วันศุกร์ที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2560

Bali Concord II (Declaration of ASEAN Concord), (2003)

              1976 ผุ้นำอาเซียน (ซึ่งขณธนันมีห้าประเทศ ได้แก่ อินโดนิเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์และไทย) ลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียนฉบับที่ 1 (DEClaration of ASEAN Concord I : Bali Concord I) ในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 1 ณ เมืองบาหลี ประเทศอินโดนิเซีย โดยมีเป้าหมายหลักในการักษาเสถียรภาพและความมั่นคงในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมาเมื่ออาเซียนสามารถสร้างความมั่นคงทางการเมืองได้ในระดับหนึ่งแล้วอาเซียนก็ได้ตกลงกำหนดวิัยทัศน์อาเซียน 2020 (ASEAN Vision 2020) ผุ้นำอาเซียนในขณะนั้นเห้ฯว่าอาเซียนพร้อมแล้วทั้งด้านการเมืองภายในปประเทศและระหว่างประเทศ อาเซียนควรหันมาให้ความสำคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเพื่อพัฒนาศักยภาพของภูมิภาค อาเซียนจึงได้นำวิสัยทัศน์อาเซียน 2020 มาขยายผลเป็นแผน "แผนปฏิบัติการฮานอย (Ha Noi Plan of Action : HPA) ขึ้นในปี ค.ศ. 1998 เพื่อที่จะเป็นแผนการพัฒนาอาเวียนไปสู่เป้าหมายที่กำหนดไว้ในวิสัยทัศน์อาเซียน 2020 จากนั้นก็ได้มีประกาศ ความคิดริเร่ิมเพื่อากรรวมกลุ่มของอาเซียน (Initiative for ASEAN Integration : IAI) และแผนงนการรวมกลุ่มของอาเซียน (Roqdmap for Integration of ASEAN : RIA เพื่อเป็นแนวทางในการปรับตัวรับสมาชิกใหม่ CLMV และกำหนดทิศทางในการร่วมมือพัฒนาภูมิภาค
             ต่อมาในการประชุมสุดยอดผุ้นำอาเซียนครั้งที่เก้า เมื่อวนที่ 7 ตุลาคม ค.. 2003 ประเทสสมาชิกอาเซียนได้ลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมืออาเซียนฉบับที่ 2 (Declaration of ASEAN Concord II : Bali Concord II ตกลงกันที่จะยายความร่วมมือในเชิงลึมกขึ้นดดยการวางเป้าหมายที่จะจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ภายในปี ค.ศ. 2020 (พ.ศ. 2563)
            จุดประสงค์หลักของการผนึกกำลังของประเทศสมาชิกอาเซียนสู่การเป็นประชาคมอาเว๊ยนนั้นคือการทำให้สมาชิกอาเวียนมีความใกล้ชิดและเป็นอนหนึ่งอันเดียวกันมากขึึ้น ความท้าทายรูปแบบใหม่ท่เกิดจากกระแสโลกาภิวัตน์ เช่น วิกฤติเศราฐฏิจโลกในปี ค.ศ. 1997 (วิกฤตต้มยำกุ้ง) สงครามการก่อการร้าย และากรรวมกลุ่มประเทศของสไภาพยุโรปเพื่อสร้างอำนาจต่อรองทางเศราฐกิจ ส่งผลให้อาเซียนต้องปรับตัวปรับเป้หมายให้สามารถรัมือกับปัญหาที่มีลักษณะข้ามชาติเหล่านี้ได้อย่างมีประสทิะิภาพ การรวมตัวเป็นประชาคมอาเวียนจะก่อให้เกิดความแข็งแกร่ง ทั้งทางด้านเศราฐกิจ ความมั่นคง และสังคมวัฒนธรรม และสามารถรับมือกับภัยคุกคามในด้านต่างๆ ได้มีประสทิะิภาพดีกว่าที่แต่ละประเทศต่างจัดการกนเอง การร่วมตัวเป็นประชาคมยังเป้นการสร้งเสริมโอกาสให้กับภุมิภาคและประเทศสมาชิกในภุมิภาคในการเจรจาต่อรองกับภุมิภาคอื่นๆ หรือประเทศอื่นๆ ได้มากขึ้น และเมื่อใดที่ประชาชนในภุมิภาคมความรุ้สึกเป้นอันหนึ่งอันเดียวกันปัญหาทะเลาะเบาะแว้งระหว่างประเทศเพื่อนบ้านก็จะลดลง
            ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียนฉบัยที่สองยังได้ระบุวง่า การที่จะก่อให้เกิดการพัฒนาทางเศราฐกิจของภูมิภาคอย่างยั่งยืนได้นั้น อาเซียนจจะต้องมีบรรยากาศทางการเมืองที่อยุ่บนรากฐานของผลประโยชน์ร่วมกันอันเกิดจากความร่วมมือทางเศรษฐกิจและความเป็นปึกแผ่นทางดารเมือง ยิ่งไปกว่านั้นกลัการ ซึ่งอดีตนายกรัฐมนตรี ดร.มหาเธร์ โมฮัมหมัด ได้นำเสนอขณะที่ประเทศต่างๆ ในเอเซียนตะวันออกเฉียงใต้กำลังเชิญวิกฤติเศรษฐกิจใน ค.ศ. 1997 (วิกฤติต้มยำกุ้ง) ก้ได้รับการบรรจุในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียนฉบับที่สอง นี้ด้วย ดร.มหาเธร์ ได้อธิบายว่าประเทศเพื่อนบ้านที่ยากจนจะเป็นบ่อเกิดของปัญหาซึ่งอาจกลายเป็นปัญหาข้ามชาิมากกระทบต่อประเทศตนเองได้อในอนาคต ดังนัเ้นจึงควรให้คฝามสำคัญกับความช่วยเหลือประเทศเพื่อนบ้านให้พัฒนาไปพร้อมๆ กันหลักการนี้มีอิทะิพลอย่างยิงกับนโยบายการต่างประเทศของมาเลเซียและการกำหนดวิสัยทัศน์อาเซีียน 2020 ในกาลต่อมา
           ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียนฉบับที่สอง เป็นเอกสารที่ประเทศสมาชิกอาเซียนประกาศด้วยสามประชาคมย่อย ได้แก่ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน, ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน, และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเวียน, ดังนี้
          1 ประชาคมความมั่นคงอาเวียนASEAN Security Community เป็นการรวมตัวกันของประเทศอาเซียนในเรื่องที่เน้นถึงความมั่นคง และสันติภาพ ที่จะเกิดขึ้นภายในภุมิภาค เพื่อให้สามารถอยุ่ร่วมกันได้อย่างสันติ อันจะก่อให้เกิดเสถียรภาพทั้งในระดับภุมิภาคและระดับโลก ประชาคมนี้จะเน้นเรื่องการรักษาความมั่นคงร่วมกัน ผ่านความร่วมมือทางการเมือ เศรษบกิจ สังคมและวัฒนธรรม ตามเป้าหมายวิสัยทัศน์อาเว๊ยนโดยแต่ละประเทศสมาชิกอาเวียนจะสามารถมีนโยายการต่างประเทศของตนได้ ดังนั้นการสร้างประชาคมความมั่นคงในความหมายนี้จึงไม่ใช่การสร้างแนวร่วมทางทหาร พันธมิตรหรือการมีนดยบายการต่างประเทศร่วมกัน
 2 ประชาคมเศรษฐฏิจอาเวียน เป็นการรวมตัวทางด้านเศรษฐกิจเพื่อจะทำให้เกิดเสถียรภาพ ความมั่งคั่งและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันในะดับนานาชาติ โดยมีเป้าหมายทำให้อาเว๊ยนเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกันเชื่อมโยงกับห่วงโซ่อุปทานของเศรษฐกิจโลกได้อย่างเป็นพลวัตร
          3.ประชาคมสังคมแลวัฒนธรรมอาเซียน ASCC-ASEAN Socio-Cultural Community) : ประชาคมนี้มุ่งเน้นที่จเสร้างประชาคมที่เป้นปุ้นสวนและเื้ออาทรต่อกัน ( a community of caring societies) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนนั้นมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เกิดความรู้สึกเป็นหนึ่งเดียวกันของประชาชนอาเว๊ยนโดยประชาคมนี้จะส่งเสริมให้เกิดสำนึกอาเซียน (the Mutual ASEAN Spirit) นอกจานั้นประชาคมนี้มุ่งที่จะลอผลกระทบที่จะเกิดต่อประชาชนจากการร่วมตัวทางเศณาฐกิจและการเมือง เช่นปัญหาจากการประชากรที่เพิ่มขึ้น ปัญหารการว่างงาน ปัญหาสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมและมลพิษข้ามชาติ การป้องกันสาธารณภัย การสร้างความร่วมมือทางสาธารณสุข และการสร้างโอกาศและความเท่าเทียมให้กับผุ้ด้อยโอกาส อาทิ ผุ้พิการ เด็กและสตรี ผุ้ที่อยู่ในชนลทเป็นต้น...(wiki.kpi.ac.th/..ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียนฉบับที่ 2)

วันพฤหัสบดีที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2560

Initiative for ASEAN Integration : IAI (2002)


              ความริเริ่มเพื่อการรวมตัวของอาเซียน Initiative for ASEAN Integration : IAI
               ที่ประชุมสุดยอดอาเซียนอยา่งไม่เป็นทางการตั้งที่ 4 ที่สิงคโปร์ เห็นพ้องเรื่อง "ความริเร่ิมเพื่อการรวมตัวของอาเซียน" เพื่อเร่งวรัดการรวมตัวของประเทศสมาชิกอาเวียน ดดยการลดช่องว่างด้านการพัฒนา ระหว่างประเทศสมาชิกเดิม 6 ประเทศ กับสมาชิกใหม่
               IAI มีจุดประสงค์เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถของประเทศ CLMVเพื่อลดปัญหาความยากจนยกระดับความเป็นอยุ่ของประชากร พัฒนาระบบข้าราชการ และเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ดดยมีแผนงาน 6 ปี ระหว่างปี 2001-2008 รอบรับ โดยมีกลไกในการจับคู่ระหว่าง ASEAN 6 กับประเทศ CLMV ในแต่ละสาขาความร่วมือ อาทิ โครงสร้างพื้นฐาน(ขนส่งและพลังงาน) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ความยากจนและคุณภาพชีวิต การท่องเที่ยว การรวมตัวทางเศณาฐฏิจและสาขาย่อยด้านบรรยากาศการลงทุน และสาขาทั่วไป ทั้งนี้ ผุ้เสนอโครงการจะให้เงินสนับสนุน โดยอาจเป็นเต็มจำนวน หรือร่วมกันระหว่าง ASEAN 6 กับประเทศคู่เจรจา องค์กรเพื่อการพัฒนาต่างๆ และประเทศนอกภูมิภาค
              ภายหลังจากการดำเนินการตาม เวอร์แพลน ได้ 3 ปี สำนักเลขาธิการอาเซียนจัดทำ มิดเทอมรีวิว ของ IAI เวอร์แพลน เมื่อพฤศจิกายน 1995 โดยได้มีการเพิ่มสาขาความร่วมมือ และทบทวนกลไก co-shepherd ดังนี้
              สาขาโครงสร้างพื้นฐาน กัมพูชาเป็นประเทศผุ้ประสานงาน โดยมี อินโดนีเซียเป็นประธานกลุ่มด้านพลังงานและไทยเป็นประธานกลุ่มด้านการขนส่ง
               สาขาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มีลาวเป็นประเทศผู้ประสานงาน โดยมีประเทศบรูไนและสิงคโปร์เป็นประธานกลุ่ม
               สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีประเทศพม่าเป็นผุ้ประสานงาน โดยมาเลเซียเป็นประธานในกลุ่มนี้
               สาขาการรวมตัวทางเศรษฐกิจ มีเวียดนามเป็นประเทศผุ้ประสานงาน โดยฟิลิปปินส์เป็นประธานกลุ่มและสาขาย่อย บรรบากาศการลงทุน มีกัมพูชาเป็นประเทศประสานงาน ดดยมีประเทศไทยและสิงคโปร์เป็นประธานกลุ่ม
               สาขาท่องเที่ยว มี พม่าเป็นประเทศผุ้ประสานงาน โดยมี อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์เป็นประธานกลุ่ม
               สาขาความยากจนและคุณภาพชีวิต มีลาวเป็นประเทศผู้ประสานงาน โดยมีอินโดนีเซียและมาเลเซียเป็นประธานกลุ่ม
              สาขาเรื่องทั่วไป มีเวียดนามเป็นประเทศผู้ประสานงาน โดยมีฟิลิปปินส์เป็นประธานกลุ่ม
              IAI Work Plan 1 (2001-2008)
              ภายใต้ แผนงาน IAI I มีการเสนอโครงการทั้งสิ้น 258 โครงการ โดยเป็นโครงการที่มีงบประมาณสนับสนุน 218 โครงการ( ณ วันที่ 17 ตุลาคม 2009) สิงคโปร์ให้เงินสนนนับสนุนโครงการ IAI มากที่สุดในประเทศอาเซียน 6 ประมาณ 22.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐหรือคิดเป็น 73.64% ของเงินที่ประเทศอาเซียน 6 สนับสนุนโครงการ IAI ซึ่งส่วนใหญ่เป็นโครงการสาขาพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยใช้ศูนย์ IAI Centre ที่สิงคโปร์จัดตั้งขึ้นในแต่ละประเทศ CLMV เป็นศูนย์ฝึกอบรม
             ประเทศไทยให้ความช่วยเหลือวิภาคีแก่ CLMV มากที่สุดในบรรดาประเทศอาเซียน 6 โดยมูลค่าเงินมากกว่า 100 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ตั้งแต่ปี 2006-ปัจจุบัน)
              ภายใต้ แผนงาน IAI 1 มีโครงการที่ได้รับเงินทุนสนับสนุนจากประเทศคู่เจรจาและองค์กรเพื่อการพัฒนามีมูลค่าร่วม 20.18 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ โดยประเทศคู่เจรจาที่ให้ความช่วยเหลือมากที่สุด 5 อนดับแรกได้แก ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี อินเดีย นอร์เวย์ และสหภาพยุโรป รวม 17.64 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือคิดเป็น 87.1% ของเงินทุนสนับสนุนทั้งหมดที่ได้รับจากประเทศคู่เจรจา
              เคยมีความพยายามจะจัดตั้งกองทุนพิเศษเพื่อลดช่องว่างการพัฒนา ASEAN Special Fund แต่อาเซียนยังคงเห้ฯว่า อาจไม่มีความจำเป็นที่จะจัดตั้งกองทุนพิเศษสำหรับเรื่องนี้เป็นการเฉพาะ แต่ควรจะมุ่งระดมทุนสำหรับกองทุนที่มีอยุ่แล้วมากกว่า เช่น ASEAN Development Fund โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เห็นว่า ควรเชิญชวนให้ ประเทศคู่เจรจาร่วมสมทบทุนกองทุนดังกล่าวมากขึ้น นอกจากนัน ที่ประชุม IAI Task Force เห็นว่าควรเร่งดำเนินการระดมทุนในหลายช่องทางไปพร้อมๆ กัน รวมทั้งการระดมทุนจากผุ้มีผลประโยชน์เกี่ยวข้องในภูมิภาค เช่น ภาคเอกชน
            IAI Work Plan 2 (2009-2015)
            ที่ประชุมผุ้นำอาเซียน ครั้งที่ 14 ที่ประเทศไทยเมื่อเดือน กุมภาพันธ์ 2009 ได้ให้ความเห็นชอบ ต่อแผนงานความริเริ่มเพื่อการรวมตัวของอาเซียนฉบับที่ 2 และเห็นควรให้ใช้เป็นกรอบการดำเนินงาน IAI ระหว่างปี 2009-2015 ต่อไปโดยในส่วนของประเทศไทย รัฐสภาได้ให้ความเห็นชอบต่อร่างแผนงานเมื่อเดือนมกราคม 2009
            ปัจจุบัน อาเซียนอยู่ในระหว่างการดำเนินการตามแผนงาน IAI ระยะที่ 2 ซึ่งมีสาระในการดำเนินงานต่างๆปจากแผนงานระยะที่ 1 คือ แผนงานระยะที่ 2 จะขยายแผนการเสริมสร้างขีดความสามารถของกลุ่ม CLMV ให้สอดคล้องกับแผนการจัดตั้งประชาคมอาเซียนทั้ง 3 เสาหลัก ได้แก่ประชาคมเศราฐกิจ ประชาคมการเมือง และความมั่นคง และประชาคมสังคมแลวัฒนธรรมเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการเป็นประชาคมอาเวียนในปี 2015 ซึ่งรวมถึงการช่วยเหลือประเทศ CLMV ให้สามารถดำเนินการตามพันธกิจและลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการรวมตัวของอาเซียน และยังคงเน้นการเสริมสร้างขีดความสามารถ ทั้งนี้ ดดยอาเซียนได้มอบหมายให้คณะทำงาน IAI ซึ่งประกอบด้วยเอกอัครราชทูตผุ้แทนถาวรของอาเซียนของ 10 ประเทศ เป้นผู้กำดับนโยบายและขับเคลื่อนการดำเนินการภายใต้แผนงานฯ ให้ทูตถารชของ CLMV ประจำอาเซียนหมุนเวียนกันเป็นประธานตามลำดับตัวอักษรเป็นเวลาคนละ 1 ปี ปฏิทิน โดยให้มีการประชุมปีละไม่ต่ำกว่า 4 ครั้ง และอาจมการประชุมนอกเหนือจากนั้นได้ในกรณีที่มีความจำเป้ฯ ท้งี้ สำหรับการดำเนินงานของ IAI ให้รายงานต่อ ACC
            ปัจจุบัน ออท.คผถ.เมียนมาร์ทำหน้าที่เป็นประธาน IAI Task Forc จนถึงสิ้นปี 2012
             ภายใต้ IAI Work Plan II มีโครงการที่ได้รับเงินทุนสนับสนุจากประเทศอาเซียน 6 มีมูลค่า 12.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยประเทศที่ให้ความช่วยเหลือมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ สิงคโปร์ บรูไนฯ และอินโดนีเซียและจากประเทศคู่เจรจาและองค์กรเพื่อการพัฒนามีมูลค่าร่วม 1.59 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ โดยประเทศคู่เจรจาที่ให้ความช่วยเหลือมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธาณรรัฐเกาหลี และ JICA
            การดำเนินการในส่วนของไทย
            ในกรอบ IAI ตั้งแต่ปี  2000 ถึง 2001 ไทยใรโครงการทั้งสิ้น 18 โครงการมูลค่ารวม 1,333,662 ดอลลาร์สหรัฐ(เป็นมูลค่าที่รวมเงินสมบทจากองค์กร ประเทศผุ้ให้ความช่วยเหลืออ้วย -สถานะ ณ เดือน กรกฎาคม 2001) ไทยเป็น co-sheperd กับกัมพูชาในสาขาย่อยด้ารการคมนาคม ภายใต้คตวามร่วมือสาขาโครงสร้างพื้นฐานและสาขาย่อยด้านบรรยากาศการลงทุน ภายใต้ความร่วมมือเพื่อากรรวมตัวทางเศรษฐกิจ
          ในระหว่างปี 2007-2011ไทยดำเนินโครงการดังนี้
           - โครงการ An Educational Program to Assist CLMV Countries in Implementing Multimodal Transport Operation ปี 2008 โดยกรมขนส่งทางน้ำร่วมกันกรมอาเซียน
            - โครงการ Successfur Operationlization of ASEAN Framwork Agreement on Multimodal Transport" ระยะที่ 2 ปี 2009 - ปัจจุบัน โดยกรมขนส่งทางน้ำร่วมกับกรมอาเซียน ซึ่งขณะนี้ได้ ดำเนิการเสร็จสิ้นแล้วครบทั้ง 4 ประเทศ
            - การประชุมเชิงปฏิบัติการ ในหัวข้อ Enhancing Investment Climate in CLMV Countries โดยการทรวงการต่างประเทศ ร่วมกับ BOI และJIVA เมื่อวันที่ 6-7 มีนาคม 2008 ที่กรุงเทพฯ
            - การให้ทุนการศึกษาระับปรญญาโทประจำปีการศึกษา 2009 แก่ประเทศมชิกอาเซียนจำนวน 10 ทุน โดยกรมอาเซียนร่วมกับำนักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างปรเทศได้พิจารณาคัดเลือกสาขาการศึกษาที่จะเป็นประโยชน์และสนับสนุนการดำเนินการของ IAI ในการลดช่องว่างเพื่อการพัฒนาในอาเวียน 7 สาขา
         
คณะทำงานลดช่องว่างการพัฒนาของอาเซียน คณะกรรมการนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศมีคำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการดำเนินการตาม AEC Bluprint และคณะอนุกรรมการดังกล่าวได้แต่งตั้งคณะทำงาน 11 คณะ รวมทั้งคณะทำงานลดช่องว่างการพัฒนาในประเทศอาเซียน ซึ่งมีอธิบดีกรมอาเซียนเป็นประธานคณะทำงานมีหน้าที่ปฏิบัติตาม AEC Blueprint ใน 2 ด้าน คือ การส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และการลดช่องว่างการพัฒนา หรือ ความริเร่ิมเพื่อการรวมตัวของอาเวียน
             การดำเนินงานระยะต่อไป
             IAI Task Force กำลังพิจารณาเร่งรัดการดำเนินโครงการภายใต้ IAI Work Plan 2 โดยกำหนดให้ประเทศอาเวียนเดิม 6 ประเทศ จัดทำรายงานการดำเนินโครงการลดช่องว่างแก่ CLMV ภายใต้ IAI Work Plan 2 ทุก 6 เดือน
            โดยที่ในระยะที่ผ่านมา ไทยเน้นการให้ความช่วยเหลือทวิภาคีรวมทั้งการให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศ CLMV ผ่านกรอบความร่วมมืออื่นๆ ที่ไทยมีบทบาทนำ เช่น GMS, ACMECS มากกว่าการให้ความช่วยเลืหอในกรอบ IAI จึงทำให้บบาทของไทยในกรอบ IAI ไม่เด่นชัดนักเมือเปรียบเทียบกับประเทศอาเซียน6 บางประเทศ โดยเฉพาะ สิงคโปร์ ดังนั้น จึงมีข้อเสนอจากออท. ผุ้แทนภาวรประจำกรุงจาการ์ตาว่า ควรเพิ่มพูนบทบาทของไทยในกรอบ IAI ด้วยการใช้เครื่องมือและความช่วยเลหือระดับทวิภาคีที่ให้แก่ CLMV ผ่าน พร. ให้มารวมอยุ่ในกรอบ IAI
            ต่อมา กรมอาเซียนและ สพร. โดยควาเห็นชอบจากกระทรวง ฯ จึงเห็นควรให้นับรวมมุลค่าคามช่วยเลหือระดับทวิภาคี ไตรภาคี และอนุภูมิภาคอื่นๆ ที่ไทยให้แก่ CLMV ผ่าน สพร. เพื่อประกาศเป็นสวนหนึ่งของความช่วยเหลือที่ไทยให้ในกรอบ IAI ด้วย ซึ่งที่ผ่านมาในระหว่างปี 2008-2011 สพร.ได้ให้ความช่วยเหลือในรูปแบบทุนการศึกษาและฝึกอบรมระดับต่างๆ แก่ CLMV เป็นเงนิ 694.944 ล้านบาท (22.5ล้านดอลลาร์สหรัฐ)
           ในการประชุม IAI Task Force ครั้งที่ 40 เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2012 สำนักเลขาธิการอาเวียนรายงานว่ากำลังจะเสนอโครงการจัดทำ Mid term review สำหรับ  IAI Work Plan 2 โดยอาจพิจารณารวมการดำเนินการในส่วนอื่นๆ เช่น แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อโยงระหว่างกันในอาเซียน หรือกรอบการทำงานด้านการพัฒนาอื่นๆ เข้ารมาอยุ่ในการประมวลด้วย
          โดยที่การส่งเสริมควาเชื่อมโยงเป็นยุทธศาสตร์สำคัญของอาเวียนและไทย ในช่วงปี 2012-2015 ไทยจะให้ความสำคัญกับการเสริมสร้างศักยภาพด้านการเชื่อโยง แก่ CLMV โดยมีโครงการในระยะต้นคือ การจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ และโครงการฝึกอบรมด้านการบริหารจัดการข้ามพรมแดนในสาชาที่ CLMV สนใจ...(www.mfa.go.th/..asean-media-center-...pdf)

วันพุธที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2560

ASEAN Investment Area : AIA & Ha Noi Plan of Action (1998)

            การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 6 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 15-16 ธันวาคม 1998 ณ กรุงฮานอย ประเทสเวียดนาม ที่ประชุมได้ตกลง "ปฏิญญาฮานอย" เพื่อประกาศเรื่องการรับกัมพูชาเขเ้าเป็นสมาชิกลำดัที่สิบของอาเซียนและยืนยันเจตนารมณ์ที่จะร่วมมือกันอย่งเร่งด่วนและใกล้ชิดในการปฏิรูปทางเศราฐกิจและการเงิน เพื่อแก้ไขปัญหาทางเศราฐกิจและสังคมที่เกิดจากวิกฤตกาณณ์ทางเศราฐกิจของภูมิภาค ที่ประชุมได้ประกาศการจัดตั้งเขตการลงทุนเาอซียน ASEAN Investment Area : AIA เพื่อส่งเสริมการลงทุนในภูมิภาค รวมทั้งเห็นพ้องให้ลดปัญหาความยากจนให้มีการพัฒนาชนบทซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุดสำหรับนโยบายในการฟื้นฟูและพัฒนาของประเทศสมาชิก อาเซียนได้ให้การรับรอง "แผนปฏิบัติการฮานอย" Ha Noi Plan of Action ซึ่งเป็นแผนปฏิบัติการ 6 ปี ครอบคลุมปี 2542-2547 เพื่อเป็นแนวทางในการทำให้อาเวียนบรรลุวิสัยทัศน์อาเซียน ค.ศ. 2020 (ASEAN Vision 2020) ที่ได้ประกาศไว้ในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียนอย่างไม่เป้ฯทางการ เนื่อในโอกาศครอบรอบวันก่อตั้งอาเซียนครบ 30 ปี เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 1997 ที่กรงุกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ซึ่งในการประชุมครั้งนี้นอกจากจะมีการประกาศวิสัยทัศน์อาเซียนแล้ว ยังมีความเห้ฯพ้องต่อข้อตกลงความเข้าใจเรื่อง การจัดตั้งมูลนิธิอาเซียน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมด้านการศึกษา การฝึกอบรม สุขภาพและด้านวัฒนธรรม โดยมีการจัดให้เยาชนและนักเรียนอาเซียนได้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกัน..
(www.tm.mahidol.ac.th..(doc) ตอนที่ 3 การประชุมสุดยอดอาเซียน(ASEAN SUMMIT) การประชุมสุยอดอาเซียน)
ASEAN Investment Area AIA คือ เขตการลงทุนอาเซียน ซึ่งผุ้นำอาเซียได้ริเริ่มขึ้นในปี 1998 เพื่อให้อาเซียนเป็นแหล่งดึงดูดการลงทุนทั้งจาำภายในและภายนอกอาเซียน โดยจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียนให้เสร็จภายในปี พ.ศ. 2553 ซึ่งการลงทุนภายในเขตการลงทุนอเซียนจะต้องได้รับการปฏิบัติเยี่ยงคนในชาติหรือสิทธิพิเศษเท่าที่แต่ละประเทศจะให้ได้..(www.aseanthai.net/..AIA ย่อมาจาก..)
                 Ha Noi Plan of Action แผนปฏิบัติการฮานอย หลังจากผุ้นำอาเซียนได้รับรองเอกสารวิสัยทัศน์อาเซียน 2020 ASEAN Vision 2020 ขึ้นในโอกาสครบรอบ 30 ปี การก่อตั้งอาเซียน เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 1997 ชาติสมาชิกอาเวียนได้ตกลงกันในวิสัยทัศน์อาเวียน ได้แก่ การเป็นวงสมานฉันท์แห่งประชาชาติเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ การเป็นหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างีพลวัติและอยู่ร่วมกันอย่างสันติ มีเสถียรภาพและความมั่งคั่ง มุ่งปฏิสัมพันธ์กับประเทศภายนอก ภูมิภาคเอเซียน และเป็นชุมชนที่สังคมเอื้ออาทรต่อกัน ต่อมาในการประชุมสุดยอดอาเวียนครั้งที่ 6 เมื่อเดือนธันวาคม ค.ศ. 1998 ผุ้นำประเทศอาเซียนได้ร่วมกันจัดทำแผนปฏิบัติการฮนอยขึ้นเพื่อที่จะเป็นแนวทางในการทำให้วิสัยทัศน์อาเซียน 2020 เกิดผลในทางปฏิบัติ
               แผนปฏิบัติการนี้เป็นแผนปฏิบัติการฉบัยบแรกที่ได้กำหนดกิจกรรมและดครงการต่างๆ ให้ประเทศสมาชิกยึดถือ กล่าวคือเป็นแผนปฏิบัติการแรกที่นำไปสู่ ประกาศความคิดริเริ่มเพื่อการรวมกลุ่มของอาเซียน (Inititive For ASEAN Interation : IAI) แผนปฏิบัติการเวียงจันทร์ (Vientiane Action Programme : VAP) และแผนงานการรวมกลุ่มของอาเซียน (Roadmap for Integration of ASEAN : RIA) เป็นต้น แผนปฏิบัติการฮานอยได้เน้นความสำคัญอย่างยิ่งในแผนงานด้านเศรษฐกิจเนื่องจากในขณะนั้นประเทศต่างๆ ในเอเซียตะวันออกเฉียใต้ต้องเผชิญกับวิกฤติเศราฐกิจและการเงินโลก ค.ศ. 1997 (วิกฤตต้มยำกุ้ง) เศราฐกิจฟองสบู่ที่แตกในประเทศไทยนั้นได้ลุกลามสร้างผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นๆ อย่างรุนแรง ดังนั้นแผนปฏิบัติการฮานอยจึงมุ่งฟื้นฟูเศรษฐกิจและเยียวยาผลกระทบทางสังคมที่เกิดจากการผันผวนทางการเงินและเศษกบิจโลก
             แผนปฏิบัติการฮานอยประกอบด้วยแผนปฏิบัติการย่อยจำนวน 10 ส่วนได้แก่
             1. เสริมสร้างความขเ้มแข็งให้กับเศรษฐกิจจุลภาคและความร่วมมือด้านการคลัง เพื่อที่จะสร้างความมั่นใและฟื้นฟูการเติบโตทางเศราฐกิจและเสริมสร้างความมั่นคงให้กับการเงินและตลาดทุนในะดับภูมิภาคอันจะส่งผลเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดวิกฤติเศรษฐกิจขึ้นอีกในอนาคต
             2.ส่งเสริมการร่วมกลุ่มทางเศรษบกิจให้มากขึน เพื่อที่จะสร้างความมั่งคั่งแลเป็นภูมิภาคที่มีศักยภาพในการแข่งขันสุงที่สินคึ้า การบริการและการลงทุนสามารถเคลื่อย้อยได้เสรี การเคลื่อนย้ายทุุ่นสมารถทำได้ง่ายขึ้น อีกทั้งสมารถชจัดความยากจนและลดความเลือมล้ำทางเด้านสังคมและเศรษฐกิจได้ โดยในส่วนที่สถงี้จะเป้ฯส่วนที่มีรายละเอียดปลีกย่อยมากที่สุดยกตัวอย่างเช่น การเร่งรัดให้เกิดเขตการต้าเสรีอาเซียน AFTA  ซึ่งจะเป็นการเปิดเสรีทางการต้าสินค้าผ่านอัตราภาษีศุลการกรพิเศษที่เท่ากัน การผสานพิธีศุลกากร สร้างมาตรฐานร่วมที่สามารถอ้างอิงได้ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน นอกจากนั้นยังระบุถึงเป้าหมายในการปฏิบัติตามกรอบความตกลงด้านการลงทุนอาเซียน และกรอบความตกลงด้านบริการอาเซียน การสร้างความมัี่นคงของมนุษย์ เช่น อาหาร ป่าไม้และสิ่งจำเป็นพ้ฯฐานอื่นๆ ของมนุษย์ การสร้างความเข้มแข็งใหกับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม การส่งเสริมและคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา การท่องเที่ยว ธุรกิจออนไลน์และการพัฒนาโครงกสร้างพื้นฐานระดับภูมิภาคอย่างการคมนาคม การส่อสาร พลังงานและการชลประทาน
             3. ส่งเสริมวิทยาศาสรตร์และการพัฒนาเทคโนโลยีและโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ โดยมีเป้าหมายที่จะจัดตั้งโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศอาเซียน(AII)
              4. ส่งเสริมการพัฒนาสังคมและการตระหนักรู้ถึงผลกระทบทางสังคมจากวิกฤติศรษฐกิจและการิงน
             5. ส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ผ่านการให้การศึกษาและการสร้างเครือข่าย อาทิ เครื่อข่ายมหาวทิยาลัยอาเซียน เครือข่ายพัฒนาทักษะสำหรับผุ้หญิง และเครือข่าวเข้าหน้าที่ของรัฐ
             6. อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแลส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยือนร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดการมลพิษข้ามชาติอย่างปัญหาหมกควัน การสร้างศูนย์พยากรณ์เฉพาะสำหรับตรวจหาไฟป่าการก่อตั้งศูนย์อาเซียนเพื่อนุรักษ์ความหลากหลายทางลีวภาพ เป็นต้น นอกจากนั้นส่วนนี้ยังมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมแผนการรักษาสิ่งแวดล้อมในระดับโลก เช่น Agenda 21 และข้อตกลงด้านสิ่งแวดล้อมนานาชาติอื่นๆ อีกด้วย
            7. เสริมสร้างสันติภาพและความมัี่นคงในภุมิภาค
            8. เพิ่มพบทบาทอาเซียนในฐานะกำลังสำคัญในการักษาสันติภาพ ความยุติธรรมและความสมส่วนทั้งระดับภูมิภาคเอเซียนแปซิฟิกและระดับโลก
            9. ส่งเสริมการตระหนักรู้ถึงอาเซียนและจุดยืนอาเซียนในฐานะสมาชิกของประชาคมโลก
            10. พัฒนาการโครงสร้างองค์กรอาเซียนและกำไกต่างๆ โดยกำหนดให้มีการทบทวนโครงสร้างอาเซียนใหม่ให้สอดคล้องกับกิจกรรมใหม่ๆ การขยายองค์กรรับประเทศสมาชิกใหม่และภานการณ์ทีเปลี่ยนปไในภุมิภาค อีกทั้งกำหนดให้มีการทบทวยบทบาทของสำนักเลขาธิการอาเซียนให้สามารถสนับสนุนการปฏิัติตามแผนปฏิบัติการฮานอยได้อย่างมีประสิทธิภาพ..(wiwi.kpi.ac.th/..แผนปฏิบัติการฮานอย)
         

วันอังคารที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2560

AREAN Summit

             การประชุมสุยอดอาเซียน ASEAN Summit เป็นการประชุมของผุ้นำสูงสุดระหว่างประเทศ สมาชิกอาเซียน ซึ่งประกอบด้วย ไทย, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์, สิงคโปร์, บรูไนดารุสซาลาม, เวียดนาม, ลาว, พม่าและกัมพูชา โดยในช่วงแรกจัดประชุมโดยหมุนเวียนกันระหว่างประเทศสมาชิก 5 ประเทศ คือ ไทย, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์และสิงคโปร์ หลังจากมีสมาชิกเพ่ิมจึงได้หมุนเวยน การจัดประชุมไปยังประเทศสมาชิกใหม่ด้วย ดดยหัวข้อการประชุมจะเป็นเรื่องการปรึกา หารือ ขอความร่วมมือ ขอฉันทมติหรือลงนามในเรื่องเศราฐกิจ แารเมือง ควมมั่นคง ด้านสังคมและวัฒนธรรมของประเทศสมาชิก ช่วงแรกของการจัดกระประชุมไม่มีการจัดเป็นประจำต่อเนื่อง แต่หลังจาก การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 7 ที่ประเทศบรูไนฯ การประชุมก็มีการจัดต่อเนื่อง ทุกปี
          ครั้งที่ 1 วันที่ 23-24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2519 ที่เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซียมีการลงนามว่าด้วยความร่วมือในเอกสาร 3 ฉบับ คือ "ปฏิญญาสมานแันท์อาเซียน", "สนธิสัญญาไม่ตรีและความรวมมือในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้"และ "ความตกลงว่าด้วยการจัดตั้งสำนักงานเลขาธิการอาเซียน"
          ครั้งที่2 วันที่ 4-5 สิงหาคม พ.ศ. 2520 ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เป้นการประชุมเนื่องในโอกาสก่อตั้งอาเวียนครบ 10 ปี โดยเน้นย้ำถึงความร่วมมือ ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนให้มีความมั่นคงแข็งแรงขึ้น รวมถึงการมุ่งพัฒนาความสัมพันธ์กับประเทศอื่นๆ นอกภูมิภาคด้วย
           ครั้งที่ 3 วันที่ 14-15 ธันวาคม พ.ศ. 2530 ที่กรงุมะนิลา ประเทศฟิลิปปิน์ มีการออก "ปฏิญญามะนิลาปี 2530" และประกาศให้ปี พ.ศ. 2535(ครบรอบ 25 ปีอาเซียน) เป็นปีการท่องเที่ยวอาเซียน มีการหารือกันเรื่องเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์แห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงประเด็นเรื่องสันติภาพเสรีภาพและความเป็นกลาง
           ครั้งที่ 4 วันที่ 27-29 มกราคม พ.ศ. 2535 ที่ประเทศสิงคโปร์ มีการออก "ปฏิญญาสิงคโปร์" และหารือกันเรื่องความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับสหประชาชาติและองค์กรระหว่างปรเทศในการตกลงกันเรื่องสันติภาพ นอกนี้ยังพิจารณาเรื่องการจัดตั้งเขตการค้า เสรีอาเซียน
           ครั้งที่ 5 วันที่ 14-15 พ.ศ. 2538 ที่กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย มีการออก "ปฏิญญากรุงเทพฯ"และลงนามในเอกสารอีก 2 ฉบับ คือ "สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์แห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้", "ความตกลงอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านทรัพย์สินทางปัญญา" การประชุมสุดยออาเซียนครั้งนี้ถือว่าเป็นการครบการหมุนเวียนกันเป็นเจ้าภาพจัดประชุมของป 5 ประเทศสมาชิก ซึ่งกินเวลา 28 ปีนับตังแต่ประชุมครั้งแรกในปี พ.ศ. 2519
           ครั้งที่ 6 วันที่ 15-16 ธันวาคม พ.ศ. 2541 ที่กรงุฮานอย ประเทศเวียดนาม มีการออก "ปฏิญญาฮานอย" และประกาศ "การจัดตั้งเขตลงทุนอาเซียน" รับรอง "แผนปฏิบัติการฮานอย" เพื่อให้อาเซียนบรรลุวิสัยทัศน์อาเซียนในปี พ.ศ. 25631 การประชุมครั้งนี้ถือเป็นการจัดการประชุมสุดยอด อาเซียนครั้งแรกของเวียดนาม หลังจากเข้าเป็นสมาชิกอาเซียน 3 ปี
           ครั้งที่ 7 วันที่ 5-6 พศจิกายน พ.ศ. 2544 ที่กรงุบันดาร์เสรีเบกาวัน ประเทศบรูไนดารุสซาลาม มีการออก "ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยการดำเนินการร่วกันในการต่อต้านการก่อการร้าย" ปรับปรุง "แผนปฏิบัติการฮานอย" สนับสนุนให้จัดตั้ง "แผนงานเพื่อการรวมตัวอาเซียน" และสภาที่ปรึกษาธุรกิจอาเซียน" หลังจากากรประชุมคร้งนี้ การประชุมสุดยอดอาเซียนก็มีจัดต่อเนื่องกันทุกปี โดยหมุนเวียนกันในหมู่ประเทศสมาชิก
          ครั้งที่ 8 วันที่ 4-5 พศจิกายม พ.ศ. 2545 ที่กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพุชา ที่ประชุมได้ลงนามความตกลงด้านการท่องเที่ยวอาเซียน และเน้นย้ำเรื่องการต่อต้านการก่อการร้าย การบริาหรจัดการทรัพยากรธรรมชาิต และให้ความสำคัญกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนมากที่สุดในการรวมตัวอาเซียน
         ครั้งที่ 9 วันที่ 7-8 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ที่เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย มีการประกาศ "ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน II " หรือ "ความร่วมมือบาหลี II" ว่าด้วยการจัดตั้งประชาคมอาเว๊ยน ซึึ่งประกอบไปด้วยประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเวียน ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธณณฒอาเซียน พร้อมทั้งรับรอง "แผนปฏิบัติการประชาคมเศราฐกิจอาเซียน"
          ครั้งที่ 10 วันที่ 29-30 พฤศจิการยน พ.ศ. 2547 ที่กรุงเวียงจันทน์ ประเทศลาว ที่ประชุมได้ลงนาม "แผนปฏิบัติการเวียงจันทน์" พร้อมทั้งรับรอง "แผนปฏิบัติการประชาคมความมันคงอาเซียน" และ "แผนปฏิบัติการประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน" และจัดตั้งกองทุนอาเซียนเพื่อการพัฒนาการประชุมสุดยอดอาเซียนเพื่อการพัฒนาการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งนี้เป็นครั้งแรกที่ประเทศลาวได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม หลังจากที่เป็นสมาชิกใหม่อาเวียนครบ 7 ปี จึงได้ลงทุนสร้างบ้านพักใหม่ทั้งหมดให้กับผุ้นำอาเซียนทุกคน ได้พักอยุ่ในช่วงระหว่างการประชุม เพื่อให้ได้บรรยาการเหมืออยู่บ้าน
  ครั้งที่ 11 วันที่ 12-14 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ที่กรงุกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ที่ประชุมได้ลงนาม "ปฏิญญากัวลาลัมเปอร์ว่าด้วยการจัดทำกฎบัติอาเซียน" และยกร่างกฎบัตรอาเซียน
            ครั้งที่ 12 วันที่ 9-15 มกราคม พ.ศ. 2550 ที่เมืองเซบู ประเทศฟิลิปปินส์ ที่ประชุมได้ลงนาม "ปฏิญญาเซบูเพื่อมุ่งไปสู่ประชาคมที่มีความเื้ออาทรและแบ่งปันที่เป็นหนึ่งเกี่ยว", "ปฏิญญาเซบูว่าด้วยการเร่งรัดจัดตั้งประชาคมภายในปี พ.ศ.2558" และ "ปฏิญญาเซบูว่าด้วย แผนงานเรื่องกฎบัตรอาเซียน"
            ครั้งที่ 13 วันที่ 18-22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ที่ประเทศสิงคโปร์ มีการออก "ปฏิญญาสิงคโปร์ว่าด้วยกฎบัตรอาเซียน" พร้อมทั้งรับรอง "ปฏิญญาแผนงานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน" และ "กฎบัตรอาเซียน" ในวาระครอบรอบ 40 ปีอาเซียน
            ครั้งที่ 14 วันที่ 26 กุมภาพันธ์- 1 มีนาคม พ.ศ.2552 ที่ชะอำ หัวหิน พัทยา ประเทศไทย ที่ประชุมได้ลงนาม "ปฏิญญาชะอำ-หัวหิน ว่าด้วยแผนงานสำหรับประชาคมอาเซียนปี พ.ศ. 2552-2558" และรับรอง "แผนงานข้อริเริ่มเพื่อการรวมตัวของอาเซียนฉบับที่ 2 พ.ศ. 2552-2558 ", "แผนงานการจัด ตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน" แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมแลวัฒนธรรมอาเซียน"
            ครั้งที่ 15 วันที่ 23-25 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ที่ชะอำ จังหวัดเพชรบุรี และอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ฺประเทศไทย มีการหารือเรื่อง "เชื่อมโยงประชาคม สร้างเสริมประชาชน" และรับรอง "อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลียนแปลงสภาพภูมิอากาศสมัยที่ 15", "ปฏิญญาชะอำ-หัวหิน ว่าด้วยการเสริมสร้างความร่วมมือด้านการศึกษาเพื่อบรรลุประชาคม อาเซียนที่เื้ออาทรและแบ่งปัน", "แถลงการณ์ผุ้นำอาเซียนว่าด้วยการเชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมในอาเซียน", "แถลงการณ์ชะอำ-หัวหิน ว่าด้วยความร่วมมือเกี่ยวกับความมั่นคงด้านอาหารและการพัฒนพลังงานชีวภาพในกรอบอาเซียนกับประเทศ +3", "แถลงการณ์ชะอำ-หัวหิน ว่าด้วยการจัดการภัยพิบัติของการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก"
           
ครั้งที่ 16 วันที่ 8-9 เมษายน พ.ศ. 2553 ที่กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม มีการหารือกันเรื่อง "มุ่งสู่ประชาคมอาเซียน : จากวิสัยทัศน์สู่การปฏิบัติ", "การจัดทำแผนแม่บทว่าด้วยการเสริมสร้างเครือข่าย เชื่อมโยงในภุมิภาค" และลงนามในพิธีการว่าด้วยกลไกระงับข้อพิพาทของกฎบัตรอาเซียน
            ครั้งที่ 17 วันที่ 28-30 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ที่กรงุฮานอย ประเทศเวียนดนาม มีการหารือกนเรื่อง "ก้าวสู่ความเป็นหนึ่งเกียวกันของอาเซียน : จากความปรารถนาสู่ปฏิบัติการ" พร้อมทั้งประกาศปฏิญญา ฮานอยซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองสิทธิสตรีและเด็กในภูมิภาคอาเซียน ตกลงจะจัดตั้งคณะกรรมการประสานงานระหว่างกันในอาเซียนเพื่อประสาน และกำกับดุแลการปฏิบัติงาน ลงความเห้ฯที่จะรับสหรัฐฯ กับรัฐเซียเข้าเป็นสมาชิก ของการประชุมสุดยอดเอเซียตะวันออกอย่างเป้ฯทางการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 เป็นต้นไป

            ครั้งที่ 18 วันที่ 7-8 พฤษภาพคม พ.ศ. 2554 ที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย มีการหารือกันเรื่อง "ความจำเป็นในกาบรรลุถึงความเป็นประชาคมอาเซียน" โดยมีจุดมุ่งหมายให้ประชานเป็นศูนย์กลาง และมีบทบาทสำคัญอยู่ในประชาคมโลกภายในปี พ.ศ.2565 มีการเสนอให้เตรียมร่างปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยประชาคมอาเซียนในประชาคมแห่งประชาชาติโลกเพื่อลงนามในที่ประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 19 
            ครั้งที่ 19 วันที่ 17-19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ที่เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ที่ประชุมได้ลงนามใน "ปฏิญญาบาหลีว่าด้วยประชาคมอาเซียนในประชาคมโลก", "ปฎิญญาว่าด้วยความเป็นอันหนึ่ง อันเดี่ยวกันของอาเซียนในความหลากหลายสู่การสร้างความแข็งแกร่งให้ประชาคมอาเวียน" และมีมติให้จัดตั้งศูนย์ ประสานงานอาเซียนเพื่อให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและจัดการกับผลกระทบจากภัยพิบัติ
         
ครั้งที่ 20 วันที่ 3-4 เมษายน พงศ. 2555 ที่กรุงพนมเปญประเทศกัมพุชา ที่ประชุมได้ลงนามใน "ปฏิบัติการพนมเปญ ว่าด้วยกานสร้างประชาคมอาเซียน", "แถลงการณ์พนมเปญประชาคมเดียว พรหมลิขิตเดียว" และ "แถลงการณ์ว่าด้วยการสร้างอาเซียนเป็นเขตปลอดยาเสพติดในปี พ.ศ. 2558
             ครั้งที่ 21 วันที่ 17-21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ที่กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา ที่ประชุมได้ลงนามใน "คำแถลงพนมเปญรับรองปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน" , "ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน", คำแถลงผุ้นำอาเซียนเรื่องการจัดตั้งศุนย์ปฏิบัติการกับระเบิดแห่งภูมิภาค", "เอกสารแนวคิดพื้นฐานเรื่องการจัดตั้งศุนย์ปฏิบัติการกับระเบิดแห่งภูมิภาค" และ "แผนการทำงานตามความตกลงบาหลีที่ III (2013-2017)

             ครั้งที่ 22-25 เมษายน 2556 ณ บันดาร์เสรีเบกาวันประเทศบรูไน การปรุชมสุดยอดอาเวียนที่จะมีขึ้นเป็นการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งแรกภายใต้การดำรงตำแหน่งประธานอาเซียนของบรูไน ฯ โดยบรูไนฯ กำหนดหัวข้อหลักของปีนี้ว่า "Our People,Our Future Together " เพื่อสะท้อนถึงความสำคัญของบทบาทประชาชนในการขับเคลื่อนอาเซียนและกำหนดอนาคตของภุมิภาค โดยบูไนฯ จะให้ความสำคัญกับการผลักดันประเด็นรวมถึงแผนงานต่างๆ ตามที่มีการตกลงไว้แล้วให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ สำหรับการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 22 นอกจากผุ้นำอาเซียนจะได้ทบทวนพัฒนาการความคืบหน้าการทำงานที่ผ่านมาแล้ว จะเป็นการให้ทิศทางและแสวงหาแนวทาง เพื่อผลักดันประเด็นความร่วมมือที่จะเป็นประโยชน์ร่วมกันต่อไปในกรอบอาเซียน ตลอดจนเป็นโอกาศให้แลกเปลี่ยนความเห็นเรื่องประเด็นในภุมิภาคและประเด็นระหว่างประเทศที่สำคัญ

ประเด็นที่ทางไทยให้ความสำคัญ ได้แก่ การเร่งรัดการสร้างประชาคมอาเซียน และการเชื่อมโยงในอาเซียนตามเป้าหมายที่ 2558 การรวมตัวทางเศรษฐกิจที่ลึกซึ้งและกว้างขวางยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการจัดทำหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจอย่างกว้างขวางในภูมิภาคของอาเว๊ยน ความร่วมมือเพื่อก้ไขปัญหาข้ามพรมแดนต่างๆ อาทิ การค้ามนุษย์ ยาเสพติด ภัยพิบัติและหมอกควัน การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม และการสร้างความตระหนักรู้เรื่องอาเซียนในหมู่เยาวชน รวมทั้งการส่งเสริมบทบาทของอาเซียนในเวทีระหว่างประเทศ และประเด็นภูมิภาคที่มีความสำคัญต่อาเซียน
           ครั้งที่ 23 วันที่ 9-10 ตุลาคม 2556 ณ บันดาร์เสรีเบกาวัน บรูไนดารุสซาลาม การประชุมสุดยอดอาเวียนที่จะมีขึ้นในครั้งนี้เป้นการประชุมครั้งสุดท้ายภายใต้การเป็นประธานอาเวียนของบรูไนฯ ก่อนที่เมียนมาร์จะรับตำแหน่งต่อไปในปี 2557 โดยวัตถุประสงค์การประชุมครั้งี้คือเพือทบทวนพัฒนากรความคือบหน้าการทำงานที่ผ่านมาและ ร่วมกันแสวงแนวทางเพื่อผลักดันประเด็นความร่วมมือที่จะเป้นประดยชน์ร่วมกันต่อไปทั้งในกรอบอาเวียนและกับคู่เจรจา ตลอดจนเป็นโอกาสสำหรับแลกเปลี่ยนความเห้ฯเรื่องประเด็นในภุมิภาคและประเด็ระหว่งประเทศที่สำคัญ หัวข้อในการประชุมครั้งนี้ ประกอบด้วย
           - การเสริมสร้างความเข้มแข็งของประชาคมอาเซียนซึงรวมถึงการดำนินกาตามแผนงานสามประชาคมย่อยและ แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงในอาเวียน

            - การจัดทำวิสัยทัศน์อาเวียนภายหลังการเข้าสู่การเป็นปรชุมอาเซียนในปี 2558 โดยย้ำเจตนารมยืของผุ้นำอาเวียนนกาพัฒนาประชาคมอาเวียนภายหลังปี 2558 ซคึ่งจะเน้นผลประโยชน์ อขงประชาชนเป้นหลัก อาทิ ความร่วมมือเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนและการให้บริการสาธารณสุข โดยสอดคล้งกับเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษของสหประชาชาติภายในปี 2558 
           - ความร่วมมือในการจัดการปัญหาข้ามพรมแดนต่างๆ อาทิ ภัยพิบัติ และหมกควัน รวมทั้งการจัดการบริหารทรัพยากรน้ำซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการส่งเสริมความมั่นคงทางอาหาร
           - การแลกเปลี่ยนความเห็นในประเด็นภูมิภาคและระหว่งประเทศ อาทิ ความร่วมมือด้านต่างๆ ในทะเลจีนใต้รวมทั้งกลไกการแก้ไขปัญหาด้านความมันคงเพื่อส่งเสริมสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
           ในการประชุมครั้งนี้ เหล่าผุ้นำอาเวียนได้มีการลงนามรับรองเอกสารสำคัญหลายๆ อัน ได้แก่                           1.ปฎิญญาบันดาร์เสรเบกาวัีน่าด้วยวิสัยทศน์ภายหลังปี 2558 
                  2. ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยการขจัดความรุนแรงต่อสตรีและเด็กในอาเวียน
                  3. ปฏิญญาอาเซียนเสริมสร้างความเข้มแข็งมาตรการการคุ้มครองทางสังคม
                  4. ปฏิญญาบันดาร์เสรีเบกาวัน ว่าด้วยการประกอบการและจ้างงานของเยาวชน
                  5. ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยการเสริมสร้างความร่วมมือด้าน การจัดการภัยพิบัติ
                  6. ปฏิญญาบันดาร์เสรีเบกาวันว่าด้วยดรคไม่ติดต่อ
                  7. แถลงการณืร่วมของการประชุมสุดยอดอาเซียน-จีน ครั้งที่ 16 ในโอกาสครบรอบ 10 ปี ของความเป็นหุ้นส่วนเชิงยุทธศาสตร์อาเซียน- จีน
                  8. ปฏิญญาของกาประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ครั้งที่ 8 ว่าด้วยความม่นคงด้านอาหาร
               ครั้งที่ 24 วันที่ 10-11 พฤษภาคม 2557 ณ เนปิดอว์ เป้ฯการประชุมสุดยอดอาเวียนครั้งแรภายใต้การเป็นประธานอาเซียนของเมียนมาร์ โดยเมียนมาร์ได้กำหนดหัวข้อหลักของการประชุมว่า "Moving Forward in Unity to peaceful and properous community" ในกาประชุมผุ้นำอเซียนได้ทบทวยพัฒนการและความคืบหน้าของการดำเนินงานที่ผ่านมาและพิจารณาประเด็นที่ควรเร่งรัดเพื่อบรรลุการจัดตังประชาคมอาเซียน ปี 2558 รวมทั้งกำหนดทิศทางความี่วมมือในอนาคตของอาเวียนในบริบทของการจัดทำวิสัยทศน์ประชาคมอาเวียนภายหลังปี 2558 ...
              (www.asean-info.com/asean_community/asean_summit."การประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน ASEAN Summit")

วันจันทร์ที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2560

ASEAN Vision 2020(1997)

              วิสัยทัศน์อาเวียน 2020 นั้น เกิดจากคำประกาศของผุ้นำรัฐและหัวหน้ารัฐบาลของประเทศสมาชิกอาเซียน เมื่อคราวการประชุมสุดยอดอย่างไม่เป้ฯทางการ ครั้งที่สองในโอกาศครบรอบ 30 ปี ของอาเซียน เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 1997 ณ กรุง กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เพื่อกำหนดป้เาหมายวิสัยทัศน์ของอาเซียนในการเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 โดยมองว่า ณ ขณะนั้นอาเวียนมีความพร้อมแล้ว ทั้งด้านศักยภาพทางเศรษฐกิจ เสถียรภาพทางการเืองภายในประเทศ ความมั่นคงทางการเมืองระหว่งประเทศและความเติบโดตก้าวหน้าทงสังคม ด้วยความมั่นใจในความแข็งแกร่งและศักยภาพของตนเช่นนั้น ผุ้นำชาติอาเซียนจึงได้วางแลกการไว้ สามหลักการเพื่อทำให้อาเซีนนบรรลุในวิสัยทัศน์อาเวียน 2020 กล่าวคือ
            1 วงสมานฉันท์แห่งประชาชาิเอเซียนตะวันอกเฉียงใต้
            2 การมีหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างมีพลวัต
            3 มุ่งปฏิสัมพันธ์กับประเทศภานอก
            4 การมีชุมชนที่สังคมเอื้ออาทรต่อกัน
             ต่อมา ในการประชุมสุดยอดอาเซีนตรั้งที่เก้า ที่เมืองบาหลี ประเทศอินโดนิเวีย ผู้นำอาเซียนได้ตอบสนองต่อการบรระลุวิสันทัศน์อาเซียนเพิ่มเติม โดยได้ลงในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมืออาเวีนฉบับทีสอง หรือ Bali Concord II เห็นชอบให้มการจัดต้องประชาคมเาเวียน ภายใน ค.ศ. 2020 ประกอบด้วยสาด้านหลัก ได้แก่ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจ ปละประชาคมสังและวัฒนธรมอาเวียน อยางไรก็ดี ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 12 ที่เมืองเซบู ประเทศฟิลิปปินส์ ผุ้นำอาเซียนได้ลงนามปฏิญญาเซบูด้วยการเร่งรัดการจัดตั้งประชาคมอาเวียน 2015 เพื่อให้อาเวียนสามารถปรับตัวแงะจัการกับประเด็นท้าทายของทุกมิติ ในสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงอย่งรวดเร็ซ หลงจากนั้นอาเซียนจึงได้จัดทำแผนงานการจัดตั้งประชาคมอมเซียนขึ้น ซึ่งได้รับรองโดยผุ้นำอาเวีนเมื่อการประชุมสุดยอดอาเซียนที่ 14 ที่ประเทศไทย
             แม้ว่าผุ้นำประเทศอาเซียนได้ยอมรับวิสัยทัศน์อาเวียน 2020 ซึ่งได้วาดภาพอาเซียนที่เป็นประชาคมสมานฉันท์อันมีพลวัตรต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกขึ้น ในความเป็นจริงนั้นอาเซียนยังต้องเผชิญกับความท้าทายอีกมากว่าที่จะสร้างสิ่งที่แสดงวิสัยทัศน์ไว้ได้
             - ความท้าทายด้านสังคมและวัฒนธรรม อาเซียนต้องอาศัยความมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นอย่างมาก ปัจจุบันพลเมืองอาเซียนยังขาดความรุ้สึกความเป็ฯเจ้าของและยังไม่มีโอกาสเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจการอาเซียนมากนัก โดยปรกติผุ้ที่มีส่วนร่วมมส่วนใหญ่คือผุ้นำประเทศ รัฐมนตรีหรือเจ้าหน้าที่หน่วยราชการเท่านั้น
           
 - ความท้าทายด้านการเมืองและความมั่นคงของอาเซียน
                  ก.การสร้างค่านิยมร่วมกัน เนื่องจากความหลากหลายของวัฒนธรรมทางการเมืองของประเทศสมาชิกอาเวียน และากรที่แต่ละประเทศยังไม่มุ่งไปสู่การสร้างผลประโยชน์ร่วมกันของประชาคมอาเซียน อย่างชัดเจน ส่วนหนึ่งของปัญหาเกิดจากการที่ระบบสถาบันของอาเวีียน ที่จะช่วยส่งเสริมค่านิยมอาเซียนยังอ่อนแอ โดยเฉพาะสำนักเลขาธิการอาเซียน
                 ข. การที่ยังไม่มีความไว้เนื้อเชื่อใจกน ระหว่งประเทศสมาชิกอาเวียน เนื่องจากประเทศต่างๆ ยังอยู่ในสภาพที่ต้องแก่งแย่ง ชิงผลประโยชน์กัน เช่น ปัญหาข้อพิพาทเดี่ยวกับพรมแดน การแสวงหาผลประโยชน์จากทรัพยากรทะเล ซึ่งมีส่วนทำให้เกิดความตึงเครียดในทะเลจีนใต้
                 ค. มีประเด็นของความอ่อนไหวสุงในแต่ละประเทศสมาชิกหรือระหว่างประเทศสมาชิกอาเวียน ซึ่งสร้างข้อจำกัดทำให้กำไกที่กำหนดไว้ทำงานไม่มีประสิทธิภาพ แช่น สิทธิมนุษยชนในประเทศเมียนมาร์ การพัฒนาเสถียรภาพทางการเมืองในไทย เป้นต้น
               - ความท้าทายด้านเศรษฐกิจ
                  ก.วิกฤตเศราฐกิจปี 1997 ได้ส่งผลกรทบต่อ การขยายตัวทางเศรษฐกิจและอัตราการเจริญเติบโตทางเสณาฐกิจ เป้ฯอย่างมกา ซึ่งจจุดนี้ได้บ่นทอน เป้าหมายของวิสัยทัศน์อาเซีน 2020 จะเห้ฯได้ว่า กลไกใหม่ๆ เช่น ควาร่วมมือทางการเงินระหว่างสมาชิกอาเซียน นอกจากเชื่องช้า ไม่ทันการ ยังไม่มีผลในการปฏิรูปเศรษบกิจของประเทศนั้นนๆ ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงทางเศราฐกิจในเวลาต่อมา ย่ิงทำให้อาเวียนเป้นสังคมที่เื้ออาทรกันน้อยลงด้วย เพราะวิกฤตกรเศรษฐกิจได้ก่อให้เกิผลกระทบต่อคนยากจนและคนที่ด้อยโอกาส โจทย์ที่ท้าทายสำหรับการพัฒนาทางเศราฐกิจ คือ จะทำอย่างไรให้อาเซยนมีพัฒนาการทางเศราฐกิจที่มั่นคง ยังยืนและเป็นธรรมต่อประชาชนทุกภาคส่วน
                 ข. ประเทสมชิกยงคึงปกป้องผลประดยชน์แห่งชาติของตนเป้นหลัก และการหารายได้เข้าของประเทศสมาชิกมีลักษณะเหมือกนักน คือ รายได้หลักของประเทศมาจากการเก็บภาษีศุลกากรสินค้า เข้า-ออก ซึ่งการรวมกลุ่มเป็ฯประชาคมอาเซียนให้ยกเลิกการเก็บภาษีระหว่างกันหรือเก็บภาษีให้น้อยลง แต่ประเทศสมาชิกไม่สามารถสละรายไ้ส่วนนี้ได้ เนื่องจากเป้นเงินที่ต้องนำมาพัฒนาประเทศ การรวมกลุ่มเพื่อให้เกิดการต้าเสรีระวห่างประเทศในภาคีจึงทำได้ยาก นอกจากนั้นประเทศสมาชิกยังผลิตสินค้าเหมือนๆ กัน ทำให้ต้องแข่งขันกันเองในตลาดโลก อีกทั้งไม่ก่อให้เกิดการซื้อขายระหว่ากันเองในหมู่สมาชิก
                  ค.ประเทศในอาเซียนพยายามพัฒนาอุตาสาหกรรมภายในประเทศ เพื่อทดแทนการนำเข้า แต่ละประเทศพยายามส่งสริม พัฒนาและคุ้มครองอุตสาหกรรมในประเทศตนโดยการใช้กำแพงภาษีกรือโควต้า ซึ่งสวนทางกับหลักการในการรวมกลุ่มและตลดการต้าเสรี ดังนั้นน ข้อตกลงใน AFTA ของอาเซียนหลายข้อ จึงยังไม่ได้รับการปฏิบัติ...(wiki.kpi.ac.th/../วิสัยทัศน์อาเซียน_2020)
           

วันอาทิตย์ที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2560

ASEAN Framework Agreement on Services: AFAS (1995)

             ภาคบริการเป็นภาคเศรษฐกิจที่มีขนาดใหญ่และีบทบาทเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วต่อเศรษบกิจของประเทศสมาชิกอาเซียนโดยมีส่วนแบ่งระหว่างร้อยละ 40 ถึงร้อละ 63 ของผลิตภัฒฑ์มวลรวมภายในประเทศ GDP สมาชิกอาเซียนจึงเห็นพ้องกันว่า ควรมีการขยายความร่วมมือและการเปิดเสรีการต้าบริการภายในอาเซียนด้วยกันเพื่อเป็นการเปิดประตูทางเลือกใหม่ให้แก่ผุ้หใ้บริการในภูมิภาคเดียวกัน
            ตามบทบัญญัติในข้อที่ 5 ของความตกลงทั่วไปว่าด้วยการต้าบริการ ขององค์การการต้าโลกซึ่วว่าด้วยการรวมกลุ่ททางเศราฐกิจอนุญาตให้สมาชิก WTO ตั้งแต่ 2 ประเทศขึ้นไปสามารถจัดทำความตกบงรวมกลุ่มทางเศราฐกิจในการเปิดเสรีการต้าบริการให้แก่กันและกันมากกว่าที่ให้กับสมาชิก WTO อื่นได้ หากความตกลงรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในการเปิดเสรีการต้าบริากรให้แก่กันและกันมากว่าที่ใหกับสมาชิก WTO อื่นได้ หากควาตกลงนั้นไม่มีผลทำให้ผลประโยชน์จากข้อผุ้พันซึ่งสมาชิก WTO ที่อยู่นอกความตกลงพึงด้รับ ต้องลอน้อยลงไป
           ดังนั้นสมาชิกอาเซียน 7 ประเทศจึงได้ร่วมกันจัดทำ กรอบความตกลงว่าด้วยการบริการของอาเซียนขึ้นในปี 2538 ซึ่งต่อมาอาเซียนได้มีสมาชิกใหม่เข้ามาร่วมอีก 3 ประเทศ คือ ลาว ปละพม่า (เป็นสมาชิกอาเซียนเมื่อเดือนกรกฎาคม 2540) และกัมพูชา (เป็ฯสมาชิกอาเซียนเมื่อวันที่ 30 เมษา 2542 วัตถุประสงค์สำคัญของกรอบความตกลงว่าด้วยการบริากรของอาเซียนได้แก่
           - เพื่อขยายความร่วมมือด้านบริการระหว่างประเทศสมาชิกอาเซีนให้มาขึ้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการและเพิ่มความสามารถในการแข่งขันกับประเทศนอกกลุ่ม
            - เพื่อลดอุปสรรคในการค้าบริการระหว่างประเทศสมาชิก
            - เพื่อเปิดเสรีการต้าบริการภายในกลุ่มสมาชิกอาเซียน ให้มากกว่าที่แต่ละประเทศมีพันธกรณี การเปิดเสรีในเวที WTO โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อจัดตั้ง "เขตการต้าเสรีด้านการบริการ"
            โดยประเทศสมาชิกอาเซียนมีพันธกรณีดังนี้
             - การเข้าร่วมในข้อตกลงด้านความร่วมมือภายใต้ AFAS และหากมีจำนวนสมาชิกที่มีความพร้อมในการจัดทำข้อตกบงดังกล่าวตั้งแต่ 2 ประเศขึ้นไปก็สามารถดำเนินการไปก่อนได้
             - การเข้าร่วมเจรจาจัดทำข้อผุกพันเฉพาาะในการเปิดเสรีการต้าบริการให้กับประเทศสมาชิกอาเซียนมากว่าที่เสนอผูกพันไว้ภายใต้ GATS ในเวที่ "การค้าโลก"ซึ่งข้อผูกพันเฉพาะดังกล่าวจะระบุไว้ใน "ตารางข้อผุกพันเฉพาะภายใต้ AEAS"
               การเปิดเสรี กระทำโดย ยกเลิกมาตการเลือกปฏิบัติและข้อจำกดัในการเข้าสู่ตลาด ที่มีอยุ่ และห้ามออกมาตรการใหม่ซึ่งมีลักษณะเลือกปฏิบัติและข้อจำกัดใหม่ในการเข้าสู่ตลาด หรืออกมาตรการ หรือข้อจำกัดที่เข้มงวดมากขึ้น
               บทความนี้จะประกอบด้วย 4 ส่วนที่สำคัญ คือการเจรจาเปิดเสรีภาคบริการของสมาชิกอาเซีย ข้อผูกพันการเปิดเสรีภาคบริการของไทย การประเมินผลการเจรจาว่าบรรลุตามวัตถุประสงค์ของ AFAS มากน้อยเพียงใดและวิเคราะห์ผลประโยชน์ที่ไทยได้รับจากากรเข้าร่วมดำเนินการดังกล่าว
               การเจรจาเปิดเสรีภาคบริการของอาเซียน
               รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนได้ลงนามให้การยอมรับกรอบความตกลงว่าด้วยการบริการของอาเซียนเมื่อ ธันวาคม 2538 เพื่อใช้เป็นกรอบในการเจรจาเปิดเสรีการค้าบริากรในภูมิภาคอาเซียน พร้อมกับรับรองปฏิญญากรุงเทพ ซึ่งเป้นการประกาศเจตนารมณ์ว่า รปะเทศสมาชิกอาเซียนจะร่วมกันเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการสาขาต่างๆ โดยในรอบแรกจะมุ่งเจรจาใน 7 สาขาบริการ ได้แก่ สาขาการเงิน(ประกอบด้วย การธนาคาร การประกันภัย ธุรกิจเงินทุน เครดิฟองซิเอร์ และธุรกิจหลักทรัพย์), สาขาการขนส่งทางทะเล สาขาการขนส่งทางอากาศ สาขาการสือสารโทรคมนาคม สาขาการท่องเที่ยว สาขาการก่อสร้างและสาขาบริากรธุรกิจ ทั้งนี้ ให้เกริ่มดำเนินการเจรจาตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2539 และสิ้นสุดในวันที่ 31 ธันวาคม 2541
                การดำเนินการ การเจรจาจัดทำข้อผุกพันในกาเปิดเสรีการต้าบริการะหว่างสมาชิกอาเซียนตามพันธกรณีของ AFAS สมาชิกจะต้องเสนอข้อผูกพันที่มีระดับการเปิดเสรีมากกว่าที่แต่ละประเทศได้ยื่นผูกพันไว้ภายใต้ GATS และได้แบ่งการเจรจาเป็น 2 ช่วง
               การเจรจาช่วงแรก เป้นการเจรจาเปิดเสรีในสาขาที่แต่ะประเทศสมาชิกมีความพร้อมเพื่อให้เป้นไปตามเจตนารมณ์ของผุ้นำอาเวียนที่ต้องการเร่งรัดการเจรจาเปิดเรรีการต้าบริากรบางสาขาให้เสร็สิ้นภายใน มิถุนายน 2540 อย่างไรก็ตามได้มีการขยายกำหนดเวลาสรุปผลการเจรจาออกไปเป็น ตุลาคม 2540
               ผลการเจรจา ได้จัดทำเป้นตารางข้อผูกพันชุดแรก ซึ่งประกอบด้วยข้อผูกพันเปิดเสรีในบริการ 5 สาขา (การท่องเที่ยว การขนส่งทางอากาศ การขนส่วทางทะเล บริการธุรกิจ และโทรคมนาคม) จากสมาชิกอาเซียน 9 ประเทศสำหรับประเทศไทยได้ยื่นข้อผุกพันเปิดเสีรใน 2 สาขา คือการท่องเที่ยว และากรขนส่งทางทะเล
              การจเรจาช่วงหลัง เป็นการเจรจาเพื่อให้สมาชิกอาเซ๊ยนแต่ละประเทศ เปิดเสรีด้านบริการให้ครบ 7 สาขา
              ผลการเจรจา สามารถสรุปผล "ตารางข้อผูกพันชุดที่สอง" ได้เมือกันยายน 2541 โดยสมาชิกอาเซียนทุกประเทศยื่นข้อผูกพันใน 7 สาขาบริการ รายละเอียดข้อผูกพันการเปิดเสีการต้าบริการของสมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศในสาขชาบริการทั้ง 7 สาขาในรอบแรก มีดังนี้
              ข้อผุกพันการเปิเสรีของไทยในอาเซียน
               - การขนส่งทางอากาศ
                  การสำรองบัตรโดยสรผ่านระบบคอมพิวเตอร์ โดยมีเงื่อนไขว่า การใช้บริากรข้ามพรมแดนผุ้ให้บริการต้องใช้เครือข่ายโทรคมนาคมสาธารณะภายใต้หน่วยงานที่มีอำนาจของโทรคมนาคมสาธารณะภายใต้หน่วยงานที่มีอำนาองไทย การให้บริากรวิทธยุขึ้นอยู่กับคลื่นความถคี่ที่ว่าง ส่วนการเข้ามาจัดตั้งธุรกิจนั้น อนุญาตการจัดจำหน่ายผ่านระบบนี้ สำหรับสำนักงานของสายการบินต่าๆ และสำนักงานตัวแทนขายทั่วไปเพียง 1 แห่งโดยผุ้ให้บริการต้องใช้เครือข่ายโทรคมนาคมสาธารณะภายใต้หน่วยงานที่มีอำนาจของไทยและต้องปฏิบัติตามข้อควาและเงื่อนไขที่ระบุไว้ในตารางข้อผูกพันสาขาการสื่อสารโทรคมนาคมของไทยภายใต้ GATS
               
การขายและการตลาดสำหรับบริการขนส่งทางอากาศ  โดยมีการปรับปรุงข้อผุกพันในรุ)แบบการให้บริการข้ามพรมแดนและการบริโภคในต่างประเทศจากเดิมไม่ผูกพันเปลี่ยนเป็นผูกพันเต็มที่โดยไม่มีเงื่อนไขการเข้าสู่ตลาด
                 - บริการธุรกิจ
                   การวิจัยและพัฒนาในด้านวิทยาศาสตร์, บริการวิจัยและบุกเบิกการทดลองในด้านฟิสิกส์, บริการวิจัยและบุกเบิกการทำลองในด้ารเคมีและชีววิทยา, บริการวิจัยและบุกเบิกการทดลองในด้านิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี, บริากรวิจัยและบุกเลิกการทดลองในด้านเกษตรกรรม, บริการวิจัยและบุกเลิกการทอดลองในด้านวิทยาศาสตร์อื่นๆ โดยมีเงื่อนไขว่าต่างชาติต้องเข้ามาในลักาณะบริษัทจำกัดถือหุ้ร่วมกับคนไทยในสัดส่วน มไ่เกินร้อยละ 49
                    การวิจัยและพัฒนาในด้านสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์, การวิจัยและบุกเบิกการทดลองในด้านเศรษฐศาสตร์, การวิจัยและบุกเบิกการทดลองในด้านกฎหมาย, การวิจัยและบุกเบิกการทดลองในด้านภาษีศาสตร์ โดยมีเงื่อนไขว่า ต่างชาติต้องเข้ามาในลักาณธบริษัทจำกัดถือหุ้นร่วมกันบคนไทยในสัดส่วน ไม่เกินร้อยละ 49
                    บริการที่ปรึกษาเกี่ยวกับการจัดการ บริการที่ปรึกษาเกี่ยวกับการจัดการด้านการเงนิยกเว้นภาษีธุรกิจ, บริการที่ปรึกษาเกี่ยวกับการจัดการด้านทรัพยากรบุคคล โดยมีเงื่อนไขว่า ต่างชาติต้องเข้าในลักษณะบริษัทจำกัด ถือหุ้นร่วมกับคนไทยในสัดส่วน ไม่เกินร้อยละ 49
                  - การก่อสร้าง
                     การเตรียมการติดตั้งในงานก่อสร้าง, การประกอบและติดตั้งงานก่อสร้างชนิดสำเร็จรูป, การกร่อสร้างด้านการค้า, งานขั้นสุดท้ายเพื่อความสมบูรณ์ของอาคาร โดยมีเงื่อนไขว่า ต่างชาติต้องเข้ามาในลักาณธบริษัทจำกัด ถือหุ้นร่วมกับคนไทยในสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 49 และไม่ผูกพันการเข้ามาประกอบวิชาชีพของวิศวกรโยธา
                 - การเงิน
                     บริษัทหลักทรัพย์ โดยอนุญาตให้คนต่างชาติเข้ามาถือหุ้นในบริษัทหลักทรัพย์ได้เกินกว่ากึ่งหนึ่ง(เดิมผูกพันร้อยละ 49 เพิ่มเป็นร้อยละ 100 ) และอนุญาติให้บริษัทหลักทรัพย์ที่มีต่างชาติถือหุ้นเกินร้อยละ 50 ของทุนจดทะเบียนชำระแล้ว สามารถประกอบธุรกิจนายหน้าได้ ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกาอนุญาตให้คนต่างด้าวประกอบะุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ พ.ศ. 2541 และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
                     บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม โดยอนุญาตให้คนต่างชาติเข้ามาถือหุ้นในบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุรรวมได้เกินกว่ากึ่งหนึ่งแต่ไม่ผูกพันสำหรับใบอนุญาตที่ออกใหม่
                  - การขนส่งทางทะเล
                     บริการเกี่ยวกับพิธีการทางศุลกากร โดยมีเงื่อนไยว่าต้องเข้ามาในลักาณะบริษัทจำกัดถือหุ้นร่วมกับคนไทยในสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 49 โดย คาสตอม โบ๊กเกอร์ ต้องมีสัญชาติไทยและได้รับใบอนุญาตจากกรมศุลกากร
                      บริการส่งสินค้าระหว่างประเทศ โดยการยกเลิกข้อจำกัดในการเข้าสู่ตลาด ซึ่งเดิมระบุข้อจำกัดการขนส่งสินค้าทางทะเลในเส้นทางไทย-เวียดนามและไทย-จีน ว่า ต้องให้สิทธิการขนส่งแก่ประเทศทั้งสองมากกว่าประเทศอื่นๆ ตามความตกลงร่วมกันว่าด้วย คาร์โก้ แชรริ่ง ระหว่งไทย-เวียดนาม และ ไทย-จีน แต่เนื่องจากข้อตกลงดังกล่าวได้มีการยกเลิกแล้ว ทดยจคึงสมารถปรบปรุงข้อเสนอดังกล่าวให้มีระดับการเปิดเสรีมากขึ้นได้
             
- การสื่อสารโทรคมนาคม
                   บริการให้เช่าอุปกรณ์ปลายทาง โดยมีเงื่อนไขว่าต่างชาติต้งอเข้ามาในลักษณะบริษัทจำกัดถือหุ้นร่วมกับคนไทยในสัดส่วน ไม่เกินร้อยละ 49 และไม่ผูกพันการเข้ามาประกอบวิชาชีพของวิศวกรโยธา
                   Domestic VSAT โดยมีเงือนไขว่าในการให้บริการข้ามพรมแดนผู้ให้บริการต้องใช้เครือข่ายโทรคมนาคมของรัฐ การให้บริากรวิทยุขึ้นอยุ่กับคล่ความถี่ที่ว่าง ส่วนการเข้ามาจัดตั้งทางพาณิชน์นั้น ต้องจัดตั้งเป้นบริษัทจดทะเบียนของไทยโยมีต่างชาติถือหุ้นไม่เกินร้อยลุ 40 ของจำนวนผุ้ถือหุ้นทั้งหมดของบริษัทโดยเป็นการประกอบการ บิวท์-ทรานเฟอร์เรท-โอเปอร์เรท และต้องใช้เครือข่ายโรคมนาคมของรัฐ
                 - การท่องเที่ยว
                    บริการที่พักแบบ โมเตล, บริากร้านที่พักอื่นๆ (บริการศูนย์กลางและบ้านพักตากอากาศ, บริการที่ตั้งแคมป์และขบวนคาราวาน), สวนสนุก, การอำนวยความสะดวกด้านที่จอดเรือ โดยมีเงื่อนไขว่า ต่างชาติที่จะเข้ามาประกอบธุรกิจเป็นผุ้ให้บริากรในกิจกรรมเหล่านี้ ต้องเข้ามาในลักษณะบริษัทจำกัด ถือหุ้นร่วมกับคนไทยในสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 49 ของทุนจดทะเบียน และจำนวนผุ้ถือหุ้นเป็นคนต่างชาติต้องน้อยกว่างครึ่งหนึ่งของจำนวนผุ้ถอหุ้นทั้งหมด ส่วนการเข้ามาให้บริากรของคนต่างชาติในลักษณะบุคคลธรรมดานั้นไทยยินยิมเฉพาะบุคลากรระดับผู้จัดการ ผุ้บริหารและผุ้เชี่ยวชาญพิเศษ ซึ่งเป้นการโอนย้ายภายในองค์กรและบริษัทที่ว่าจ้างบุคคลดังกล่าว โดยต้องตั้งอยู่ในต่างประเทศ
                   ศูนย์การประชุม(จุผุ้เข้าร่วมประชุมได้มากกว่า 2,000 คน) โดยมีเงื่อนไขว่าต่างชาติต้องเข้ามาในลักาณะบริษัทจำกัด ถือหุ้นร่วมกับคนไทยในสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 49 ของทุนจดทะเบียน
                การเจรจารอบต่อไป อาเซียนได้ประกาศวิสัยทัศน์อาเซียน ค.ศ. 2020 เมื่อธันวาคม 2540 เพื่อใช้เป้นแนวทางใหม่ที่อาเซียนจะดำเนินการในทศวรรษต่อไปจนถึง ค.ศ. 2020 โดยในส่วนขงอการต้าบริากรได้เร่งรัดการเปิดเสรีการต้าบริการมากขึ้น และเพื่อให้การดำเนินการตามวิสัยัศน์อาเซียนปี 2020 บรรลุผลเป็นรูปธรรม จึงได้มีการจัดทำแผนปฏิบัติการฮานอย ซึ่งประกอบด้วยแผนดำเนินการในการเปิดเสรี การอำนวยความสะดวก และการส่งเสริมความร่วมมือดานการต้าบริากร ในส่วนที่เกี่ยวกับการเปิดเสรีการต้าบริการ ในส่วนทีเกี่ยวกับการเปิดเสรีการต้าบริการนั้น ได้กำหนดให้มีการเจรจาเปิดเสรีการต้าบริการในอาเซียนรอบต่อไปให้ครอบคลุมการเจรจาทุกสาขาบริการ โดยเริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี 2542 และสิ้นสุดในปี 2544
               ประโยชน์ที่ไทยได้รับ
                ด้านความร่วมมือ ในช่วงเวลา 3 ปีครั้งที่สมาชิกอาเวียนใช้ในการดำเนินการเพื่อให้เป็นไตาม AFAS โดยผ่านคณะกรรมการประสานงานด้านบริากรในอาเซียน นั้น ไม่มีการนำประเด็นเกี่ยวกับความร่วมมือใน AFAS มาพิจารณอย่างจริงจัง ดังนั้น กิจกรรมดังกบาวภายใต้ AFAS จึงยังไม่มีรความคืบหน้าใดๆ อย่งไรก็ตาม ปัจจุบันสมาชิกอาเซียนกำลังพิจารณาหาแนวทางส่งสเริมความ่วมมือในการริการสาขาการท่องเที่ยวและการขนส่ง อาทิ ลดข้อจำกัดทางการลงทุภายในกลุ่มสมาชิกอาเวียนด้วยกันในด้านที่พักนักท่องเที่วและสิ่งอำนวยความสะดวกเกี่ยวกับการท่องเที่ยวอื่นๆ ให้มีการเคลื่อยย้ายบุคลากรระดับสำคัญๆ ด้านการโรงแรม และบริการอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการเดินทางท่องเที่ยวระหว่างสมาชิกอาเซียน ให้สิทธิในการเจรจาสำหรับการขนส่งทางอากาศและทางทะเลระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อช่วยอำนวยความสะดวกให้กับการเคลื่อนย้ายทั้งสินค้าและผู้โดยสารเป็นไปอย่างรอบรื่น หากบรรลุข้อตกลงร่วมกัน ไทยก็จะได้รับประโยชน์โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาขาการท่องเที่ยว ซึ่งไทยมีศักยภาพในการแข่งขันเพียงพอ
                 ด้านการเปิดเสรี ผลจากการเปิดเสรี ดังที่ผ่านมาจะเป้ฯประดยชน์อย่างแท้จริง ถ้าภาคเอกชนจะเป็นผู้ผลักดันให้เปิดตลาด โดยแจ้งปัญหาปละอุปสรรคในการเข้าสู่ตลาดและการดำเนินธุรกิจในประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อจัดทำข้อเรียกร้องต่อสมาชิกอาเซียนในกาเปิดตลาดสาขาบริการที่ภาคเอกชนมีความร้พมอและความต้องการจะออกไปลงทุนยังต่างประเทศอย่างแท้จริง แต่ในทางปฏิบัติลแ้ว การเสนอข้อเรียกร้องต่อประเทศคู่เจรจาส่วนใหย่มาจากาภรัฐบาลโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นผลการเจรจาจึงเป็นเพียงโอกาสให้กับผู้ประกอบการในประเทศที่สนใจ และเป้ฯทางเลือกที่เพิ่มขึ้นของตลาดบริากร เท่านั้น
              อย่างไรก็ตาม เมื่อการเคลื่อนย้ายของธุรกิจบริากรในประเทศสมาชิกอาเซียนเข้ามาในไทยมากขึ้นก็จะเป้ฯการกระตุ้นให้ภาคเอกชนกต้องปรับตัวเพื่อรองรับการแข่งขันที่มากขึ้นและไปสู่การปรับปรุงประสิทธิภาพในการให้บริากรเพื่อรักษาสวนแบงลาด ซึ่งผุ้ได้รับประโยชน์คือ ผุ้บริโภคในประเทศ ถ้าคำนึงถึงในแง่โอกาสที่ผุ้ประกอบการทไยได้รับจากการเจรจา ในการเข้าไปประกอบะุรกิจบริการในประเทศสมชิกอาเซียน โดยได้รับสิทธิพิเศษมากกว่าประเทศนอกกลุ่มแล้ว ผุ้ประกอบการไทยจะได้รับประธยชน์จากการเปิดตลาดธุรกิจบริการจำนวนมากกว่า 70 กิจกรรม ซึ่่งเป็นการเปิดประตูทางเลือกใหม่ให้แก่ผุ้ประกอบการของไทยในการเข้าสู่ตลาดที่มีระดับการพัฒนาที่ใกล้เคียงกัน และเป้ฯการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันเพื่อการเข้าไปมีส่วนร่วมในตลาดบริากรเหล่านี้ในอนาคต( การเจรจาเปิดเสรีภาคบริการของอาเซียน" ประนอมศรี โสมขันเงิน.บทความ)

ASEAN Free Trade Area (1992)

             ASEAN Preferential Trading Arrangment(1977)
             Preferential Trade Agreement : PTA  หมายถึง ความร่วมมือในเฉพาะประเด็นที่มีความสนใจร่วมกันเป็นบางส่วนเท่านั้น อาทิ โครงการความร่วมมือเฉพาะทางด้านอุตสาหกรรมอาเซียน ที่เปิให้บริษัทเอกชน 2 ฝ่าย ที่เป็นสมาชิกอาเซียนด้วยกันและต้องการทำหารต้าสินค้าที่อยุ่ในโครงสร้างการผลิตเดียวกัน  ดังนั้น ประเทศทั้ง 2 ฝ่ายหรือแต่ละฝ่ายจะเลือกเก็บอากรในอัตราต่ำหรือร้อยละ 0 เมื่อมีการค้าสินค้าระหว่งกันตามขั้นตอนโครงสร้างการผลิตสินค้านั้น หรือเป็นการให้สทิะิประดยชน์ในบางสินค้าด้วยอากรขาเข้าที่ต่ำเป็นพิเศษของประเทศที่พัฒนาแล้ว แก่ประเทศกำลังพัฒนา และประเทศที่พัฒนาน้อยที่สุด

           ASEAN Preferential Trading Arrangment เป็นข้อตกลงทางการค้าฉบับแรกที่ปูทางสู่การเป็นตลาดเดียวอาเซียน ความตกลงการค้าสิค้าของอาเซียน ASAEN Trade in Good Agreement หรือ ATIGA เป็นความตกลงที่เกิดขึ้นภายในแผนประชาคมเศราฐกิจอาเซียน AEC Blueprint ที่ต้องการให้อาเซียนเป็นตลาดเดียวและเป็นฐานการผลิตร่วมกัน โดยมีการเคลื่อนย้ายอย่างเสรีของสินค้า บริการการลงทุน แรงงานที่มีทักษะ และการเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น ความตกลง ATIGA เป็นความตกลงที่มีเกี่ยวข้องกับความตกลง สินค้าหลายฉบับที่อาเซียนเคยให้สัตยาบัน อาทิ
              - การตกลงว่าด้วยสิทธิพิเศษทางการค้าอาเซียน
              - การใช้ความตกลงว่าด้วยการใช้อัตราภาษีพิเศษที่เท่ากันสำหรับเขตการต้าเสรีอาเซียน ปี 1992
             - ความตกลงด้านศุลกากรอาเซียน ปี 1997 
             - กรอบความตกลงในข้อตกลงยอมรับร่วมกันของอาเซียน ปี 1998
             - กรอบความตกลงด้านอิเล็กทรอนิกส์ของอาเซียน ปี 2000
             - กรอบความตกลงว่าด้วยการรวมกลุ่มสาขาสำคัญของอาเซียน 2004
             - ความตกลงว่าด้วยการอำนวยความสะดวกด้านศุลกากรด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียวของอาเซียน ปี 2005 
             จากลำดับขั้นการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ จะเห็นได้ว่า ความร่วมือเฉพาะประเด็น เป็นสิ่งแรกในการร่วมมือทางเศรษฐกิจ และในขั้นต่อมา คือ เขตการค้าเสรี  และสหภาพศุลการกร เพื่อจะดำเนินการไปสู่การเป็นตลาดเดียว และ ในขั้นต่อไปคือการร่วมกลุ่มเศรษฐกิจในขั้น สหภาพเศรษฐกิจ และการรวมกลุ่มในลำดับที่สุงสุดคือ สหภาพทางการเมือง หรือการรวมกลุ่มเหนือรัฐซึ่งเป็นลำดับสูงสุดของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ซึ่งในลำดับต่อไปจะกล่าวถึงเขตการค้าเสรี ซึ่งเป็นการรวมกลุ่มที่สำคัญอีกขั้นหนึง
              Free Trade Area เขตการค้าเสรี เป็นกลุ่มประเทศที่ได้ทำข้อตกลงที่จะทำการต้าแบบเสรี โดยกำจัด การเก็บภาษีศุลกากร การจำกัดส่วนแบ่ง (โควต้า) และการให้สิทธิพิเศษ กับสินค้าส่วนใหญ่ (ถ้าไม่หมด) ที่ทำการต้าขายระหว่างกัน
             นโยบายการต้าเสรี มีรากฐานมาจากทฤษฎีการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ ที่เสนอว่า "แต่ละประเทศควรจะเลอกผลิตแต่เฉพาะสินค้าที่ตนมีต้นทุนการผลิตได้เปรียบโดยเปรียบเทียบมากที่สุด แล้วนำสินึ้าที่ผลิตได้นั้นไปแลกเปลี่ยนกับสินค้าที่ประเทศอืนมีต้นทุนการผลิตได้เปรียบ ถึงแม้ว่าประเทศหนึ่งจะอยุ่ในฐานะเสียเปรียบอีกประเทสหนึ่งในการผลิตสินค้าทุกชนิดก็ตามประเทศทั้งสองก็ย่อมจะทำการต้าต่อกันได้ โดยแต่ละประเทศจะเลือกผลิตเฉพาะสินค้าที่เมื่อเปรียบเกับสินค้าอื่นแล้ว ประเทศตนสามารถผลิตได้ด้วยต้นทุนที่ต่ำที่สุด แล้วนำมาแลกเปลี่ยนสินค้าที่ผลิตขึ้นกับอีประเทศหนึ่ง" 
            นโยบายการต้าเสรีไม่สนับสนุนการเก็บภาษีศุลการกรในอัตราที่สูบงและขจัดข้อบังคับต่างๆ ทีกีดกันการต้าระหว่างประเทศ ดังนั้นประเทศที่ใจช้นโยบายการต้าเสรีจะมีลักษณะโดยทั่วไป ดังนี้
             - ดำเนินการผลิตตามหลัการแบ่งงานกันทำ กล่าวคือ เลือกผลิตแต่สินค้าที่ประเทศนั้นมีประสทิธิภาพในการผลิตสุงและมีต้นทุนการผลิตต่ำ

             - ไม่มีการเก็บภาษีคุ้มกัน เพื่อคุ้มครองช่วยเหลืออุตสาหกรรมในประเทศแต่อย่างใด คงเก็บแต่ภาษีศุลการกรเพื่อเป็นรายได้ของรัฐ
              - ไม่ให้สิธิพิเศษหรือกีดกันสินค้าของประเทศใดประเทศหนึ่ง มีกาเก็บภาษีอัตราเดียวและให้ความเป้ฯธรรมแก่สินค้าของทุกประเทศเท่านๆ กัน
              - ไม่มีข้อจำกัดทางการต้า ที่เป็นอุปสรรคต่อการต้าระหว่างประเทศ ไม่มีการควบคุมการนำเข้าหรือการส่งออกเที่เป้นอุสรรคต่การต้าระหว่างปรเทศ ยกเว้นการควบคุมสินค้าบางอย่างที่จะเป็ฯอันตรายต่อสุขภาพอนามัย ศํ๊ลธรรมจรรยาหรือความมัี่นคงของรัฐเท่านั้น
              เขตการต้าเสรี หมายถึง การวมกลุ่มเศราฐกิจโดยมีเป้าหมายเพื่อลดภาษีศุลกากรระหว่างกันภายในกลุ่ม ที่ทำข้อตกลงลงให้เหลือน้อยที่สุดหรือเป็ฯ 0 และใช้อัตราภาษีปกติที่สูงกว่ากับประเทศนอกกลุ่ม การทำเขตการต้าเรีในอดีตมุ่งในด้านการเปิดเสรีด้านสินค้า ดดยการลดภาษีและอุปสรรคที่ไม่ใช่ภาษีเป็นหลัก แต่เขตการต้าเสรีในระยะหลังๆ นั้น รวไไปถึงการเปิดเสรีด้านบริการ และการลงทุนด้วย
             เขตการต้าเสรีที่สำคัญในปัจจุบันได้แกี NAFTA และ AFTA และ๗ระนี้ ประเทศสหรับอเมริกา อยุ่ในระหว่างการเจรจาทำเขตการต้าเสรีในภูมิภาคอเมริกา โดยตั้งเป้าหมายที่จะให้การเจรจาเสร็จสิ้นก่อนปี พ.ศ. 2548 รูปแบบเขตการต้าเสรีแบ่งได้ 2 ชนิดคือ
            1) สหภาพศุลกากร หมายถึง การรวมตัวกันทางเศณาฐฏิจในระดับที่ลึกและหว้างกว่าเขตการค้าเสรี เพราะมีลักษณะที่เป้นตลาดร่วม ซ่งไม่มีกำแพงภาษีระหว่างประเทศสมาชิกในสหภาพศุลกากรเก็บภาษีศุลกากรอัตราเดียวกัน กับทุกประเทศนอกกลุ่ม สหภาพศุลกากรจึงทำให้ประเทศในกลุ่มมีสภาพเป็นเสมือนประเทศเดียวกันหรือตลาดเดียวกัน สหภพศุลกากรที่สำคัญ คือ สหภาพยุโปร และ MERCOSUR
          2) พันธมิตรทางเศณาฐฏิจ หมายถึง ความร่วมือทางเศรษฐกิจที่มีการพัฒนารูแบบไปจากที่เคยมีมา โดยมีกรอบความร่วมมือทีกว้างขวางเขตการค้าเสรี อยางไรก็ดี ความเข้าใจเกี่ยกับ CEP หรือ ขอบเขตอาจจะแตกต่างไป โดยทั่วไป ครอบคลุมความร่วมมือทางเศราฐกิจทังในด้านการต้า สินค้า บริการและการลงทุน และแบ่งอย่างหว้างๆ ได้ 2 ประเภท คือ ที่มีเขตการต้าเสรี เป้นหัวใจสำคัญ และรวมไปถึงความ่วมมือทางเศราฐกิจด้านอื่นๆ ด้วยและ ที่ไม่มีการทำเขตการต้าเสรี แต่อาจมีการลดภาษ๊ศุลกากรที่เป้นอุปสรรคต่อการต้าด้วย รวมทั้งมีการร่วมมือกันในด้านอื่นๆ อย่างกว้างขวาง 
          อย่างไรก็ตาม เขตการค้าเสรีและ สหภาพศุลกากร ต่างก็เป้ฯกระบวนการในการผนึกความร่วมมือ และหรือการรวมตัวทางเศรษฐกิจ และเป็นปัจจัยเร่งการเปิดเสรีที่ก้าวไปเร้วกว่าการเปิดเสรตามข้อผูกพันของ WTO รวมทั้งเป้ฯการเตรียมการเปิดเสรีตามเป้าหมายภายใต้ปฏิญญาโบกอร์ของ เอเปค ซึ่งกำหนดให้ประเทศสมาชิกที่พัฒนาแล้วเปิดเสรีอย่างเต็มที่ภายใรปี ค.ศ. 2010  และประเทศสมาชิกที่กำลังพัฒนาเปิดเสรีภายในปี ค.ศ. 2020 (พ.ศ.2563)

         ในที่นี้การใช้คำว่าเขตการค้าเสรีนั้น หมายถึง ความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่ไกล้ชิดกันเป็นพิเศษในลักษณะที่เป็นการกล่าวอย่างกว้างๆ คลุมไปทั้ง เขตการค้าเสรี, สหภาพศุลการกร และพันธมิตรทางเศรษฐกิจ ส่วนในความหมายที่ต่างกันคือ ความร่วมมือในรูปแบบนั้นๆ เป็นกรณีๆ ไป
          อย่างไรก็ดี เขตการต้าเสรีนั้น ในทางปฏิบัตเป็นเรื่องที่มีความยุ่งยากในระดับหนึ่งและหากต้องการให้ได้ผลจริงจัง ก็จะต้องพัฒนาไปสู่การเป็นสหภาพศุลกากรโดยเร็ว เพื่อหลีกเลี่ยงการหลบหนีภาษีในรูปแบบต่างๆ เนื่องจากประเทศนอกกลุ่มจะพยายามส่งสินต้าเข้าทางประเทที่ทำข้อตกลงเขตการต้าเสรี ที่มีภาษีต่ำไปสู่ประเทศมาเลเซีย แต่ประเทศไทยเก็บภาษีศุลการกรการนไข้าสิ่งทอเพียง 10 % แล้วนำปแปรรูปเล็กน้อย เช่น บรรจุห่อใหม่เพื่อแลปงสภาภให้เป็นสินค้ประเทศไทยแล้ว นำไปขายในประเทศมาเลเซียอันจะทำให้เขาเลี่ยงภาษีได้ 20% กล่าวคือ เขตการต้าเสรีจะต้องใช้ทรัพยารกรของภาครัฐเป้ฯจำนวนมาก เพื่อกำหนดกฎเกณฑ์เกี่ยวกับแหล่งงกำเนินสินค้าที่รัดกุม ซึ่งทางออกที่ดีที่สุด คือ กาแแลงภาษีศุลการกรของประเทศในเขตการค้าเสรีให้เท่ากันทั้งหมด หรือลงให้เป็นสหภาพศุลกากรโดยเร็วนั่นเอง
           เขตการต้าเสรีสะท้อนแนวคิดสำคัญทางเศรษฐศาสตร์ทีว่า "ประโยชน์จากการต้าระหว่างประเทศจะเกิดขึ้นสูงสุดเมื่อประเทศต่างๆ ผลิตสินค้าที่ตนมีต้นทุนในกาผลติต่ำที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ แล้วนำสินค้าเหล่านั้นมาขายแลกเปลี่ยนกัน" ซึ่งในโลกแห่งความเป้นจริงนั้น ประโยชน์สุงสุดดังกล่าวจะไม่เกิดขึ้น หากยังมีการเก็บภาษีขาเข้าและมีการใช้มาตรการกีดกันทางการต้าต่างๆ ซึ่งส่งผลบิดเบือนราคาที่แท้จริงของสิค้า และทำให้การต้าขายไม่เป็นไปอย่างเสรีและมีประสิทธิภาพ
           พร้อมกันนี้ เขตการต้าเสรีถือเป็นเครื่องือทางกาต้าสำคัญที่ประเทศต่างๆ สามารถใช้เพื่อขยายโอกาสในการต้า สร้างพันธมิตรทางเศราฐกิจ พร้อมๆ กับเพ่ิมความามารถในการแข่งขันด้านราคาให้แก่สนค้าของตน เนื่องจากสินค้าที่ผลิตใน "เขตการต้าเสรี"จะถูกเก็บภาษีขาเข้าในอัตราที่ต่ำกว่าสินค้าที่ผลิตในประเทศอื่นๆ ที่ไม่ใช่สมาชิก จึงทำให้สินค้าที่ผลิตภายในกลุ่มได้ เรปียบในด้านราคากว่าสินค้าจากประเทศนอกกลุ่ม...(www.th.wikipedia.org/../เขตการค้าเสรี)
           ASEAN Free Trade Area : AFTA เขตการค้าเสรีอาเซียน แนวทางการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจของอาเซียนปรากฎเป็นรูปะรรม จากากรประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 1 ค.ศ. 1976 ณ เมืองบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งเป้นจุดเริ่มต้นของความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ เพราะหลังจากนั้น ก็มได้มีโครงการต่างๆ มากมาย เช่น โครงการอุตสาหกรรมอาเซียน AIP โครงการแบ่งผลิตทางอุตาหกรรมอาเวียน AIC โครงการร่วมลงทุนด้านอุตสาหกรรมอาเซียน AIIV เป็นต้น จนมาถึงแนวความคิดในการจัดตั้งเขตการต้เสรีอาเวียน ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 3  เมืองมะนิลา ในการประชุมครั้งนี้ มีการหารือถึงความเป้นไปได้ในการจัดตั้งเขตการต้าเสรีอาเวียน แต่ประเทศอินโดนีเซีย ได้คัดค้านการจักตั้งดังกล่าวจึงทไใ้ข้อเสนอนี้ตกไป แต่อย่างไรก็ดี ในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 4 ที่ประเทศสิงคโปร์ นายอาฯันท์ ปันยารชุน นายกรัฐมนตรีประเทศไทยในขณะนั้นได้เสนอ เรื่องการจัดตั้งเขตการต้าเารีอาเซียนอีกครั้งในครั้งนี้ผุ้นำอาเซียนได้เห็นชอบกับแนวความคิดดังกล่าว จึงได้มีการลงนามจัดตั้งเขตการต้าเสรีอาเซียนขึ้น อย่างเป็นทางการ
       
 เป้าหมายและวัตถุประสงค์ เขตการต้าเสรีอาเซียน เกิดจากคามต้องการร่วมมือทางกาต้าจากประเทศต่างๆ ในอาเซียน เพื่อให้อาเซียนเป็นภูมิภาคที่มีศักยภาพทางด้านเศรษฐกิจ และเพิ่มอำนาจในกาต่อร่องทางด้านเศรษฐกิจในเวทีโลก พร้อมกันนี้อาเวียนยังมีความต้องการที่จะดึงดูดประเทต่างๆ ให้เข้ามาลงทุน เพื่อความเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่องภายในภุมิภาค โดย AFTA นั้นจะทำให้การต้าขายสินค้าในอาเซียนเป็นไปอย่างเสรี มีการคิดอัตราภาษีระหว่างกันในระดับที่ตำ่ และปราศจากข้อกำหนดทางการต้า อันจะส่งผลให้ประเทศสมาชิกจะมีต้นทุนการผลิตสินค้าที่ลดลง อีกทั้งเป็นการเพ่ิมปริมาณทางด้านการต้าในภูมิภาคให้มีมากขึ้น ทำให้อาเซียนเป็นภุมิภาคที่มีการเติลโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วและมั่นคง
         กรอบการดำเนินงาน อาเซียนดำเนินการจักตั้งเขตการค้าเสรีอาเวียน ดดยมุ่งเน้นไปที่การขจัดอุปสรรคทางการค้าทั้งหลายภายในภูมิภาค ทั้งในด้านภาษีและเครื่องกีดขวางทางการต้าต่างๆ ที่มิใช่ภาษี ยกตัวอย่เช่น การจำกัดโควต้าการนำเข้า เป้นต้น โดยจะยกเว้นแต่เพียงสินค้าที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง ศีลธรรม ชีวิต และสฺปะ เท่านั้น ซึ่งมาตรการที่สำคัญที่สุดก็คงจะหนีไม่พ้นมาตรการทางภาษี โดยอาเซียนมีเป้าหมายในการลดภาษีในบัฐชีลดภาษี ให้เหลือร้อยละ 0-5 ภายใรปี ค.ศ. 2002 และตั้งเป้าให้เลหือร้อยละ 0 ภายใน ค.ศ. 2010 ..(wiki.kpi.ac.th/../เขตการค้าเสรีอาเซียน)
             

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...