิดจากตัวกรอบความตกลงแลปัญหาที่เกิดจาประเทศสมาชิกอาเซียนด้วยกัน ซึ่งประเทศสมาชิกอาเซียนจะต้องแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นร่วมกัน ทั้งนี้เพื่อให้การจัดตั้งแขตการลงทุนอาเซียนบรรลุวัตถุปรสงค์และเอื้อประโยชน์ท้งในด้านการต้าและากรลงทุนต่ออาเซียนและประทเศไทย
อย่างไรก็ตาม การจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียนอาจเกิดผลกระทบต่ออาเซียนและประเทศไทยบ้าง ซึ่งทำให้อาเซียนและประเทศไทยต้องพัฒนาตัวเองและปรับปรุงแก้ไขกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อให้สามารถรองรัีบการลงทุนที่จะเกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้การจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียนเกิดประโยชน์ต่ออาเซียนและประเทศไทยได้อยางสูงสุดต่อไป
การจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียน เกิดขึ้นจากการที่ประเทศสมาชิกอาเซียนได้เบ็งเห็นถึงควาสำคัญในการวมกลุ่มความร่วมือทางเศรษฐกิจในระดับภุมิภาค ซึ่งเป้ฯผลมาจากเหตุผลภายในอาเซียน และกระแสภูมิภาคของประเทศต่างๆ อาเซียนจึงต้องพัฒนาระดับความร่วมมือทางเศรษฐกิจในกลุ่มให้มากขึ้นและโดยเฉพาะอย่งยิ่ง เมื่ออาเซียขยายตัวโดยมีประเทศสมาชิกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉีงใต้ครบทั้ง 10 ประเทศ ทำให้อาเวียนกลายเป้นแหล่งรับการลงทุนทั้งจากภายในและภายนอกภูมิภาคอาเวียน เขตการลงทุนอาเซียนจึงเกิดขึ้นเพื่อดึงดูดการลงทุนเสริมสร้างความแข็งแกร่งและเพิ่มความได้เปรียบในด้านการลงทุน ซึ่งจะพัฒนาให้อาเซียนเป็นภูมิภาคกาลงทุนที่มีักยภาพในการรองรับการลงทุนจากส่วนต่างๆ ของโลก
สถานะทางกฎหมายระหว่างประเทศของเขตการลงทุนอาเซีย เมื่อพิจารณาโดยใช้หลักที่ศาลยุติธรรมระหว่งประเทศได้วินิจฉัยไว้โดยความเห้นแนะนำในคดี ซึ่งงางหลักว่าองค์การระหว่งประเทศใดจะมีสภาพบุคคลในทางกฎหมายระหว่างประเทศหรือไม่ให้พิจารณาจากเจตจำนงค์ของมวลสมาชิกที่จัดตั้งองค์การระหว่างประเทศ โดยดูากวัตถุประสงค์และหน้าที่การงานโดยเฉพาะขององค์การนั้น จะเห้นว่าเขตการลงทุนอาเซียนได้รับการจัดตั้งขึ้นภายใต้กรอบความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน ยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาเซียนเป็นแหล่งดึงดูดการลงทุนทั้งจากในและนอกอาเซียนและได้มีการจัดตั้งคณะมนตรีเขตการลงทุนอาเซียน และคณะกรรมการความร่วมมือด้านการลงทุนเพื่อติดตาม ดูแลและประสานงานกับหน่วยงานของอาเซียน เพื่อให้การจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซีนบรรลุประสงค์ ดังนั้น เขตการลงทุนอาเซียนจึงไม่มีสถานะเป้ฯองค์การระหว่างประเทศ ซึงจะมีสภาพบุคคลในทางกฎหมายระหว่างประเทศแต่เป็นองค์กรย่อยของอาเซีนเพื่อพัฒนาความร่วมมือทางเศรษบกิจของอาเซียน
เขตกรลงทุนอาเซียน โดยตัวของมันเองแล้วไม่ใช่การค้าแต่ที่ต้องเข้าไปอยู่ภายใต้กฎหมายการต้าระหว่างประเทศเนื่องจากการให้สิ่งจูงใจและสทิะิประโยชน์จำนวนมากเพือดึงดูดการลงทุนที่จะไปกระทบต่อการค้า ดังนั้น ในการพิจารณาถึงความสอดคล้องของการจัตั้งเขตการลงทุนอาเซียนกับกฎหมายระหว่างประเท จึงต้องใช้หลักกฎหมายการต้าระหว่างประเทสที่มีบทาทสำคัญในระดับสากล และประเทศสมาชิกส่วนใหญ่ของอาเซียนมีพันธกรณีอยู่ อันได้แก่ GATT และ WTO
GATT 1994 ซึ่งเกิดจากการประชุมเจรจา GATT รอบอุรุกวัย ที่สิ้นสุดลงมี่เมือง Marakesh ประเทศโมรอคโค เมื่อวันที่ 15 เมษายน 1994 ได้มีการจัดทำความตกลงมาร์ราเกซ เพื่อจัดตั้งองค์การการต้าโลก และไ้มีการนำเอาหลักทั่วไปใน GATT 1947 มารวมไว้ใน GATT 1994 ด้วย โดย GATT 1994 ยังคงรับรองสิทธิในการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคในรูปแบบของการจัดตั้งเขตการต้าเสรีไว้ในมาตรา 24 ซึ่งได้มีการกำหนดกรอบเงื่อนไขใการรวมกลุ่มทางเศราฐกิจว่าจะต้องมีการขจัดภาษีและข้อจำกัดทางการค้าไม่ให้สูงหรือเคร่งครัดไปหว่าเดิมก่อนที่จะมีการจัดตั้งเขตการต้าเสรี และจะต้องรวบรวมแผนงานและกำหนดการสำหรับการจัดตั้งเขตการต้าเสรีภายในระยะเวลาอันสมควร โดยไม่ควรจะเกิน 10 ปี เมื่อพิจารณาถึงแนวทางในการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจและเงื่อนไขในการจัดตั้งเขตการต้าเสรีดังกล่าวกับการจัดต้งแขตการลงทุนอาเซียนซึ่งเป้นการรวมกลุ่มทางการต้ารูปแบบหนึ่งที่เน้นในเรื่องของการลงทุน เพื่ออำนวยความสะดวกทางการค้าในด้านการลงทุน และมไเป็นการเพิ่มอุปสรรคทางการค้าในการลงทุนระหว่างประเทศสมาชิกอาเว๊ยนกับประเทศคู่ค้าอื่นนๆ โยในการจัดทำกรอบความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน ได้กำหนดการจัดเก็บภาษีอากรต่างๆ และกฎระเบียบในการลงทุนไม่สูงกว่าหรือจำกัดมากกว่าที่เคยมีอยุ่ก่อนการรวมกลุ่มหรืทำควาตกลง และมีการกำหนดแผนงานและการดำเนินการต่าๆง สำหรับการรวกลุ่มภายในระยะเวลาที่เหมาะสม คือ 10 ปีสำหรับประเทสมาชิกกลุ่ทอาเซียน นอกจากนั้น ยังได้มีการประชุมเพื่อจะเร่งเปิดเสรีการลงทุนและให้การประติบัติเยี่ยงคนชาติแก่นักลงทุนอาเวียนและนักลงทุนทั่วไปให้เร็วขึ้นแม้ว่าจะยังไม่มีการแจ้งต่อที่ประชุมใหญ่ประเทศสมาชิก เนื่องจากการดำเนินการในเรื่องดังกล่าวยังดำเนินการไปได้ไม่มากนัก แต่เมื่อพิจารณาถึงการรวมกลุ่ททางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคของอาเซีนในการจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียน จะเห็นได้ว่าสอดคล้องกับบทบัญญัติในเรื่องการรวมกลุ่มการต้าเสรีที่ชอบด้วยบทบัญญัติของ GATT ประเทสมาชิกอาเซียนควรจะได้มีการดำเนินการตามเงื่อนไขของ GATT มาตรา 24 ต่อไป
ในการจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียนได้มีการจัดทำกรอบความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน และพิธีสารเพื่อการแก้ไขกรอบควมตกลงเขตการลงทุนอาเซียน เพื่อให้การดำเนินกาจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียนบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ไ้กำหนดไว้เมื่อวิเคราะห์ถึงสถานะทางกฎหมายของเอกสารดังกล่าว ดดยใช้แนวทางการหลักที่ได้จาก คำนิยามในอนุสัญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา 1969 และคำพิพากษาของศาลุติธรรมระหว่างประเทศในคดีไหล่ทวีปแห่งทะเลเอเจี้นยที่ได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะหืเอกสารระหว่างประเทศ จะเห็นว่า เอกสารดังกล่าวเป้นความตกลงระหว่างประเทศที่ทำขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษรระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน โดยมีผุ้แทนของรัฐซึ่งได้รับมอบอำนาจเต็มหรือถือว่าเป็นผู้มีอำนาจเต็มเขาทำสนธิสัญญาและแสดงเจตนาในการให้ความยินยิมเพื่อผูกพันตามสนธิสัญญาแทนรัฐ และอยู่ภายใตบังคับของกฎหมายระหว่งประเทศแม้ว่าข้อความและสาระของความตกลงดังกล่าว จะมิได้ระบุชัดแจ้งเกี่ยวกับลักษณธทางกฎหมายแต่ได้มีการกำหนดพันธกรณีระหว่างประเทศสมาชิก และดำเนินกาต่าๆง เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของความตกลงดังกล่าว ดังนั้น AISA Agreement และพิธีสารเพื่อการแก้ไข AIA Agreetment จึงเป็นความตกลงระหว่างประเทศที่มีค่าบังคับทางกฎหมายระหว่างประเทศและมีนิติฐานะเป็นความตกลงเพื่อากรจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียน และมื่อ AIA Agreement เป็นความตกลงระหว่างประเทศ ดังนั้นบันทึการตีความกอบควาตกลงเขตการลงทุนอาเซีย ซึ่งจัดทำขชึ้นเืพ่อช่วยในการตีความเอกสารที่มีค่าบังคับเป้ความตกลงระหว่างประทเศ บันทึกการตีความดังกล่าวจึงมีค่าบังคับเช่นเดี่ยวกับเอกสารที่ถูกตีความ
และโดยผลผูกพันของความตกลงระหว่างประเทศเมื่อประเทศสมาชิกได้ลงนามและปฺบัติตามพันธกรณีแล้ว ความตกลงระหว่างประเทศนั้นย่อมสามารถใช้บังคับกับประเทศสมาชิกทุกประเทศได้และประเทศสมาชิกจะต้องยอมรับให้ความตกลงดังกล่าวมีผลใช้บังคับในดินแดนของตน ซึ่งวิธีการยอรับอาจจะทโดยการประกาศรับสนธิสัญญา หรือการออกกฎหมายเพื่อนุวัติการ แต่กหากมีกฎหมายภายในเรื่องดังกล่าวใช้บังคับอยู่แล้วก็ไม่จำต้องออกกฎหมายเพื่อการนุวัติการจะเห็นได้ว่า ประเทศสมาชิกอาเซียนมีกฎหมายภายในเกี่ยวกับการลงทุนและกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกอยุ่แล้วความตกลงเขตการลงทุนอาเซียนจึงมีผลใช้บังคัยกับประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศได้ทันที่ โดยไม่ต้องมีกาออกกฎหมายเพื่อการอนุวัติการ
ใการดำเนินงานในดารจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียนได้มีกาจัดตั้งคณะมนตรีเขตการลงทุนอาเซียนและคณะกรรมการความร่วมมืออด้านการลงทุน เพื่อใไ้คำแนะนำประสานงานกับหน่วยงานที่เีก่ยวข้อง ทบทวนการดำเนินงานเสนอคำแนะนำและแก้ไขปัญหาอุปสรรคต่างๆ ที่เกิดจากกรดำเนินกาจัดตั้งเขตการลงทุนอาเวียน ภายใต้การควบคุม ดูแลและช่วยเหลือที่อยู่ในอาเซีียนรวมท้งกำหนดกลไกในกรระวับข้อพิพาท โดยได้กำหนดให้นำพิธีสารว่าด้วยกลไกการระงับ้อพิพาท มาใช้จะช่วยให้ปัญหาข้อพิพาทระหว่างประเทศสมาชิกได้รับการแก้ไขปย่างมีประสิทธิภาพ
AIA Agreement ได้กำหนดพันธกรณีให้ประเทศสมาชิกต้องดำเนินการเปิดอุตสาหกรรมทุกประเภทและให้ารปฏิบัติเยี่ยงคนชาติ โดยทันที แต่ประเทศสมาชิกสามารถขอขยายระยะเวลาการเปิดอุตสาหกรรมและากรให้การปฏิบัติเยี่ยงคนชาติเ็ฯภายในปี 2010 สำหรับนักลงทุนอาเซียน และปี 2020 สำหรับนักลงทุนทั่วไปได้ โดยทำเป็นรายการขอยกเว้นชั่วคราว และรายการที่มีความอ่อนไหว และรายการดังกล่าวยังขยายให้ครอบคลุมถึงการบริการที่เกที่วข้องด้วย โดยประเทศสมาชิกจะต้องเปิดภาคบริการไม่น้อยไปกว่าข้อผูกพันที่ประเทศสมาชิกได้ยื่นภายใต้กรอบการเจรจากรเปิดเสรีการค้าบริากรในองค์การการค้าโลก WTO ซึ่งทุกประเทศสมาชิกก็ได้ยื่นรายการดังกลบาวสำหรับภาคการผลิต เกษตร ประมง ป่าไม และเหมืองแร่ เรียบร้อยแล้ว นอกจากการขอยกเว้นตามรายการขอยกเว้นทั้ง 2 รายการแล้ว ประเทศสมาชิกสามารถขอยกเว้นจากการเปิดอุตสหกรรมและการให้การปฏิบัติเยี่ยงคนชาติได้โดยการขอยกเว้นทั่วไป สำหรับประเภทกิจการที่มีผลต่อความมั่นคงของชาติ ประเพณี วัฒนธรณมและศีลธรรมอันดี และชีวิตมนุษย์ สัตว์ และพืช ซึ่งทุกประเทศสมาชิกก็ได้ยื่นรายการดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว นอกจากนี้ยังได้กำหนดมาตรการป้องกันฉุกเฉิน ในกรณีที่ประเทศสมาชิกได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากมาตรการการเปิดเสรีตาม ASIA Agreement และมาตรการป้องกันดุลการชำระเงนิระหว่งประเทศในกรณีที่ประเทศสมาชิกเกิดวิก๖การณ์ทางการเงิน
ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการตามพันธกรณี คือ ปัญหาที่เกิดจากข้อกำหนดหลักการอย่างกว้างๆ โดยไม่มีการให้คำจำกัดความสำหรับรายการขอยกเว้นชั่วคราว รายการที่มีความอ่อนไหว หรือรายการขอยอเว้นทั่วไปไม่มีการกำหนดจำนวนเงื่อนไขและรายละเอียดในการเสนอและทยอยออกจากรายการดังกล่าว นอกจานี้ ราการดังกล่าวยังไม่ครอคลุมถึงมาตรการการลงทุนที่เกี่ยวกับการค้า ภายใต้กรอบขององค์การการค้าโลกซึ่งกำหนดให้ยกเลิกมาตรการการลวทุนบางประการที่จะมีผลก่อให้เกิดการจำกัดและบิดเบือนทางการค้า ในส่วนของการใช้มาตรกรป้องกันฉุกเฉิน และมาตรการป้องกันดุลการชำระเงินระหว่งประเทศก็ยังขาดรายละเอียดที่ชัดเจนเกี่ยวกับการำมาตรการดังกล่าวมาใช้เช่นกัน ซึ่งจากปัญหาดังกล่าวอาจส่งผลในทางปฏิบัติได้หากประเทศสมาชิกคำนึงถึงแต่การรักษาผลประโยชน์ของชาติเป็นหลักและใช้มาตรการต่างๆ โดยไม่สุจริต จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ประเทศสมาชิกจะต้องร่วมมือกันในการปรับปรุงแก้ไข ข้อตกลงให้มีความชัดเจน และโปร่งใสมากย่ิงขึ้น เพื่อให้การดำเนินการจัดตั้งแขตการลงทุนอาเซียนบรรลุวัตถุประสงค์ และก่อประดยชน์แก่ประเทศมาชิกอย่างแท้จริง
และจากการที่อาเซียนรับสมาชิกใหม่ ซึ่งได้แก่ เวียดนาม ลาว พม่า และกัมพูชา ซึ่งมีปัญหาการเมืองภายในประเทศ และมีสภาพเศรษบกิจที่แตกต่างกับประเทศมาชิกอาเซียนเดิม ทำให้อาเซียนมีระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ 2 ระดับ ประเทศสมาชิกใหม่เหล่านี้จึงได้รับการผ่อนผันระยะเวลาใการดำเนินการตามพันธกรณี แต่ประเทศสมาชิกใหม่เหล่านี้ก็ได้ให้ความร่วมมือในการปรับปรุงและพัฒนาในด้านต่างๆ อันจะเื่อ้อำนวยต่อการลงทุน ประกอบกับการที่ประเทศสมาชิกอาเซียนเดิมก็ได้พยายามให้ความช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาต่างๆ โดยการประชุมปรึกษาหารือและการเสนอความคิดเห้นร่วมกันของหน่วยงานและคณะทำงานใรระดับต่างๆ ทั้งภายในประเทศสมาชิกแต่ละประเทศและระหว่างประเทศ และยงมีการกำหนดแผนงานอื่นๆ เพ่อส่งเสริมให้การดำเนินการตาม วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
จากการพิจารณาึถงสภาพเศรษบกิจและการลงทุนของประเทศสมาชิกอาเซียน จะเห้นได้ว่า การลงทุนในประเทศสมาชิกอาเซียนมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นทุกปีกระทั่งในปี 1998 ซึ่งเกิดวิกฤตเศรษบกิจ ทำให้การลงทุนในภูมิภาคอาเวีนลดลงอันเนื่องมาจากสภาพเศรษฏฐิจของประเทศสมาชิกอาเซีนเอง และของประเทศผุ้ลงทุน ทั้งจากยุโรป ญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา ซึ่งต่างก็ได้รับผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจที่แผ่ขยายไปทั่วโลกประกอบกับการถูกแบ่งส่วนทางการตลาดจากการรวมกลุ่มทางเศรษบกิจในภูมิภาคต่างๆ ซึ่งสร้างความสนใจให้แก่ประเทศผุ้ลงทุนให้หันไปลงทุนในปละนอกประเทศ
จากการศึกษาหลักการและการดำเนินการต่างๆ ในการจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียน แม้จะเกิดปัญหาหลายประการ ซึ่งดดยภาพรวมของอาเวียนอาจส่งผลกระทบด้านลบในระยะสั้นพอสมควร จากการที่ประเทศสมาชิกต้องสูญเสียรายได้บางส่วนจากการลดภาษี ความไม่พร้อมทีจะแข่งขันกับอุตสาหกรรรมจากต่างประเทศ ระดับการพัฒนาทางเศรษบกิจที่แตกต่างกันระหว่งประเทศสมาชิกเดิมกับประเทศสมาชิกใหม่ และความไม่พร้อมในโครงสร้างพื้นฐานทางเศณษฐกิจ ความผันผวนทางเศราฐกิจอาจส่งผลให้ความร่วมมือชะงักงันหรือเกิดควาทล่าช้ากว่ากำหนด แต่ในระยะยาวเขตการลงทุนอาเซียนจะส่งผลในด้านบวกแก่ประเทศสมาชิกอยางมาก เนื่องจากการขยายจำนวนประเทศสมาชิก ทำให้อาเซียนกลายเป็นตลาดขนาดใหญ่ และมีทรัยพากรธรรมชาิตท่อุดมสมบูรณื ซึ่งจะดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ และการลงทุนจากต่างประเทศจะเป็นสื่อนำความช่วยเลือทางเทคนิคเข้าประเทศ ซึ่งจะทำให้อาเว๊ยนเพิ่มอำนาจต่อรองทางการค้า และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลกมายิ่งขึ้น อีกทั้งยังช่วยลดการแข่งขันระหว่งประเทศสมาชิกในการให้ปสิทธิประโยชน์ด้านการลงทุนแก่การลงทุนจากต่างประเทศนอกจานั้นเขตการลงทุนอาเซียนยังอาจจะช่วยแก้ปัญหวิฏฟติเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นทั่วทุกภูมิภาคเพราะการร่วมมือกันจะทำให้มีโอกาสในการแก้ไขปัญหาได้ยอ่างมีประสทิธิภาพมากยิ่งขึ้น
"ความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน", กษมา มาลาวรรณ,วิทยานิพนธ์(บางส่วน)มหาวิทยาลัยรามคำแหง นิติศาตรมหาบัณฑิต,2544.
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...