วันพฤหัสบดีที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Optimum Currency Area : ASEAN +3

           หลังจากวิกฤตการณ์การเงินในภุมิภาคอเาว๊ยนและเอเชียตะวันออกในปีพ.ศ 2540 ทไใ้ประเทศไทยและประเทศอื่นในภุมิภาคยกเลิกอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ซึ่งยึดค่าเงินไว้กับเงินดอลลาร์สหรัฐฯ แล้วหันมาเข้าสูรระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัว ซึ่งระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตังเป็นผลให้ค่าเงินมีความผันผวนซึ่งเกิดจากภาวะเศรษฐกิจโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ที่มีการเปลี่ยนแปลงด้านการต้า การเงินและการลงทุน ดังนั้นระบบอัตราแลกเปลี่ยนแปบบลอยตังจึงไม่ใช่ทางเลือกที่ดีที่สุดของระบบอัตราแลกเปลี่ยนสำหรับประเทศสมาชิกอาเซียนซึ่งส่วนใหญ่จะเป้นประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจขนาดเล็กและเป็นปบบเปิดสอดคล้องกับความคิดที่ว่าประเทศกำลังพัฒนาที่มีขนาดเศรษฐกิจที่เล็กและมีเศราฐกจค่อนข้างเปิดตามทฤษฎี แล้วแนะนำให้ประเทศกำลังพัฒนาเหล่านนี้ใช้นโยบายอัตราแลกเปลี่ยนคงที่โดยอิงกับเงินตราสกุลสำคัญ การอิงกับเงินตราสกุลหลักจะทำให้เกิดความเชื่อมั่นในต่าเงิน ซึ่งผลดีคือการที่ประเทศเล็กๆ จะทำการต้าขายกันเองภายในกลุ่มเดียวกันจะลดปัญหาด้านความไม่แน่นอนของอัตราแลกเปลี่ยน เช่น ความไม่แน่นอนในรายได้ส่งออก ความไม่แน่นอนในมูลค่าการนำเข้า และความไม่แน่นอนของมูลค่าเงินสำรองระหว่างประเทศที่ประเทศเหล่านี้ถือไว้
 ในปัจจุบันระบบเศรษฐกิจมีการเปิดเสรีมาขึ้น หลายๆ ประเทศจึงใหความสนใจกับนโยบายการต้าเสรี แม้แต่กระทั่งประเทศจีนซึ่งเคยเป็ฯระบบสังคมนิยมก็ยังให้ความสนใจกับระบบบทุนนิยมมากขึ้น ระบบการต้าเสรีนั้นทำใ้หระบบเศรษฐกิจมีการขยายตัวมากขึ้น เกิดการเคลื่นย้ายเงินทุนหรืปัจจัยการผลิตข้ามชาติขยายตัวไปทั่วโลกการแข่งขันทางการค้าที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น ส่งผลให้ความได้เปรียบจะอยู่กับประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจขนาดใหญ่ ทั้งความได้เปรียบทางด้านต้นนทุนการผลิตทรัพยากรการผลิต และที่สำคัญคือความได้เปรียบในด้านการต่อรองด้านการต้า ส่งผลกระทบต่อประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจขนาดเล็กจะถูกเอาเปรียบและถูกกีดกันทางการค้าดังนั้นกลุ่มมประเทศต่างๆ จึงพยายามรวมกลุ่มกันเพื่อสร้างฐานเศรษฐกิจโดยกลุ่แลเพิ่มอำนาจต่อรองทางการต้า มีการใช้ทรัพยากรร่วมกัน มีฐานการผลิตที่ขนาดใหญ่ขึ้นและสามารถดึงดูดเงินลงทุนจากต่างประเทศได้
ง่าย ซึ่งผลประโยชน์ที่เพ่ิมขึ้นก็คือการมีจำนวนผู้บริโภคที่สูงขึ้นตามประชากรของแต่ละประเทศที่มารวมกลุ่ม ส่งผลให้เกิดการขยายการผลิตและมีประสิทธิภาพ ในการผลิตเพิ่มขึ้น ก่อเกิดต้นทุนการผลิตที่ต่ำลง การรวกฃลุ่มทางเศรษฐกิจ จึงเป็นการสร้างประโยชน์ทางการต้าให้เกิดขึ้นระหว่างกัน อีกทั้งหากการวมกลุ่มมีความก้าวหน้าไปถึงการใช้เงินสกุลเดียวกันก็จะเป็นการประหยัดทุนธุรกรรมในการเปลี่ยนแงิน ถ้าจะมองภาพง่ายๆ ว่ามีมุลค่าเท่าใดก็อาจจะพิจารณาจากรายได้ของธนาคารในการปริวรรตเงินตรา รวมถึงค่าธรรมเนียมในการประกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน... ผลที่ตามมาคือจะมีการต้าการลงทุนระหว่างประทศมากขึ้นผุ้ที่สนับสนุนการต้าเสรีก็จะชื่นชอบเพราะจะทำให้ผุ้บริโภคมีทางเลือกในสินค้ามากขึ้นด้วยราคาที่ถูกลง จากกรณีประเทศในสหภาพยุโรป มีการใช้เงินสกุลร่วมกันประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการใช้เงินสกุลร่วมกันต่อเสณาฐกิจ หากมีประเทศที่มพลังทางเศรษฐกิจที่เข้มแข็งซึ่งไดแก่ จีน ญี่ปุ่น และเกาหลีเข้ามามีบทบาทในการเป็นผุ้นำเพื่อสร้างระบบการเงินเอเชียตะวนออก ซึ่งทั้งนี้ประเทศจีนมีระบบเศรษบกิจพื้นฐานที่เข้มแข็ง และมีบทบาทสำคัญในเวทีเศรษบกิจโลก เนื่องจากจีนได้มีความเชื่อมโยงด้านการจ้า การลงทุนและการเงินกับภุมิภาคอื่นทั่วโลกมากขึ้นดังนั้นการดำเนินนโยบายใดๆ ของจีนจึงได้รับ
ความสนใจจากทั่วโลกอย่างต่อเนื่อง เช่น นโยบายที่จีนส่งเสริมให้ใช้เงินหยวนในการชำระค่าสินค้าระหว่างประเทศ การทำกรอบนโยบายข้อตกลงทวิภาคีกับประเทศต่างๆ วึ่งเงินหยวนได้ถูกใช้ในการชำระค่าสินค้ามาเป็นเวลาหลายปีในส่วนของการต้าในกลุ่มอนุภูมิภาคกลุ่มแม่น้ำโขง เช่น พม่า เวียดนามและลาว เนื่องจากประเทศเหล่านี้มีระดับการพัฒนาเศรษฐกิจไม่สูงนัก และประสบปัญหาการขาดดุลการค้ามาดดยตลอดทำให้ขาดแคลนเงินตราต่างประเทศ ประกอบกับค่าเงินไม่มีเสถียรภาพ สิ่งต่างๆ เหล่านี้จึงเป้ฯปัจจัยชับเคลื่อนให้เงินหยวนกลายเป็นเงินสกุลหลักในการชำระค่าสินค้าระหว่างกัน ในส่วนของภาครัฐก็ยัง พบว่า ทางการจีนยังออกมาตรการเพื่อผลักดันในนโยบายการชำระเงินสกุลหยวน ทไใ้ผุ้ประกอบการจีนได้ประโยชน์ทั้งด้านภาษี และลดความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน เป็นต้น"""
               ทฤษฎีเขตเงินตราที่เหมาะสม หมายถึง กลุ่มของประเทศที่เงินตราภายในประเทศเชื่อมโยงกัน ดดยผ่านอัตราและเปลี่ยนคงที่อย่างถาวร เงินตราของประเทศสมาชิกสามารถเคลื่อนไหวได้อย่างเสรีกับประเทศนอกกลุ่ม เขตของประเทศเดียวกันใช้เงินตราสกุลเดียวกัน เรียกว่าเขตเงินตราที่เหมาสม ซึ่งประเทศในกลุ่มประชาคมเศรษบกิจยุโรป พยายามก่อตั้งขึ้น การก่อตั้งเขตเงินตราที่เหมาสมจะกำจัดความไม่แน่นอนที่เกิดจาอัตราแลกเปลี่ยนไม่คงที่อย่างาถาวร และจะเร่งให้มีควาชำนาญในการผลิตพร้อมกับมีการต้าและการลงทุนระหว่างประเทศภายในกลุ่มโดยสนับสนุนให้ผุ้ผลิตมอง่าพื้นที่ทั้งหมดเป็นตลาดเดียว ซึ่งได้รับผลประโยชน์จากการปลิตขนาดใหญ่ การที่มีอัตราแลกเปลี่ยนคงที่อย่างถาวรทให้ระดับราคามีเสถียรภาพมาก และเป้ฯการสนนับสนุการใช้เงินตราเป็นที่สะสมมูลค่าและทำลายการแลกเปลี่ยนที่ไม่มีประสิทธิภาพที่เกิดจากภาวะเงินเฟ้อ นอกจากนี้ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายที่รรัฐบาบแทรกแซงในตลาดเงินตราต่างประเทศ ประหยัดค่าใช้จ่ายจากการทำการหลีกเลี่ยงความเสี่ยง และประหยัดค่ามใช้จ่ายในการแลกเปลี่ยนเงินตราสกุลหนึ่งเป็นอีกสกุลหนึ่งเมื่อประชาชนท่องเที่ยวในประเทศสมาชิกของกลุ่ม...
              เขตเงินตราที่เหมาะสมของแลุ่มประเทศอาเซียน +3 เพื่อศึกษาถึงความพร้อมของการเป็นเขตเงินตราที่เหมาะสมและความเหมาะสมของเงินตราที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนปัจจุบัน โดยใช้ทฤษฎีเขตเงนิตราที่เหมาะสมของเงินตราที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนปัจจบัน โดยใช้ทฤษฎีเขตเงินตราที่เหมาสม โดยเงื่อไขที่จำเป็นประกอบด้วย ระดับการเคลื่อนย้ายการผลติ ระดับการเปิดประเทศ การกระจายของสินค้า ความสอดคล้องกิจกรรมทางเศรษบกิจและทฤษฎีควาทเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อทั่วไป เป็นการศึกษาความเหมาะสมของสกุลเงินทีเหมาะสมต่อการเป็นสื่อกลาการแลกเปลี่ยนที่ใช้ในปัจจุบันโดยเปรียบเทียบเงินสกุลเงินหยวนของจีน และสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐฯ กลุ่มประเทศอาเซียน +3 ที่ศึกษาประกอบด้วย จีน อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย....
             สรุปว่าการทดลองตามแนวทฤษฎี G-PPP ในกลุ่มประเทศอาเซียน +3 โดยใช้เงินหยวนเป้ฯฐานของอัตราและเปลี่ยนที่แท้จริง เหมาะสมกว่ากรณีเงินดอลลาร์สหรัฐฯ เป็นฐานของอัตราแลกเปลี่ยนที่แท้จริง...
           
             - บางส่วนจาก "ความาสามารถในการเป็นเขตเงินตราที่เหมาะสมของอาเซียน +3" วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต เสนอต่อมหาวิทยาลัยรามคำแหง,2556 โดย กุลกันยา ชูแก้ว
             

วันพุธที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Japan : ASEAN : East Asia Communuty

              หลังจากนโยบายฟูคูดะ จะดสำคัญในความสัมพันธ์ญีปุ่นอาเซียนคือการประกาศปฏิญญาโตเกียว ซึ่งปฏิญญาโตเกียวมีวัตถุประสงค์ในระยะยาวในการจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออก ขึ้นมแต่ผลปรากฎว่าการดำเนินการของประชาคมเอเชียตะวันออกนั้นขาดความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างญี่ปุ่นและอาเซียนในลักษณะที่จะเป็นตัวแปรในการสร้างประชาคมเอเชยตตะวันออกให้มีความเข้มแข็งได้อย่างไรจึงเป็นสิ่งที่น่ำศึกษาเป็นอย่างยิ่ง
              ญี่ปุ่นกับแนวนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คำถามนี้ได้รับความสนใจเป้นอย่างมาก เนื่องจากถึงแม้ว่าญี่ปุ่นจะได้เข้ามาเกี่ยวข้องในภุมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มาหลายทศวรรษแล้วผ่านทากงารต้าและการใหความช่วยเหลือในด้านต่างๆ แต่แนวนโยบายของญี่ปุ่นในภูมิภาคนี้ยังคงไม่ชัเเจนมากนัก กระทั่งทศวรรษที่ 1980 บรรษัทข้ามชาติขนาดใหญ่ของอญีปุ่นน้นเข้ามาลงทุนในภุมิภาคนี้อย่างมหาศาลโดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากการทำข้อตกลงพลาซา Plaza Accord ระหว่างญีปุ่นกับชาติมหาอำจาจตะวันตกซึ่งได้ส่งผลทางอ้อมในการกระตุ้นเศรษฐกิจของภูมิภาคนี้โดยรวม แต่อย่างไรก็ตามการทูตของญีปุ่นต่อภูมิภาคนี้ก็ยังคงถูกพิจารณาว่าเป้นในลักษณะที่ยังไม่ใ้ความสำคัญเด่นชัดนัก สำหรับญีปุ่นภูมิภาคนีจัดได้ว่ามีผลประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจกับญีปุ่นในการหาวัตถุดิบราคาถูกรวมถึงเป้ฯตลาดขาดใหญ่ในการขายสินค้าของตนด้วย สำหรับการเน้นการเข้ามาในเชิงเศรษฐกิจของญีปุ่นนั้นได้ส่งผลให้มุมมองของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มองญี่ปุ่นในเชิงลบว่าเข้ามาแสวงหาประดยชน์ทางด้านเศรษฐกิจมากกว่าจะเข้ามาสร้างความเข้มแข็งร่วมกันและยิ่งผสมผสานกับประสบการณ์ที่ประเทศในภูมิภาคนี้ได้รับจากการกระทำของญีปุ่น่นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ยังไม่ลืมเลือนไปจากอดีต
              สำหรับประสบการณ์ในการรวมกลุ่มแบบภูมิภาคนิยม ของอาเซียนนั้นเริ่มขึ้นในค.ศ. 1967 ซึ่งการวมกลุ่มในครั้งนั้นไม่ได้ส่งผลกระทบต่อแนวนโยบายของญีปุ่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงเร่ิมต้นเท่าใดนัก เนื่องจากญี่ปุ่นในขณะหนั้นได้ดำเนินแนวนโยบายตามสหรัฐฯที่ได้ประกาศแนวนโยบายนิกสัน ที่ได้ประกาศในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1969 หลังจากการถอนตัวของสหรัฐฯ จากภุมิภาคอันเนื่องมจากความพ่ายแพ้ในสงครามเวียดนาม จากปัจจัยนี้เองทำให้ญีปุ่นและอาเซียนมีความจำเป้ฯจ้องสร้างกรอความร่วมมือในระดับภูมิภาคระหว่างกันขึ้นมา นี่เป้นเหตุผลสำคัญที่ทำให้แนวนโยบายฟูคูดะได้ถูกเสนอขึ้น และอีกเหตุผลเพื่อที่จะลบภาพในเชิงลบของญี่ปุ่นที่ถูกมองจากกลุ่มอาเซียนว่าเปรียบเสมือน "สัตว์เศรษฐกิจ economic animal" ที่ได้กล่าวในข้างต้นมาแล้ว โดยญีป่นุดำเนินนโยบายกับอาเซียนในลักษณะที่ให้อาเซียนเป็นตัวขับเคลื่อนนโยบายสร้างความร่วมมือระหว่างกันอยางไรก็ดีญี่ปุ่นมิได้่งเสริมความร่วมมือในด้านเศรษฐกิจแต่เพียงด้านเดียว แต่ญีปุ่่นยังพยายามในการแสดงบทบาททางการทุตและการเมืองระหว่างประเทศในการเป็นตัวเชื่อมระหว่างประเทศในภุมิภาคที่เป้นคอมมิวนิสต์กับประเทศที่ไม่ได้เป็นคอมมิวนิสต์ซึ่งในจุดนี้ไม่ค่อยประสบผลสำเร็จเท่าใดนัก เนื่องจกาสาเหตุที่ญีปุ่นปรับนโยบายสนับสนุนอาเซียนในช่วงท่เวียดนามนั้นรุกรามกัมพุชาในเือนธีนวาคม ค.ศ. 1978 และในช่วงสิบปี ระหว่าง ค.ศ. 1978-1988 ญี่ปุ่นได้ร่วมกับสาธารณรัฐประชาชนจีน สหรัฐฯ และอเารเซียนการคัดค้านการกระทำดังหกล่าวของเวียดนามตลอดมา จากการดำเนินการอย่างตั้งใจของญีป่นุในด้านต่างๆ จะพบว่าในช่วงเวลานี้สามารถตอลรับได้กับการดำเนินแนวทางทางการทุตของอาเซียนในการสร้างความเช้มแช็งในแก่กลุ่มของตนเองโดยเฉพาะในช่วงวิกฤตการณ์กัมพูชาเป็นอย่างดี
             อย่างไรก็ดีนสถานการณ์ปัจจุบันในยุคหลังสงครามเย็นันเป้นที่ชัดเจนว่าแนวนโยบายของญีปุ่นต่ออาเซียนในปัจจุัยอันหนึ่งได้แก่ การขึ้นมาเป็นมหาอำนาจคู่แข่งของจีน โดยญีปุ่่นจะมีการตอบสนองกับจีนอย่างไรและขีดข้อสรุปใดความเป็นข้อสรุปที่นำมากำหนดนโยบายของญีปุ่นต่อจีนนั้นเป็นส่วนสำคัญที่ญีป่นุต้องให้ควาในใจในขณะนี้ถ้าญีปุ่นมองว่าการขึ้นมาเป้ฯมหาอำนาจขอจีนนั้นเป้นภัยคุกคามต่อตนเองและมองวาการสร้างความสัมพันธ์กับสหรัฐฯ เป็นสิ่งที่สามารถนำมาถ่งงดุลกับจีนได้ จาแนวคิดนี้ที่ได้รับการยอมรับการผุ้กำหนดนโยบายคนสำคัญของญีปุ่นหลายท่านตั้งแต่อดีตนายกรัฐมนตรีนายจุนอิชิโร โคอิซุมิ นายกรัฐมนตีคนปัจจุบันนายชินโซ อาเบ รัฐมนตรีต่างประทเศญ๊ปุ่นนายทาโร อาโซะ โดยแนวคิดให้ความสำคัญกับสหรัฐฯเป็นลำดับแรกและเอชียเป็นลำดัต่อมา เป็นแนวทางที่ถูกวิพากวิจารณือย่างหนักว่าทำให้เกิดความขัดแย้งกับจีนอย่างหลีกเลี่ยงมิได้รวมถึงยังไมเป้นการส่งเสริมในการสร้างการรวมกลุ่มให้เกิดขึ้นในเอเชียนตะวันออกได้อย่างแท้จริงอีกด้วย ตแ่ความเป้นแนวทางที่นำสหรัฐฯและจีนเข้ามาร่วมกันในการสร้างความเข้มแข็งให้กับภุมิภาคจะเป้นประดยชน์กว่า เนื่องจากโดยพื้นฐานของความเป็นจริงนั้นการสร้างความสัพมันธ์อันดีระหว่างสหรัฐฯ ญีปุ่นและจีนจะเพิ่มมูลค่าในด้านการต้าและการลงทุนซึ่งส่งผลในเชิงบวกกับภาพรวมทางเสณาฐกิจของโลกและการทำให้จีนอ่อนแอหรือไม่มั่นคง ในทางกลับกันก็คงจะทำให้เกิดความเสียหายหรือชะลอตัวทางเศณาฐกิจโดยรวมเช่นเดียวกัน จากตัวเชขทางสถิติการต้าระหว่างจนกับญี่ปุ่นใน ค.ศ. 2004 นั้นคิดเป็ฯร้อยละ 20 ของการต้าระหว่างประเทศของญีปุ่นโดยมีมุลค่าเกือบ 17,000 ล้านเหรียญสหรัฐ ทำให้จีนจัดได้ว่าเป้ฯคุ่ต้าสำคญในลำดับต้นๆ ของญีปุ่น
 แนวนโยบายของญีปุ่นในยุคปัจจุบันจึงไมควรเน้นการให้ความสำคัญแก่ชาติตะวันตก โดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัญฯ มากจนเกินไป ญี่ปุ่นควรที่จะหใ้ความสำคัญกับสหรัญ และประเทศในเอเชียตะวันออก เอชียตะวันออกเฉียงใต้ในสถานที่เท่าเทียมกัน การผูกพันกับจีนนั้นสามารถที่จะกำหนอให้กระบวนการรวมกลุ่มของเอเชียตะวนออกนั้นเป้นเป้าหมายในระยะยาวที่สามาถทำให้ในอนาคตและยังช่วยสร้างความเขชื่อใจและเชื่อมั่นระหว่งกันทั้งยังสามารถทใไ้ภาพในเชิลบของญีปุ่น่นที่มีอยุ่ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้นเบาบางลงไปอีกด้วย เมื่อนดังกรณีของความขัดแย้งระหว่างจีนและญี่ป่นุในกรณีของการเยือนศาลเจ้ายาวูโคนิ ของฝ่ายบริหารญีปุ่นหลายครั้งที่เป้นประเด็นระหว่างกันหลายครั้ง ได้มีข้อเสนอจาก เสนอว่าญีปุ่่นควรสร้างอนุสรณ์สถานของผุ้ที่เสียชีวิตในสงครามดลกครั้งที่ 2 เพื่อจะเป็นทางเลือกในการเข้าไปเคารพสัการะอย่งเป็นทางการของฝ่ายบริหารและยังสามรถที่จะหลีกเลี่ยงความขัดแย้งกับต่างชาติได้ในระดับหนึ่งอีกด้วย และในขณะที่ญีปุ่่นให้ความสำคัญแก่การสร้างสัมพันธ์กับจีนญี่ปุ่นก็ยังคงต้องเดินหน้าในการสร้างความสัมพันธ์กับอาเวียนไปอย่างต่อเนื่องซคึ่งสิ่งน้ลั้ไม่เพียงแต่จะสร้างสันติภาพและความมั่งคั่งให้เกิดขึ้นให้กับความสัพมันธ์ญ๊่ปุ่นแลอาเวียนโดยรวมเท่านั้น แต่ยังเป็นตัวขับเคลื่อนในแผนการรวมกลุ่มของภุมิภาคเอเชียนตะวันออกและเอเชยตะวันออกเฉียงใต้อีกด้วย แถลงการณ์ ในค.ศ. 2003 จึงเป็นการสร้างกรอบความร่วมมือและการพัฒนาระหว่างญีป่นุแลอาเวียน เพื่อให้ทั้งสองฝ่ายตระหนักถึงความสำคัญของทั้งสองฝ่ายในการทำงานร่วมกันอย่างใกล้ชิดเพื่อสเริมสร้างความสัมพันธ์กับภูมิภาคเอเชียตะวันออกในการสร้างปรชาคมเอเชียตะวันออกให้แข็งแกร่งต่อไป
              อาเซียนกับการก่อตั้งประชาคมเอเชียตะวันออก เมื่ออาเวียนก่อตั้งข้ชั้นในค.ศ. 1967 หรือเมื่อ 40 ปีมาแล้วนันวัตถุประสงค์หลักของอาเซียนนั้นได้แกการสร้างความเจริญเติบโตทางเสณษฐกิจ สังคม และการพัฒนาทาวัฒนธรรมอย่างไรก็ดีในช่งแรกของการก่อตั้งอาเซียนนั้นไม่ค่อยที่จะประสบความสำเร็จเท่าใดนักเนื่องจากอุปสรรคเดิมที่เคยเกิดขึ้นในกลุ่มของอาเซียน อันได้แก่ ความไม่เชื่อใจและหวาดระแวงระหวางกัน และจากวัตถุประสงค์ของการก่อตั้งอาเวียนนั้นจะไม่ได้เน้นถึงในเรื่องของการเมืองเท่าใดนัก แต่ในความเป้นจริงนั้น เหตุผลหลักที่แบแฝงอยู่่ของอาเซียน ได้แก่ความพยายามที่จะเปลี่ยนสถานะของความวุ่นวายและความไม่มีเสถียรภาพให้เป็นภุมิภาคที่มีสันตุภาพและความสบงเกิดขึ้น ในช่วง  ทศวรรษแรกอาเวียนตัดได้ว่าประสบความสำเร็จในการดำเนินากรทางการทุตระหว่างกัน ในขณะที่ด้านเศรษฐกิจซึ่งจัดได้ว่าเป็ฯเหตุผลหลักที่ได้กล่าวไว้ในวัตถุประสงค์ของการก่อตั้งไว้ไม่ก้าวหน้านักใน 2 ทศวรรษนี้เนื่องจากเหตุผลหลักสองประการ
             ประการที่หนึ่ง เนหื่องจากประเทศสมาชิกของอาเวียนส่วนใหญ่นั้นเป็ฯคู่แข่งในางเศราฐกิจกันเอง เนื่องจากประเทศส่วนใหญ่ผลิตสินคึ้าและส่งออกสินค้าที่มีลักาณะเป้ฯวัตถุดิบในการปลิต และเป้นสินึคาแบบปฐมภุมิ เชน สินึ้าเกษตรที่ยังไม่ได้แปรรุแ เป็นต้น ทั้งยังมีการกีดกันางการค้าระหว่างกันในระดับที่ยังสูงอย่ง ยิ่งไปกว่านันการขาดการส่งเสริมซึ่งกันและกันในะระบบเสณาฐกิจของเอาเวียนก็จัดเป็นสากเหตุสำคัญอีกประการในการทำให้มูลค่าการต้าภายในกลุมอาเซียน นันอยุ่ในระดับที่ต่ำอยยุ่ ประการต่อมาประเด็นปัญหารกัพุชาที่มีอยุ่ในภมุิาคในช่วนั้นถุกนำมาใช้เป้นขออรงในการขาดความรวมมือระหว่างกันในเชิงเศรษบกิ แย่างไรก็ดีในช่วงหลักงที่การแก้ปัญหากัมพุชาคลี่ลายไปก็ทำให้อาเซียนมีภาพลักษณ์ในการเป้นภุมิภาคที่ความเชื่อถือมาขึ้นในเวลทีโลกได้ ส่งผลถึงการส่งเสริมความร่วมอทางเสณาฐกิจของประเทศสมาชิกอาเซียนอีกทางหนึ่งในเวลาต่อมาด้วย
            เมื่อสงครามเย็นสิ้นสุดลงและปัญหาของกัมพูขที่หสข้อยุติได้ในค.ศ. 1991 ความสัพมัีะ์ในเชิงการเมืองและการทูตระหว่งกันที่เคยเป้นตัวประสาาติสมาชิกอาเซียนทั้งหลายเข้าด้วยกันได้ดีเหมือนในชวงสงครามเย็นันมีการเปลี่นแปลงไปจากเดมโดยไม่สามารถทำหน้าที่ได้ดีเหมือนก่อน จากสถานะของเหตุการณ์และช่วงเวลาที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้เหิดโอกาสให้เื้อแก่การให้ความสำคัญแก่ประเด็นทางเสรษฐกิจมากขึ้นจัดได้ว่าเป็นยุคแรกที่อาเวียนสามรถหาแนวกลยุทธ์การพัฒนาร่วมกันได้ โดย่งเสริมแนวทางการเปิดเสรีและเปิดการต้าระว่งกันรวมถึงกำจัดอุถปสรรคต่างที่มีต่อการรวมกลุ่มระหว่างกัน โดยในการประชุมสุดยอดผุ้นำอาเซียนครั้งที่ 4 ที่สิงคโปร์ ในค.ส. 1992 มีการก่อตั้งเขตการต้าเสรีอาเวีียนขึ้นจัดได้ว่าเป็นข้อตกลงประวัติศาสตร์ของอาเวียนในการขยายความร่วมมืออย่างเป็นรูปธรมทางเศราฐกิจนอเหนือจากกรอบทางด้านการเมืองและการทุต
              อาเซียนงยังได้มีการสร้างความสัพมัธืกับจีนหลังจากจนได้มีการพัฒนาทางเศรษกิจอย่างรวดเร็วในทศวรรษที 1990 เป้นต้นมาโดยมีการดำเนินการสร้างความร่วมมือในหลายกรอบเจรจาในระดับพหุภาคี จากการสร้างความสัพมันะ์กับมหาอำำนาจอย่างจีนเป้นการพัฒนาบทบาทของอาเวียนที่สำคัญในการพัฒนาโครงสร้างทางความาั่นคงและเศรษฐกิจของภูมิภาคต่อไป ซึ่งจีนก็ให้การตอบรับและความร่วมมืออันดีย่ิงในกานสงสเริมความสัพมันะ์ทางการทูตกับอาเซียนเป้นการส่งเสริมความสัมพันะ์แบบทวิภาคระหว่งอาเวียนและจีนที่มีประสิทธิภาพย่ิง
           
ถึงแม้อาเวียนนั้นจะประสบกับวิกฤตกาณ์ทางเสณาฐกิจในค.ศ. 1997 ซึ่งทำให้อาเซียนสูญเสียความมั่นใจและนำไปสุ่การวิพากวิจารณ์อาเวียน ถึงการขาดความร่วมมือระหว่างกันและความไร้ประสิทธิภาพในการหามาตรการร่วมกันในการแก้ไขวิกฤตการณ์ครั้งทนีจากจุดนี้เป้นตัวเร่งให้อาเซียนมีความจำเป็นต้องหามาตรการเพื่อป้องกันวิกฤตการณ์ต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต โดยในอาเซียนอาเศัยความสัมพันธ์ที่มีกับประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกิจของเอชเียตะวันออกได้แก่ ญีป่นุ จีนและเกาหลีใต้ โดยมีการหารือกันในระดับผุ้นำประเทศของประเทศสมาชิกอาเวียนและผุ้นำของญีปุ่นจีนและเกาหลีใต้เป็นครั้งแรก ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อเดือนธันวาคม ค.ศ. 1997 จัดได้ว่าเป้นจุดเริ่มต้นของการประชุมสุดยอดอาเซียน+3 ที่ได้จัดขึ้นเป้ฯประจำปีในช่วงเดียวกับการประชุมสุดยอดอาเซียน ในความเป็นจริงแล้วในช่วงของวิกฤตเศรษฐกิจนั้น ญีปุ่นได้มีความพยายามที่จะจัดตั้งกองทุนการเงินเอเชีย ขึ้นมาเพื่อเป็นองค์กรในการให้ความช่วยเหลือทางการเงินจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ เนื่องจากมีเงื่อนไขที่ทำให้ประเทศในเอเชียได้รับความลำบากอย่างมาก แต่กองทุนการเงินเอเชียนั้นก็ไมได้มีการจัดตั้งขึ้นเนื่องจากคำคัดค้านของสหรัฐฯ ที่ให้เหตุผลว่าการจัดตั้งกองทุนการเงินเอเชียนันจะส่งผลให้ระบบการเงินโลกนั้นไม่มั่นคง อย่างไรก็ตามหลังจาก ค.ศ. 1999 นั้นกรอบของอาเซียน +3 นั้นได้มีแนวคิดที่จะขยายกรอบนี้ออกไปซึ่งส่วนนี้เป้นการเสนอแนวความคิดของเกาหลีใต้ให้มีการประชุมสุดยอดเอชียตะวันออกขึ้นมาโดยมีแนวคิดที่จะดึงอินเดีย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ขึ้นมา เพื่อเป็นแนวทางที่จุะถ่วงดุลการขึ้นมามีอำนาจของจีนที่อาจจะส่งผลต่อการเข้ามามีอิทธิพลในกรอบของอาเซียน +3 ขึ้น ทำให้อาเซียนสามารถเป็นพลังในการผลักดันให้กรอบของอาเซียน +3 นั้นเป้นแหล่งที่สมารถนำญี่ปุ่น จีนและเกาหลีใต้ที่มีความขัดแย้งในหลายประเด็นและทำให้ความร่วมมือของทั้งสามชาตินั้นเป็นได้ยากอย่างยิ่งในอดีตเป็นไปได้ในเวทีนี้ นับได้ว่าเป็นศักยภาพของอาเซียนที่สำคัญในเวทีโลก
               ญีปุ่น อาเซียน กับการขับเคลื่อนประชาคมเอเชียตะวันออก วิกฤตเศรษฐกิจในค.ศ. 1997 นั้นอาจส่งผลกระทบในด้านลบหลายๆ ประเทศในอาเซียนและภูมิภาคเอเชียตะวันออกแต่ในอีกมุมมองหนึ่งวิกฤตครั้งนี้กลับกลายเป็นจุดเปลี่ยนที่สำคัญที่ทำให้ญี่ปุ่นหันเข้ามาร่วมมือ เกี่ยวข้องและสร้างความสัมพันธ์กับอาเซียนมากขึ้น ดดยการเข้าร่วมในการรวมกลุ่มแบบภูมิภาคนิยม ในเอเชียตะวันออก โดยแนวคิดของการรวมกลุ่มแบบภุมิภาคนิยมในเอเชียตะวันออกนั้นเริ่มจากรูปแบบของการก่อตั้ง  East Asian Economic Caucus (EAEC) ที่เริ่มในทศวรรษที่ 1990  โดยมหาเธ โมฮัมหมัด ในช่วงนั้นปฏิกิริยาของญี่ปุ่นนั้นเป็นลกษณะไม่ผูกมัดและค่อนข้างวางเฉย เนื่องจากสไรับญีปุ่นนั้นความสัมพันะ์กับสหรัฐฯ ถือว่าเป็นความสำคัญลำดับแรกของญี่ปุ่นในนโยบายต่างประเทศ โดยญ๊ปุ่นตระหนักว่าการรมกลุ่มแบบภูมิภาคนิยมในเอเชียตะวันออกนั้นจะเป้นอุปสรรคและอาจจะทำให้เกิดความขัอแย้งกับสหรัฐฯ ได้ในที่สุดถ้าญีุ่่ปุ่นจะเปลี่ยนลำดับความสำคัยในนโยบายต่างประเทศญีปุ่น
         
ถึงแม้ญี่ปุ่นจะมีแนวนโยบายที่ให้ความสำคัญแก่สหรัญฯเป็ฯลำดับแรก จากที่ได้กล่าวมาในช่วงต้นการเกิดวิกฤตเศรษกบิจส่งผลในการกดดันให้ญีปุ่นต้องเข้ามเกี่ยวข้องในการรวมกลุ่มของภุมิภาคเอเชียตะวันออกมากยิ่งขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับอาเซียน ภายใต้ผนการ  "มิยาซาวา อินนิติทีฟ" ญี่ปุ่นมีแผนในการให้การสนับสนุนทางการเงินเป็นจำนวนถึงสมหมื่อนล้านดอลลารสหรัฐฯ เพื่อช่วยฟื้นฟูเศรษฐกิจให้กับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในขณะที่จีนให้การสนับสนุนในลักาณเดียกันเป็นจำนวนเกือบสี่พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ และคงอัตราการแลกเปลี่ยนของเงินหยวนไวอย่างเดมโดยไม่ลดค่าลงเพื่อมิให้ส่งผลกระทบต่อการส่งสินคึ้าออกของอาเวียนแลป้นการช่วยสภาพของการต้าและากรลงทุนในอาเซียนในระดับหนึ่งอีกด้วย รวมถึงกรอบของเซียน +3 ที่ทั้งญี่ปุ่นและจีนมีความกระตือรอืล้นที่จะเข้ามาสร้างความแข้.แกร่งยังทำให้เกิดความร่วมมือด้วยการสร้างความร่วมมือในระดับภุมภาคทางการเงินและการธนาคารผ่านทาง "เชียงใหม่ อินนิเทียทีฟ"
            จากความร่วมมือของญีป่นุกับอเาซียนในช่วงนีภายใต้นายกรัฐมนตรี โอบูชิ ไคโซะ ช่วงเสริมสร้างควมแข็.แกร่งให้กับญีปุ่นและอาเซียนอยางมาก แต่สำหรับอาเซียนแล้วเพื่อหลีกเลี่ยงการเข้ามาครอบงำของมหาอำนาจไม่ว่าจะจากญี่ปุ่นหรือจีน ส่งผลให้อาเวียนจำเป็นต้องสร้างสมดุลในความสัมพันธ์กับทั้งสองฝ่าย ซึ่งในความเป็นจริงแล้วทั้งนักวิชาการและนักวิเคราะห์เห็นตรงกันว่าจีนนั้นได้เปรียบกว่ามนการ
มีความสัมพันธ์กับอาเซียนในหลายทศวรรษที่ผ่านมา เนื่องจากมีการเดินทางเพื่อพบปะหารือกันในระดับผุ้บริหารประเทศเพื่อสร้างความร่วมมือ ไกล่เกลี่ยและแก้ไขปัญหาร่วมกันในหลายประเด็นด้วยกัน อาทิ เรืงของเส้นแบ่งเขตแดน การต้า ความร่วมือทางทหาร เป็นต้น เนื่องจากจีนนั้นมีแนวทางและความตั้งใจที่ชัดเจนในกาเปิดสัมพันธ์กับอาเซียน กรณีนี้ญีปุ่นแตกต่างจากจีนเนื่องจรากย๊่ปุ่นมักจะมีความไใ่ชัดเจนเมื่อต้องเพ่ิมระดับความสัพมัะน์กับอาเซียนและการรักษาสมดุลในความสัมพันธ์กับสหรัฐฯ เนื่องจากในปัจจุบันที่ญี่ปุ่นกลายเป็นมหาอไนาจทางเศรษฐกิจของโลกทำให้ญีปุ่่นแม้จะมีที่ต้งอยุ่ในทวีปเอเชียแต่ได้มีการกำหนดตนเองให้เป็นกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้วและมีแนวทางแบบประเทศตะวันตกที่พัฒนาแล้วทำให้เมื่อจะต้องสร้างสัมพันธ์มากขึนกับประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งแทบทุกประเทศ(ยกเว้นสิงค์โปร์)จัดเป้นประเทศที่กำลังพัฒนาทั้งสินทำให้อาจจะเกิดความลังเลที่จะเข้าไปอย่างเต็มตัวโดยเฉพาะต้องเข้าไปในความสัมพันธ์ที่มีความเท่าเทียมกับกลุ่มอาเซียนอีกด้วย
                อย่างไรก็ดี หลังจากที่อาเวียนสามารถฟื้นฟู รวมตัวแลร่วมมือกันได้ทำให้อาเซียนกลายเป็นพันธมิตรที่มีประสิทธิภาพสำหรับญีปุ่นในการร่วมกันสร้างประชาคมเอเชียตะวันออกได้ ซึ่วสวนนี้ได้สะท้อนให้เห็นเป็นรูปธรรมในการประชุมสุดยอดผุ้นำอาเซียน ญี่ปุ่น โดยนาย จุนอิชิโร โคอิซูมิ ได้ให้การรับรองเงินเป็นจำนวน 70 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เพือ่สนนับสนุในการรวมกลุ่มครั้งนี้ญีป่นุยังได้เริ่มย้ายการลงทุนของตนเองจากจีนเข้ามาลงทุนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มากขึ้น แม้ว่าการกระทำดังกล่าวอาจจะทำให้เกิดความขัดแย้งขึ้นระหว่างญี่ปุ่นกับจีนแต่อาเซียนนั้นก็สามารถเป็นตัวเชื่อมโยงทำให้กความขัดแย้งดังกล่าวไม่รุนแรงเกินขอบเขตและยังสร้างบบาทที่สำคัญแก่อาเซียนในการช่วยเร่งและผลักดันกระบวนการรวมกลุ่มในประาชมเอเชียตวะันออกให้ประสบความร่วมมือมากและรวดเร็วขึ้นถึงแม้ว่าสิ่งต่างๆจะดำเนินไปในลักษณะที่ทำให้อาเซียนมีบทบามสำคัญในการสร้างประชาคมเอเชียตะวันออกให้
แข็งแกร่งย่ิงขึ้น แต่ในปัจจุบันก็ยังคงไม่มีแผนงานหรือแนวความคิดหลักในการกำหนดวิสัยทัศน์ของประชาคมอาเซียนตะวันออก เนื่องจกาในปัจจุบันยังมีแนววคิดที่ยังคงมีกาถกเถียงกันเกียวกับวัตถุประสง์ของการร่วมมือในภูมิภาคและประชาคมเอเชียตะวันออกควรจะมีสมาชิกกีประเทศและประเทศใดบ้าง ดังนั้นอเซียนจึงจึงจำเป็นที่จะต้องหให้ความสนใจอย่าต่อเนื่งอในการพัฒนาความร่วมมือในระดับภุมิภาคซคึ่งมีแนวทางในปัจจุบันดังนี้ั ประการแรก ส่งเสริมความก้าวหน้าการรวมกลุ่มในระดับภูมิภาคโดยการพยายามส่งเสริมความแข็งแกร่งของชาติสมาชิกระหว่างกัน ประการต่อมา ความจะพยายามรักษาผลประโยชน์ระหว่างกันให้สมดุลกันมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพื่อรักษามิให้เกิดความไใ่ไว้วางใจซึ่งกันและกันในกรณีที่จะต้องเผชิญหน้ากับปัญหาร่วมกันรวมถึงการสร้างความร่วมมือระหว่างกันในภุมิภาคอีกด้วย ประการสุดท้ายพยายามส่งสรเิมความร่วมมือทางเศราฐกิจในเชิงชึก ของภูมิภาค รวมถึงการสร้างความสัมพันธ์ทั้งในเชิงทวิภาคีและพหุภาคี
             หนทางของประชาคมเอเซียตะวันออก ในขณะที่อาเซียนสามารถใช้เวทีของอาเซียน +3 ในการแสดงบทบาทสำคัญในการรวมกลุ่มในระดับภูมิภาค แต่การจะดำเนินการสำเร็จหรือไม่เป็นอีกปัจจัยหนึ่งก็ขึ้นอยุกับความ่วมมือของมหาอำนาจที่เข้าร่วมดดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีของญีป่นุและจีน ในกรณีของจีนนั้นค่อนข้องมีความชัดเจนในเรื่องของบทบาทของตนเองในอาเวียน +3 แต่ในกรณีของญีปุ่นนั้นควรต้องพิจารณาบทบาทของตนเองในชัดเจนว่าจะเำเนินนโยบายอยางไรในอาเซียน+3 ถุวแม้ว่าที่ผ่านมาญี่ปุ่นจะแสดงให้เห็นถึงการพยายามเข้ามาในสวนนี้ไม่ว่าจะเป้นการใหความช่วยเหลือในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจที่ผ่านมา เรื่องของความพยายามในการจะจัดตั้ง AMF แต่สิงที่ญ๊ปุ่่นควรจะต้องดำเนินการด้วยการพิจารณรอย่างรอบคอบคือการดำเนินความสัมพันธ์กับสหรัฐฯ หลังการเข้าร่วมในอาเซียน +3 เนื่องจากรเื่องความสัมพันธ์ระหว่างญีปุ่่นกับสหรัฐฯ เป็นส่ิงที่ทราบกันดีว่าจะต้องดำเนินต่อไปย่างหลีกเลี่ยงมิได้ ซึ่งในจุดนี้ก็คงไม่มีชาติใดที่ต้องการให้ญีปุ่นปรับลดระดับความสัมพันธ์ของญีปุ่น่กับสหรัฐฯลง แต่ญีปุ่นมีความจำเป็นอย่างเร่งด่วนที่จะต้องแสดงแนวทางของตนเองให้ชัดเจนในอาเซียน +3 ซึงแน่นอนว่าไม่ควรจะนำเรื่องนี้ไปขึ้นอยุ่กับหรืออยุ่บนพื้นฐานของความสัมพันธืระหว่างญีปุ่นกับสหรัฐฯ ซึ่งการกระทำอย่างนั้นจะทำให้บทบาทของญีปุ่่นและความร่วมมืออาเซียน +3 นั้นไม่สามารถดำเนินอย่างมีประสิทธิภาพแท้จริงได้ และอาจเกิดสิ่งที่ทุกชาติให้ความร่วมมือนี้ไม่อยากให้เกิดคอการถูกชี้นำจากจีนที่มีสถานะและแนวทางที่ชัดเจนและสามารถดำเนินการได้ อีกอย่างถ้าญี่ปุ่นยังลังเลในบทบาทของตนเอง ซึ่งอาเซียนเองก็หวังมิหใเกิดเหตุการณ์เช่นนั้น เนื่องจกาอาเซียนพร้อมที่จะแสดงบทบาทเป็นตัวเชื่อมระหว่างมหาอำนาจที่เข้ามาในอาเซียน +3 เพื่อสร้างให้การวมกลุ่มในประชาคมเอเชียตะวันออกนั้นสามารถพัฒนาได้อย่างยั่งยืนต่อไปในอนาคต...(บทความ "ญี่ปุ่น อาเซียน และการสร้างประชาคมเอชียตะวันออก, สาธิน สุนทรพันธุ์)
         

วันอังคารที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

East Asia Community : EAC

               สาเหตุผลักดันของการรวมกลุ่มเอเชียตะวันออก คือ "วิกฤติต้มยำกุ้ง" ปี 2540 ที่ปรเทศไทยถูกโจมตีค่าเงินบาท โดยกลุ่มทุนจากตะวันตก (การปล้นทางเศรษฐกิจ) อเมริกาในฐานะพันธมิตรนอกนาโต้ กลับยืนมองไทยล้มไปเฉยๆ เมื่อไทยล้ม อินโดนีเซียก็ล้มตาม ตามด้วยเกาหลีใต้ ฟิลิปินส์ มาเลเซีย จึงตกหลักที่ญี่ปุ่น ซึ่งเป็นประเทศในฐานะผู้ให้กู้รายใหญ่ในเอเซีย เพราะลูกหนี้ไม่มีจ่าย ส่วนจีนในตอนนั้นไม่ยอมลดค่าเงินของตัวเอง เพื่อช่วยพยุงอาเซียนและเอเชีย จีนจงเป็นที่เกรงใจ ต่อประเทศใน อาเซียนในเวลาต่อมา
              ไทย อินโดนีเซีย และเกาหลีใต้ ต้องเข้าดครงการอกงทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือ IMF โดย IMF ให้เงินมาก้อนหนึ่งและในทั้ง 3 ประเทศ ลดการใช้จ่ายทงการเงินภาครัฐ และต้องปล่อยให้ธนาคารที่อ่อนแอล้ม นั้นหมายคึวามว่าา มไ่มีการลงทุนจากภาครัฐ และธุรกิจธนาคารพังทลาย เครื่องจักรสำคัญทางเศรษฐกิจ ตัวสำคัญหายไป ผลที่ตามคือ กลุ่มตะวันตกเข้ามาซื้อกิจการของไทย และเอเชีย เกือบทั้งหมด...
              มาเลเซีย นำโดย ดร.มหาเธร์ โมฮัมหมัด รุ้ทันสถานะการณ์และมีความสามารถ ไม่ยอมเขาโครงการ IMF และรัฐบาลมาเลเซียน ได้เร่งการลงทุนภาครัฐ และตรังค่าเงินเพื่อลดความผันผวน ผลก็คือ มาเลเซีย ฟื้นตัวเร็วที่สุด อักทั้งไม่ต้องเป็นหนี้ ..
              ณ ตอนนั้นคนไทยมีความรุ้สึกแย่กับอเมริกาเป็นอย่างมาก และเหมือนตบหัวแล้วลูบหฃบัง อเมริกาขายเครื่องบิน F-16 ADF แบบถูกๆให้ไทย มาหนึ่งฝูง แต่ไทยไม่ซื้อเครื่องบินจาอเมริกาอีก ไทยไปซื้อของสวีเดน เป็นเครื่องรุ่น JAS-39 เมื่ออเมริการรู้ข่าว จึงส่งจดหมายทางการมาว่า "อเมริกาไม่เข้าใจ ทำไมประเทศไทยที่ซื้อเครื่องบิน และระบบอาวุธของอเมริกามาตลอก ทำไมจึงได้ตัดสินใจซื้อเครื่องบินของสวีเดน"..
             ความจริงปรากฎอีกครั้งเมื่อง ปี พ.ศ. 2552(2009) "วิกฤตแฮมเบอร์เกอร์"อเมริการกลับยทำทุกอย่างที่ตรงกันข้ามกับที่ IMF เคยสั่งให้ไทย ทำเมื่อปี 2540 นั่นคือเร่งใช้จ่ายภาครัฐ ลดดอกเบ้ย ตรึงค่าเงิน ประครองธนาคารใหญ่ ไม่ให้ล้ม และรักษาระบบการเงินการธนาคารเอาไว้ สุดท้าย เอเชีย เมื่อได้เห็นปบบนั้น ก็รู้สึกไม่ดีกับ IMF มากขึ้น และในปี 2552 เอเชียนจึงจัดการตั้ง "กองทุนการเงินเอเชีย" หรือ AMF ขึ้นมา แล้วส่งเงินเข้า IMF ให้น้อยลง ผลที่ตามมาคือ IMF ขาดเงิน เพราะเงินทุนส่วนใหญ่เป็นของเอเชีย..(toppicstock.pantip.com/...งานเขียนเกี่ยวกับ "ประชาคมเอเชียตะวันออก")
               กล่าวได้ว่า ในช่วงกว่าทศวรรษที่ผ่านมา เอเชียตะวันออกเป็นหัวจักรสำคัญที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลกวิกฤตเศรฐกิจในเอเชียเมื่อ พ.ศ. 2540-2541(1997-1998) ส่งผลกระทบอย่างสำคัญต่อเศณาฐกิจของปลายประเทศในภุมิภาคเอเชียตะวันออก ทำให้เศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ในภุมิภาคชะลอตัวลงชั่วคราว แต่วิกฤติดังกล่าวกลับช่วยกระตุ้นให้ประเทศในภุมิภาคตระหนักถึงความเชื่อมโยงและการพี่งพากันทางเศรษฐกิจซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่นำไปสู่การจัดตังกรอบความร่วมมืออาเซียน +3 ญี่ปุน จีน และเกาหลีใต้ กลไกสำคัญในการขับเคลื่อนความร่วมมือในเอเชียตะวันออกโดยมีเป้าหมายระยะยาวคือการจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออก
 การประชุมอาเซียน +3 จากวิกฤตเศราฐกิจในเอเชียในปี 2540 ส่งผลให้กลุ่มประเทศในเอเชียนตะวันออกเห็นพ้องกันมากขึ้นถึงความจำเป็นในการรวมตัวทางเศณษฐกิจระหว่างกันจะทำให้เกิดการพบหารือกันอย่างไม่เป็นทางการของผุ้นำของประเทศในอาเวียน ผุ้นำญีปุ่น จีนและเกาหลีใต้ ในปี 2540 และนำไปสู่การจัดตั้งกรอบความร่วมมืออาเซียน+3 ซึ่งมีพัฒนาการมาโดยลำดับ โดยที่สำคัญได้แก่ 1) การออกเเถลงการณ์ร่วมว่าด้วยความร่วมมือเอเชียตะวันออกฉบับที่ 1 ในปี 2542 ซึ่งทไใ้กรอบอาเวียน+3 ก่อตัวเป้นรูปร่างอย่างชัดเจน 2) การจัดตั้งกลุ่วิสัยทัศน์เอเชียตะวันออก East Asia Vision Group : EAVGในปี 2542 ได้ช่วยวางวิสัยทัศนืของการจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออก 3) การจัดตั้งกลุ่มศึกษาเอเชียตะวันออก East Asia Study : EASG ได้นำไปสู่การจัดทำข้อเสนอแนะมาตรการความร่วมมือที่ช่วยส่งเสริมความร่วมมือในกรอบอาเซียน +3 และรักษาพลวัตรความร่วมมือที่ดำเนิมาด้วยดีในช่วงทศวรรษแรกให้ดำเนินไปได้อย่างมั่นคงโดยเฉพาะภายหลังที่มีการจัดตั้งเวทีความร่วมมือใหม่ ได้แก่ การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก East Asia Summit : EAS ซึ่งเดิมที่จะเป้ฯวิวัฒนาการของการประชุมสุดยอดอาเซียน +3
               การประชุมสุยอดเอชียตะวันออก East Asia Summit : EAS การจัดตั้ง EAS ในปี 2548 เป็นพัฒนากรที่สำคัญในความร่วมมือเอเชียตะวันออกเนื่องจากเป้นการเปิดมิติใหม่ของความสัมพันธ์และความร่วมมือในภูมิภาคและมีการเปิดโอกาสให้ประเทศนอกภูมิภาคเข้ามามีส่วนร่วมด้วย โดยประเทศอาเซียน +3 ที่ผลักดันให้ประเทศนอกภุมิภาคได้เข้าร่วมใน EAS แม้จะมีเหตุผลแตกต่างกันไ ปแต่ก็มีเป้าหมายตรงกัน คือ ไม่ต้องการให้ EAS จำกัดอยุ่เฉพาะแค่ประเทศอาเวียน +3 เนื่องจกายังมีความหวากระแวงกันเองทั้งที่จุประสงค์พั้งเิมของ EAS จะเป็นวิวัฒนาการของการประชุมสุดยอดอาเวียน +3 ซึ่งจะจัดขึ้นเมื่อประเทศอาเซียน +3 มีความไว้เนื้องเชื่อใจกันมากพอ
               ปัจจุบัน EAS ประกอบไปด้วยสมาชิก 16 ประเทศ ซึ่งได้แก่ ประเทศอาเซียน +3 และประเทศที่เข้ามาใหม่ 3 ประเทศ ได้แก่ อินเดีย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ซึ่งมักเรียกันว่าอาเซียน +6 โดยในมุมมองของอาเซียน EAS จะเป็นเวทีใหม่อีกเวทีหนึ่งที่อเว๊ยนปรารถนาจะมีบทบาทนำ แต่ในมุมมองของประเทศภายนอกอาเซียนโดยเฉพาะประเทศที่เข้ามาใหา่ทั้ง 3 ประเทศ EAS เป้ฯเวทีที่ประเทศทัง 16 ประเทศมีความเท่าเทียมกัน
EAS จะเข้ามาแทนที่กรอบอาเซียน+3 หรือพัฒนาคุ่ขนานกันไปจะทำให้ความร่วมมือในเอเชียจตะวันออกเข้มข้นขึ้นหรืออ่อนแอลงเป้นส่ิงที่ต้องศึกษากันต่อไป อย่างไรก็ดี EAS อาจเป็นผลดีต่อความร่วมมือในเอเชียตะวันออกในระยะยาว เพราะจะช่วยให้ความร่วมมือในเอเชียตะันออกมพลวัตมากขึ้น การที่เป็นเวทีความร่วมมือที่เปิดกว้างไม่จำกัดเฉพาะประเทศในเอเชียตะวันออกทำให้ EAS สามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของโครงกสร้างทางเศรษฐกิจและการเมืองของโลกได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ยังอาจใช้เป้ฯเครื่องมือสำคัญควบคุมจีน หากในอนาคตจีนมีท่าที่เปลี่ยนไปในทางที่พยายามจะแสดงอิทะิพลมากขึ้นทั้งนี้ ในปัจจุบัน EAS มีการประชุมมาแล้ว 5 ครั้ง ในการประชุม EAS ครั้งที่ 5 นเดือนตุลาคม 2553 ที่กรุงฮานอย ได้มีการออกเอกสาร Ha Noi Declaration on Commemoration of 5th Anniversary of the EAS เพื่อแสดงเจตนารมณ์และพันธะทางการเมืองในการสงเสริมความร่วมมือและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับ EAS ต่อไป รวมทั้งขยายสมาชิก EAS โดยสหรัฐอเมริกาและรัสเซียนเข้าร่วมประชุมด้วยใรกาประชุมครั้งที่ 6 ในปี 2554 อย่างไรก็ดี กรอบอาเวียน +3 เป็นกรอบที่มีความเป็นไปได้ที่จะพัฒนาไปได้มากกว่า EAS เนื่องจากมีความร่วมมือที่มีความก้าวหน้าไปแล้วในหลายๆ ประเด็น..(บทความ "บทบาทของญี่ปุ่นในประชาคมอาเซียนตะวันออกและนัยต่อประเทศไทย)

วันจันทร์ที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

ASEAN + 3,

                กรอบความร่วมมืออาเซียน + 3 (จีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี)  เริ่มต้นเมื่ปี 2540 (1997) ในช่วงเกิดวิกฤตการเงินในภูมิภาคเอเชียตะวันออกโดยผุ้นำของประเทศสมาชิกอาเซียนและผู้นำของจีน ญี่ปุ่น และสาะารณรัฐเกาหลี ได้พบหารือเป็นตรั้งแรกที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อเดือน ธันวาคม 2540 และหลังจากนั้นได้มีการจัดประชุมสุดยอดอาเซียน+ 3 เรือยมาปัจจุบันความร่วมมือาเซียน +3 ครอบคลุมเกือบ 20 สาขา และมีแากรประชุมระดับต่างๆ กว่า 60 กรอบ
             เพื่อกำหนดแนวทางความสัมพันธ์ระหว่างกัน ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน +3 ครั้งที่ 3 เมื่อปี 2542(1999) ได้ออกแถลงการณ์ร่วมว่าด้วยความร่วมมือเอเชียตะวันออก และจัดตั้งกลุ่มวิสัยทัศน์เอเชียตะวันออก รุ่นที่ 1 เพื่อกำหนดวิสัยทัศน์ความร่วมมือในเอเชียตะวันออกโดยในปี 2544(2001) EAVG I ได้มีข้อเสอนให้จัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออก East Asian community-EAc2) และกำหนดมาตรการความร่วมมือด้านต่างๆ กว่า 57 สาขา เพื่อนำปสู่การจัดตั้ง EAcในอนาคต
             ในการประชุมสุดยอดอาเซียน+ 3 ซึ่งกำหนดให้การจัดตั้งประชาคมเอเซียตะวันออกเป็นเป้าหมายระยะยาว และให้กรอบอาเซียน +3 ครั้งที่ 9 ในปี 2548 ผุ้นำได้รับรองปฏญญากัวลาลัมเปอร์ว่าด้วยการประชุมสุดยอดอาเซียน+3 ซึ่งกำหนดให้การจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออกเป็นเเป้าหมายระยะยาว และให้กรอบอาเซียน +3 เป็นกลไกหลักเพื่อบรรลุเป้าหมายดังกล่าว นอกจากนี้ในโอกาสครบรอบ 10 ปีของความร่วมมืออาเซียน+3 ในปี 2550 ได้มีการออกแถลงการณ์ร่วมว่าด้วยความร่วมมือเอเชียตะวันออก ฉบับที่ 2 และแผนงานความร่วมมือาเซียน +3 (ฉบับปี 2550-2560) ซึ่งกำหนดแนวทางดำเนินความร่วมมือตามแถลงการณ์ฯซึ่งได้มีการัีบรองแผนฉบับปรับปรุงเมื่อปี 2556
            ในการประชุมสุดยอดอาเซียน + 3 สมัยพิเศษฉลองครอบรอบ 15 ปีของความสัมพันธ์ เมื่อปี 2555 ได้มีการรับรองรายงานของกลุ่มวิสัยทัศน์เอเชียตะวัยออก รุ่นที่ 2 ที่จัดตั้งขึ้นในปี 2554 โดยกำหนดมาตรการส่งเสริมความร่วมมือกว่า 25 สาขา โดยตั้งเป้าหมายในการเป็นประชาคมเศรษฐกิจเอเชียตะวันออกในปี 2563 เพื่อปูทางสู่การเป็นประชาคมเอเชียประชาคมเอชียตะวันออกในอนาคต
            กลไกความร่วมมือาเซียน +3
            กลไกการดำเนินความสัมพันธ์ในภาพรวมของอาเซียน +3 แบ่งออกเป็ฯ 3 ระดับใหญ่ ได้แก่ การประชุมสุดยอดผุ้นำอาเซียน +3 ASEAN  +3 Summit ซึ่งจัดขึ้นในช่วงเดียวกับการประชุมสุดยอดอาเซียนในช่วงปลายปีของทุกปี, การประชุมรัฐมนตรีต่างประทเศอาเซียน +3 ASEAN Post Ministerial Conference-PMC ในช่วงครึ่งหลังของทุกปี, การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียน +3 การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียน +3 ในช่วงกลางปีของทุกปี
         
ภาพความร่วมมืออาเซียน +3
            - ความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง กลไกหลักคือการประชุมสุดยอดอาเซียนบวกสามาและการประชุมรัฐมนตรีอาเซียนบวกสาม โดยมุ่งเน้นการส่งเสริมความร่วมมือ ความไว้เนื้อเชื่อใจ และรักษาสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาค, อาชญากรรมข้ามชาติ กลไกหลักคือ APT Ministerial Meeting on Transnation Crime (AMMTC+3) และ APT Serior Officials Meeting on Transnational Crime (SOMTC+3) ที่มีการประชุมทุก 2 ปี โดยล่าสุด การประชุมครั้งที่ 6 จัดขึ้นที่เวียงจันทน์ เมื่อเดือน ก.ย. 2566 โดยมุ่งเน้นการดำเนินกิจกรรมต่างๆ อาทิการจัดสัมมนา การฝึกอบรมเพื่อส่งเสริมศักยภาพเจ้าหน้าที่ และการบังคับใข้กฎหมาย
           - ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ ในปี 2556 อาเซียนกับประเทศ +3 มีมูลค่าการต้าระหว่างกัน 726,400 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ(28.9%ของปริมาณการต้าของอาเซียน) โดยเพ่ิมขึ้นจากปีก่อน 1.8% นอกจากนี้ มูลค่าการลงทุนโดยตรงจากประเทศ +3 เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 35,100 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ (28.7% ของการลงทุนทั้งหมดในอาเซียน) โดยเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 13.6%
               การเงิน กลไกหลักคือการปรุชมรัญฐมนตรีคลังและผุ้ว่าธนาคารกลางอาเวียน +3..
               การท่องเทียว กลไกหลักคือ ASEAN Plus Tree Tourism Minister Meeting (M-ATM+3)โดยในปี 2013 มีจำนวนนักท่องเที่ยวเดินทางมาในภูมิภาคอาเซียน +3 จำนวนทั้งสิ้นท 230 ล้านคน ซึ่งเพ่ิมขึ้นจากเดิม 4.37% โดยมีความร่วมมือที่มุ่งสงสเริมศักยภาพของบุคลากร การตลาดร่วม และส่งเสริมการท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ
               การเกษตร กลไกหลักคือ ASEAN Minister on Agriculture Meeting with Plus Three Countries(AMAF+3) โดยมีการประชุมล่าสุดครั้งที่ 14 ที่กรุงเนปิดอว์ ในปี 2557 โดยมุ่งเน้นสาขาความมั่นคงทางอาหารและพลังงานชีวภาพ การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การจัการป่าไม้อย่างยั่งยืน และการวิจัยและพัฒนาด้านการเกษตร โดยที่ประชุมสุดยอดอาเซียน+3 ครั้งที่ 12 เมื่อปี 2552 ที่อำเภอชะอำ หัวหิน ได้รับรอง..เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านความมั่นคงทางอาเหารและพลังงาน รวมถึงจัดตั้งองค์กรสำรองข้าวฉุกเฉินของอาเซียน +3 ซึ่งได้มีการลงนามความตกลงจัดตั้ง APTERR และมีผลบังคับใช้ตังแต่วันที่ 12 กรกฎาคม 2555(2012) ทั้งนี้ สำนักเลขาุการ APTERR มีที่ตั้งอยุ่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยมีนายวิโรจน์แสงบางกา เป็นผุ้อำนวยการสำนกงานเลขานุการฯ
               พลังงาน กลไกหลักคือ APT Minister on Energy Meeting (AMEM+3) โดยล่าสุดมีการประชุมครั้งที่ 121 ที่เวียงจันทน์ เมื่อปี 2557 (2014) โดยมุ่งเน้นกิจกรรมเวทีสมัมมาในสาขาต่างๆ อย่างต่อเนื่อง อาทิ ตลาดน้ำมัน ความมั่นคงทางพลังงาน พลังงานทดอทนและการประหยัดพลังงานโดยเน้นสร้างศักยภาพ แลกเปลี่ยนข้อมูล
               - ความร่วมมือด้านสังคมและวัฒนธรรม
                ด้านการศึกษา กลไกหลักคือ APT Education Minister Meeting (APT-EMM) โดยมีการประชุมครั้งล่าสุดเป็นครั้งที่ 2 ที่กรุงเวียงจันทน์ เมื่อเดือน ก.ย. 2557 โดยมี ASEAN Plus Three Plan of Action on Education (2010-2017) เพื่อกำหนดแนวทางการส่งเสริมความร่วมมือ โดยมุ่งเน้นการแลกเปลี่ยนและการประกันคุณภาพหลักสุตร
                ด้านวัฒนธรรม กลไกหลักคือ APT Minister Responsible for Culture and Arts (AMCA+3) โดยการประชุมครั้งล่าสุดจัดขึ้นที่เมืองเว้ เมื่อเดอืน เมษายน 2557 โดยมี Work Plan on Enhancing APT Cooperation in Culture กำหนดแนวทางความร่วมือ โดยมุ่งเน้นการดำเนินนโยบายด้านวัมฯธรรมและศิลปะการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ทรดกทางวัฒนธรรม และการพัฒนา SMEs และอุตสาหกรรมสร้างสรรค์
             
 ด้านสิ่งแวดล้อม กลไกหลักคือ ASEAN Plus Three Enviroment (APTHMM) โดยมีการประชุมครั้งล่าสุดที่กรุงเวียงจันทน์ เมื่อเดือน ตุลาคม 2014 โดยมุ่งเน้นด้านสิ่งแวดล้อม การพัฒนาอย่างยั้งยืน การบริหารจัดการน้ำ ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
               ด้านสาธารณะสุข กลไกหลักคือ ATP Healt Ministers Meeting(APTHMM)โดยมีการประชุมครั้งล่าสุดเป็นครั้งที่ 7 เมื่อเดือน ก.ย. 2557(2014) ที่กรงุฮานอย โดยมุ่งเน้นความร่วมมือเรื่องยาแผนโบราณสุขภาพแม่และเด็ก หลักประกันสุขภาพถ้วยหน้าและการรับมือโรคติดต่อและโรคระบาดอุบัติใหม่ ซึ่งล่าสุดไทยได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมรัฐมนตรีสาธารณสุขอาเซียนบวกสาม สมัยพิเศษ เรื่องการเตรียมความพร้อมและการแก้ไขปัญหาการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา เมื่อ ปี 2557(2014)
               ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและประชาสังคม มีกลไกหารือหลักระหวางประเทศอาเซียน+3 สองกลไกได้แก่ Network of East Asia Think Tanks (NEAT) ซึ่งกลไกหารือระหว่างภาควิชาการในประเทศอาเซียน + 3 และ East Asia Forum (EAF) ซึ่งเป็นกลไกระว่างภาครัฐ ภาคเอกชนและภาควิชาการ
               กองทุนความร่วมมืออาเซียน +3 ASEAN Plus Three Cooperation Fund-APTCF จัดตั้งขึ้นเมื่อ เมษายน 2552(2009) เพื่อสนับสนุนการดำเนินโครงการและกิจกรรมต่างๆ ในกรอบอาเซียน +3 โดยมีเงินทุนเริ่มต้น 3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยใช้อัตราส่วนการสมทบ 3:3:3:1(จีน : ญี่ปุ่น : กลต. : อาเซียน)..(บทความ "กรอบความร่วมมืออาเซียน +3 จีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี)
               


วันอาทิตย์ที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2560

ASEAN-Korea Free Trad Agreement : AKFTA

             เขตการต้าเสรีอาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลี ลงนาม 27 กุมภาพันธ์ 2552(2009) เร่ิมลดภาษี 1 มกราคม 2553(2010) ลดภาษีเป็น 0
            ในการประชุมผุ้นำอาเซียน-เกาหลี เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2003 อาเซียนและเกาหลีเป็นชอบให้จัดตั้งคณะผู้เชี่ยวชาญร่วมเพื่อศึกษาการขยายความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจและการพัฒนาระหว่างอาเซียนและเกาหลี ซึ่งรวมถึงการศึกษาควมเป้ฯไปได้ในการจัดทำเขตการต้าเสรี และกลุ่มผุ้เชียวชาญได้สรุปผลการศึกษาว่า การจัดทำเขตการต้าเสรีระหว่างอาเซียนและเกาหลีจะเพิ่มมูลค่าการต้าและการลงทุนระหว่างกัน รวมทั้งส่งผลดีต่ออาเซียนและเกาหลีในด้านอื่นๆ ด้วยในการประชุมผุ้นำอาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลี ครั้งที่ 8 เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2004 ณ กรุงเวียนจันทน์ สาธารณรับประชาธปิปตยประชาชนลาว ผุ้นำอาเซียนและเกาหลีเห็นขอบให้เร่ิมการเจรจาจัดทำความตคกลงเขชตกาต้าเสรีอาเซียน-เกาหลี ในช่วงต้นปี 2005 และกำหนดให้สรุปผลเจรจาภายใน 2 ปี โดยการเจรจาจะครอบคลุมการเปิดเสรีการต้าสินค้า การต้าบริการ การลงทุน และความร่วมมือทางเศราฐกิจภายในภูมิภาคอาเซียน-เกาหลี
           กลไกการดำเนินการ
           -จัดตั้งคณะเจรจาการต้าเสรี เป็นเวที่หารือระหว่างอาเซียนและเกาหลี และจัดตั้ง ASEAN Trade Negotiating Group (TNG) เป็นเวทีประชุมหารือระหว่างสมาชิกอาเซียน โดยมีสิงคโปร์เป็นประธารฝ่ายอาเซียน
           - กำหนดกรอบและเงื่อนไขของการเจรจาการเปิดตลาดสินค้าทั้งในกลุ่มลดภาษีปกติ และกลุ่มสินค้าอ่อนไหว/สินค้าอ่อนไหวสูง
           - จัดตั้งคณะทำงานด้านต่างๆ เพื่อยกร่างกรอบความร่วมมือทางเศณษฐกิจ ภาคผนวกที่เกี่ยวข้อง และความตกลงต่างๆ
           - จัดตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ASEAN-Korea FTA Implementing Committee : AKFTA-IC เพื่อติดตามและดูแลการปฏิบัติตามพันธกรณีความตกลงต่างๆ ที่จัดทำขึ้นภายใต้เขตการต้าเสรีอาเซียน- เกาหลี
         คณะเจรจาการต้าเสรีอาเซียน-เกาหลีสามารถสรุปกรอบความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างอาเซียนและสาธารณรัฐเกาหลี, ความตกลงว่าด้วยกลไกการระงับข้อพิพาท, และได้ลงนามในการประชุมสุดยอดอาเซียน-เกาหลี ครั้งที่ 9 เดือนธันวาคม 2005 สำหรับความตกลงว่าด้วยการต้าสินค้า อาเซียน 9 ประเทศ ยกเวนไทย สามารถตกลงกับเกาหลีในความตกลงนี้ได้แล้ว และมีการลวนามเมือเดือนสิงคหาคม 2006 โดยความตกลง TIG มีผลบังคับใช้แล้วตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2007 ในส่วนของการเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการ นั้นอาเซียนและเกาหลี่สามารถบรรลุความตกลงได้แลว้ว ทัเ้งในเรื่องร่างข้อบทความตกลง ส่วนแนบท้ายว่าด้วยการบริการด้านการเงิน และตารางข้อผูกพันเฉพาะ ดโยทั้งสองฝ่าย ยกเว้นไทย ได้ลงนามความตกลงนี้ในระหว่างการประชุมผุ้นำอาเซียนเกาหลี เดือนพฤศจิกายน 2007 และมีผลบังคับใช้แล้วตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2009 ณ โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน และไทยได้เริ่มใข้บังคับกรอบความตกลงฯ ความตกลงว่าด้วยกลไกการระงับข้อพิพาท และพิธีสารฯ เฉพาะในส่วนของความตกลงว่าด้วยการต้าบริการแล้วตั้งแต่วันที่1 มิถุนายน 2009 รวมมั้งได้บังคับใช้พิธีสารการเข้าเป้นภาีของไทยในความตกลงว่าด้วยการต้าสินค้าเมื่อวันที่ 1ตุลาคม 2009 ความตกลงว่าด้วยการลงทุนเป็นความตกลงฉบบสุดท้ายที่กำหนดให้มการเจรจาจัดทำภายใต้กรอบความตกลงฯ ทั้งสองฝ่ายใช้เวลาเจรจานานกว่า 3 ปี และสามารถบรรลุผลการเจรจาเมื่อเดือนเมษายน 2009 โดยรัฐมนตรีเศรษฐกิจของท้งสองฝ่ยได้ลงนามความตกลงนี้เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2009 ทั้งนี้ความตกลงจะมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 กันยายน 2009
              รัฐสภาเกาหลีให้ความเห็นชอบพิธีสารว่าด้วยการเข้าเป็นภาคีของไทยในความตกลงว่าด้วยสินค้าและพิธีสารว่าด้วยการเข้าเป็นภาคีของไทยใรคามตกลงว่าด้วยการบริการ เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2009 ทั้งนี้ความตกลงจะมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2009..(www.dtn.go.th/..เวทีการเจรจาการค้า,FTA อาเซียน-เกาหลีใต้)
            รูปแบบการลดภาษี
            - กลุ่มสินค้าปกติ เป็นกลุ่มสินค้าที่จะต้องลดภาณีลงเหลือร้อยละ 0 ภายใรระยะเวลาที่ได้ตกลงกันไว้โดยเริ่มลดภาษจาอัตราภาษีฐานในปี 2548(2005)
            - กลุ่มสินค้าอ่อนไหว กลุ่มสินค้าอ่อนไหวสำหรบอาเซียนและเกาหลีจะมีจำนวนไม่เกินร้อยละ 10 ของจำนวนรายการสินค้าและมูลค่าการนำเข้าจากอาเซียน/เกาหลีทั้งนี้ กลุ่มสินค้าอ่อนไหวจะแบ่งออกเป็นอีก  กลุ่มย่อย ได้แก่
              รายการสินค้าอ่อนไหว : เกาหลีและอาเซียน 6 จะต้องลดภาษีของสินค้ากลุ่มนีลงเหลือร้อยละ 0-5 ไม่ช้ากว่าวันที่ 1 มกราคม 2559(2016) โดยเวียดนามจะต้องลดภาษีลงไม่ช้ากว่าวันที่ 1 มกราคม 2564(2021) และกัมพูชาพม่า และลาวจะต้องลอภาษีลงไม่ช้ากว่าวันที่ 1 มตราคม 2567(2024)
             
 รายการสินค้าอ่อนไหวสุง : เกาหลีและอาเซียน 5 จะมีสินค้ากลุ่มนี้ได้ไม่เกินร้อยละ 3 ของจำนวนรายการสินค้าทั้งหมดและมูลค่าการนำเข้าจากอาเซียน/เกาหลี โดยไทยจะมีได้ไม่เกินร้อยละ 3 ของรายการสินค้าและไม่เกินร้อยละ 4 ของมูลค่าการนำเข้าจากเกาหลีเวียดนามจะมีได้ไม่เกินร้อยละ 3 ของรายการสินค้า และกัมพูชา พม่า และลาว จะมีสินค้าได้ไม่เกินร้อยละ 3 ของรายการสินค้า..
            - การลดภาษีต่างตอบแทนสำหรับสินค้าอ่อนไหว ในความตกลงว่าด้วยการต้าสินค้าระหว่างอาเซียน-เกาหลี ได้กำหนดข้อบทการลดภาษีต่างตอบแทนเช่นเดียวกับที่ปรากฎในความตกลงอาเซียน-จีนโดยอาเซียนและเกาหลีตกลงให้ประเทศผู้ส่งออกสามารถได้รับสิทธิการลดภาษีต่างตอบแทนสำหรับสินค้าอ่อนไหว เมื่ประเทศผุ้ส่งออกลดอัตราภาษีศุลการของสินค้าที่อยู่ในกลุ่มสินค้าอ่อนไหวลงเหลือร้อยละ 10 หรือต่ำกว่า โดยประเทศผุ้นำเข้าจะเรียกเก็บภาษีนำเข้าสำหรัีบสินค้าดังกล่าวในอัตราตามที่กำหนดไว้ในตารางการลิภาษีของประเทศผุ้ส่งออก หรืออัตราที่กำหนดสำหรับสินค้ากลุ่มลดภาษีปกติของประเทศผุ้นำเข้าในพิกัดเดียวกัน ขึ้นอยุ่กับว่าอัตราใดสุงกว่าอย่างไรก็ตา อัตราดังกล่าวจะต้องไม่สูงกว่าอัตราที่เรียกเก็บทั่วไปของประเทศผุ้นำเข้า ยกเว้นสินค้าในกลุ่ม E ของายการสินค้าอ่อนไหวสุงจะไม่ได้รับสิทธิในกาลดภาษีต่างตอบแทน
             กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า สินค้านำเข้าที่จะห้รับสิทธิพิเศษทางภาษีอากรภายใต้ความตกลงฯจะต้องเป็นสินค้าที่ได้รับถิ่นกำเนิดสินค้าตามกฎเกณฑ์ของกฎว่าด้วยถ่ินกำเนิดสินค้าที่กำหนดไว้เท่านั้น
            สินึ้าที่ถือว่ามีถิ่นกำเนิดในประทเศามาชิก AKFTA จะต้องเป็นไปตามกฎดังนี้
             - เป็นสินค้าที่ผลิตหรือใช้วัตถุดิบทั้งหมดในประเทศผุ้ส่งออก หรือ
             - หากเป็นสินค้าไม่ได้ผลิตหรือใช้วัตถุดิบทั้งหมดในประเทศผุ้ส่งออกจะต้องเป็ฯสินค้าที่ผลติตามกฎเกณฑ์ทั่วไป โดยเป็นกฎทางเลือกระหว่าง สินค้าที่ผลิตในประทเศภาคี โดยมีสัดส่วนมุลค่าวัตถุดิบในประเทศภาคีไม่ต่ำกว่าร้อยละ 40, เป็นสินค้าที่ผลิตในประเทศภาคีโดยมีการเปลี่ยนแปลงพิกัดอัตราศุลกากรในระดับ 4 หลัก
             - นอกจานี้ จะมีกฎเกณฑ์การได้ถ่ินกำเนิดเฉพาะสินค้า สำหรับสินค้าบางรายการ โดยสินค้ากลุ่มนี้ไม่สามารถได้ถิ่นกำเนิดตามกฎเกณฑ์ทัวไป ได้แก่ บางรายการของกลุ่มสินค้าเกษตร สินค้าสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม และสินค้าอื่นๆ ทั้งนี้ การพิจารณราถิ่นกำเนิดสินคึ้ายังมีเกณฑ์ือ่นๆ อีก...
              หลักการเฉพาะเพื่อส่งเสริมการต้าภายใต้ความตกลง เนื่องจากากรต้าในปัจจุบันมีการซื้อขายโดยผ่านพ่อค้าคนกลาง หรือประเทศคนกลางที่มีสินค้าส่งผ่าน มากยิ่งขึ้นความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-เกาหลี จึงกำหนดหลักการเพื่อส่งเริมการต้าแบบผ่านคนกลางดังนี้
  - การออกหนังสือรับรองถ่ินกำเนิดสินค้าแบบ Back-to-Back CO โดยทั่วไป สินค้าจะได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร จะต้องได้ถ่ินกำเนิดจาประเทศผู้ผลิต ตามกฎว่าด้วยถ่ินกำเนิด และมีหนังสือรับรองถ่ินกำเนิดสินค้า กำกับในการส่งออก พร้อมด้วยใบกำกับราคาสินค้า และเอกสารการขนส่ง เมื่อประเทศผุ้นำเข้าได้รับสินค้า จะตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารที่มาพร้อมกับสินค้า จึงจะได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรขาเข้า ในกรณีที่ประเทศผุ้นำเข้าต้องการส่งออกสินค้าที่นำเข้าจะไม่สามารถออกหนังสือรับรองฯได้อีก เนื่องจกาสินค้านั้นไม่ได้ผลิตภายในประเทศตน
             เมื่อการค้าในปัจจุบันมีรูปแบบที่เปลี่ยนแปลงไป คือ กาต้าตรงระหว่างผุ้ผลิตและผุ้ั่งซื้อ เร่ิมีพ่อค้าคนกลางเข้ามาเกี่ยวข้องโดยเป้นผุ้ประสานระหว่างผู้สั่งซื้อและผุ้ผลิต ดังนั้น ความตกลง AKFTA จึงออกแนวปฏิบัตเพื่อรองรับรูปแบบการต้าที่เปลี่ยนแปลงไปนี้โดยยอมให้ประเทศพ่อค้าคนกลางเหรือประเทศคนกลาวที่สินค้าส่งผ่าน สามารถออก Form AK ฉบับที่ 2 เพื่อกำกับสินค้าที่ส่งออกต่อ โดยต้องคงรายละเอียดในเรื่องถ่ินกำเนิดสินค้าเดิมสินคึ้าเดิมไว้ เรียกว่าเป็นการออกหนังสือรับรองสินค้า แบบ Back to Back ในการนี้ประเทศคนกลางที่สินค้าส่งผ่านสามารถเปลี่ยนแปลงข้อมุลและราคา FOB ของสินค้าได้โดยประเทศคนกลางที่สินค้าส่งผ่านต้องเป็นสมาชิกในความตกลงเท่านั้น
              - หลักปฏิบัติในการส่งออกโดยใช้ Third Country Invoicing เป็นหลักการเพื่อสนับสนุนการต้าผ่านคนหลางเช่นกัน ตามกฎของหลักากรนี้ ผุ้ส่งออกส่งสินค้าจาประเทศผุ้ผลิต ตรงไปยังประเทศผุ้นำเข้าโดยไม่ผ่านประเทศคนกลาง(ประเทศที่สาม) แต่ผ่อนปรนให้ศุลกากรในประเทศผุ้นำเข้า สามารถยอมรับเอกสารใบกำกับสินค้า ที่ออกโดยประทเศที่ 3 โดยราคา FOB ในใบกำกับสินค้าฉบับ Third Country อาจแตกต่างจากที่ระบุใน Foam AK ของสินค้านำเข้านั้นได้
              - ความแตกต่างระหว่าง Back to Back CO และ Third Country Invocing ประเด็นที่ Third Country Invoicing เหมือนกับ Back to Back คือ ประเทศผุ้นำเข้าปลายทางต่างไม่รู้ราคาต้นทุนสินค้าที่ขายจากประเทศผุ้สงออกเนื่องจากประเทศคนกลางสามารถปลี่ยนราคาสินคค้าใน ฟอร์ม ได้แต่ประเด็นที่แตกต่างกันคือ ฺBack to Back ประเทศคนกลางต้องเป็นประเทศในภาคีความตกลง แต่ Third Country Invoicing ประเทศคนกลางอาจอยุ่ในหรือนอกความตกลงก็ได้...(คุ่มือการใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้าภายใต้ความตกลง อาเซียน-เกาหลี)
               การจัดทำความตกลง FTA อาเซียน-เกาหลีใต้ คาดว่าจะช่วยให้สินค้าส่งออกของอาเซียนรวมทั้งไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันด้านราคาที่ดีขึ้นในเกาหลีใต้ โดยเฉพาะการแข่งขันกับสินค้าราคาถูกจากจีนที่แย่งส่วนแบ่งตลาอของอาเซียนในเกาหลีใต้ในช่วงที่ผ่านมา(2545-2549) และคาดว่าจะส่งผลให้ส่วนแบ่งตลาดสินค้าของอาเวียนในเกาหลีใต้เพิ่มขึ้น เนื่องจากภายใต้ความตกลง FTA อาเวียน-เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ต้องยกเลิกภาษีศุลกากรสินค้าในสัดส่วนร้อยละ 90 ของรายการสินค้าทั้งหมดที่เกาหลีใต้นำเข้าจากอาเซียนภายในปี 2553 สำหรับไทย ผุ้ประกอบการไทยควรเร่งเตรียมความพร้มเพื่อใช้ประโยชน์จากความตกลง FTA อาเซียน-เกาหลีใต้ ซึ่งการเจรจาเปิดตลาดสินค้าระหว่างไทยกับเกาหลีใจ้ได้ข้อยุติแล้ว คาดว่าจะเริ่มลดภาษีภายใต้ FTA ได้ภายในปี 2551 หลังจากที่อาเวียนอื่นๆ เร่ิมใ้ประโยชน์จากการเปิดตลาดของเกาหลีใต้ภายใต้ FTA ไปก่อนแล้วในช่วงกลางปี 2550
              ด้านการลงทุนของเกาหลีใต้ในอาเซียน การลงทุนโดยตรงของเากหลีใต้ในอาเวียนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจากปัจจัยที่สนับสนุนที่สำคัญ ได้แก่
               - สิทธิประโยชน์ด้านภาษีศุลกากรสำหรับการต้าภายในอาเวียนตมความตกลงเขตการต้าเสรีอาเซียน ที่ทำให้เกาหลีใต้เล็งเห็นถึงผลดีของแารเข้ามาลงทุนในอาเวียน และสามารถนำเข้าวัตถุดิบหรือส่วนประกอบจากอีกประเทศอาเซียนหนึ่งได้โดยเสียภาษีในอัตราที่ต่ำ ภายใต้กรอบ AFTA
               - การเปิดเสรีด้านกาต้าสินค้าและภาคบริการในกรอบความตกลง FTA อาเซียน-เกาหลีใต้ ที่ส่งผลให้การนำเข้าวัตถุดิบ/กึ่งสำเร็จรูปและสินค้าทุนจากเกาหลีใต้เขาอาเวียนมีอัตราภาษีต่ำลงภายใต้การเปิดเสรีด้านสินค้าระหว่างอาเซียนกับเกาหลีได้นอกจากนี้ เกาหลีใต้สามารถขเ้าไปจัดตั้งฑุรกิจบริการในอาเซียนได้มากขึ้น เช่น บริการด้านการศึกษา สุขภาพ และท่องเที่ยว จากการลดกฎระเบียบ/เงือนไขของอาเซียนตามข้อตกลงเปิดเสรีภาคบริการระหว่างอาเซียนกับเหาหลีใต้..(www.kasikornresearch.com/..จับตาเกาหลีใต้ใช้ประโยชน์จาก FTA : ขยายการลงทุนในอาเซียน-ไทย,กระแสทรรศน์ฉบับที่ 2029)
             
           

วันเสาร์ที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2560

ASEAN-India Free Trade Agreement : AIFTA

               อาเซียนและอินเดียได้ลงนามความตกลงการต้าเสรีอาเซียน-อินเดีย หรือ ASEAN-India Free Trade Agreement  เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2552 (2009) ที่กรุงเทพฯ การลงนามความตกลงดังกล่าวเป็นผลมาจากความพยายามในการเจรจาตั้งเขตการต้าเสรีอาเซียน-อินดเีย มายาวนานกว่า 6 ปี ตั้งแต่ปี 2545 และทั้งสองฝ่ายได้ลงนามกรอบความตกลงว่าด้วย ความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่ครอบคลุมด้านต่างๆ หรือ Framework Agreement on Comprehensive Economic Cooperation Agreement(CECA) เมื่อปี 2546 โดยภายใต้ความตกลงว่าด้วยการต้าสินค้า หรือ Agreement on Trade in Goods (TIG) มีผลให้อินเดียย มาเลเซีย สิงคโปร์ และไทย เร่ิมลดภาษีตั้งแต่วันที่ 1 มกตรคม 2553(2010) และประเทสมาชิกอาเซียน 5 ประเทศได้แก่ บรูไน มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ ไทย และอินเดียจะยกเลิกภาษีศุลการกรของสินค้าโดยรวมประมาณร้อยละ 80 ของรายการสินค้าภายในปี 2559 ขณะี่ประเทศสมาชิกใหม่อาเซียนอื่นๆ ได้กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนาม และอินเดียจะยกเลิกภาษีภายในปี ส่วน 2564 ประเทศฟิลิปปินส์และอินเดียจะยกเลิกภาษีภายในปี 2562 ฝ่ายไทยมอง่า อินเดียวเป็นประเทศี่มีศักยภาพด้านเศรษบกิจ และมีความสำคัญต่อภูมิภาคเอเซียเป็ฯอันดบที่สามรองจากญี่ปุ่นและจีน ด้วยอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจเฉลี่ยร้อยละ 7-8 ต่อปี ส่งผลให้ประชากรที่รายได้สูงขึ้นและเป็นตลาดผุ้บริโภคขนาดใหญ่ที่มี กำลังซื้ปานกลางถึงสูงรวมกว่า 350 ล้านค้น อินเดียจึงเป้นตลาดใหม่ที่มีศักยภาพรองรับการสงออกของไทย ขณะที่ฝ่ายอินเดียมองฝา 10 ประเทศในอาเซียนถือเป็นกลุ่มประเทศที่ใกล้ชิดกับอินเดียใมากเป็นลำดับสอง รองจากประเทศในกลุ่มเอเชียใต้ แต่โดยที่กลุ่มประเทศเอเชียใต้ส่วนใหญ่จะมีพัฒนาการทางเศรษฐกิจที่ช้า อินเดียจึงเล็งเห็นว่า จำเป็นที่ต้องมองไปทางฝั่งตะวันออก เพื่อกระชับความร่มมือทางเศรษฐกิจและการต้ากับกลุ่มอาเซียน จึงให้ความสำคัญกับนโยบาย Look East pOLICY
              การลงนามในความตคกลง TIG สำหรับอินเดียจึงมีความสำคัญต่ออินเดียอย่างยิ่ง และเปรีบเสมือนเป็นการสร้างเขตการต้าเสรีที่มีประชากรมากกว่า 1.8 ล้านคน และมี GDP รวมกันกว่า 2.8 ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐ และขณะนี้มีรายการสินค้ากว่า 4,000 รายการที่จะลดภาษีให้เหลือ 0 ภายในป ี 2559 (2016)
               เมื่อดูสถิติ จะพบว่า การต้าระหว่างอาเซียนกับอินเดียภายหลังการลงนมความตกลง TIG ได้เพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่ยังคงมีมูลค่าและการเติบโตน้อยกว่าการต้าระหว่างอาเซียนกับจี อาเซียนกับฐี่ปุ่น และอาเซียนกับเกาหลีใต้ ซึ่งเป็นประเทศคู่ค้าที่สำคัญ
               ในปี 2554 ภายหลังจากการลดภาษีตามความตกลง มูลค้าการต้าระหว่างอินเดียกับอาเียนเพ่ิมขึ้นจากปี 2542 ที่มีรวม 43,911.67 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพ่ิมขึ้นเป็น 56,235.85 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือขยายตัวสูงถึงร้อยละ 28 และได้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนถึงปี 2557 มูลค่าการต้ารวมอาเซียน-อินเดีย มีสูงถึง 76,527.35 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
                จากสถิติการต้าทั้งในส่วนของการนำเข้าและส่งออกระหว่างอินเดียกับอาเซียนมีเพ่ิมขึ้นโดยตลาอยกเว้นในปี 2555(2012) ที่การส่งออกของอินเดียไปยังอเซียนมีการเติบโตที่ติดลบ สินค้าส่วนใหญ่ที่อินเดียได้ประโยชน์จาก TIG คือ การส่งออกสินค้าทางด้านวิสวกรรม เช่น ชิ้นส่วนยานยนต์ เครื่องจักร อุตสาหกรรม และผลิตภัฒฑ์พวกแร่โลหะต่างๆ ไปยังอาเซียน
                อย่างไรก็ดี อินเดียมองว่า ในการทำการต้าระหว่างอินเดียกับอาเซียน ยังคงมีอุปสรรคทงการต้าที่ไม่ใช้มาตรการทางภาษี อื่นๆ ในโดยเฉพาะอย่างยิ่ง อุปสรรคทางเทคนิค เช่น มาตรฐานสินค้า มาตรฐานการผลิต สินค้า การตรวจสอบสินค้า และอุปสรรคด้านอื่นๆ เชน การจำกัดโควต้า การนอเข้สสินค้า เช่น  กรณีของสินค้าเวชภัฒฑ์และการห้ามนำเข้า เช่น สิงคโปร์และอินโดนีเซีย ไ้ามนำเข้าเนื้อสัตว์ จากอินเดีย เป็นต้น
               นอกจากนี้ พ่อค้าอินเดียยังมอง่า รัฐบาลอินเดียยังไม่ได้ให้การสนับสนุนการส่งออกอย่างจริงจั แลมองว่า กระบวนการส่งออกจากอินเดียใช้เวลายาวนาน และเสียเงินและเสียเวลาค่อนข้องมาก อีกทั้งยังต้องมีสินบนให้กับเจ้าหน้าที่ของอินเดีย อีกทั้งโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ถนนหนทางและระบบโลจิสตอกส์ของอินเดียยังไม่ดีพอ รวมถึงรัฐบาลยังมีนโยบายที่เปลี่ยนแปลงอยู่เรื่อยๆ ซึ่งล้วนส่งผลต่อต้นทุนการส่งออกของพ่อค้าอินเดีย
หากพิจารณาดูความเคลือนไหวของอินเดียในระยะนี้ จะพบว่า อินเดียมีได้มองเฉพาะการต้าระหว่งอินเดียกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เท่านั้น แต่กำลังพยายามที่จะชเื่อมโยการต้าของอินเดียเข้ากับกลุ่มทางเศรษฐกิจอื่นๆ เช่น ความตกลงพันธมิตรทางกาต้าระดับภุมิภาค, ความตกลงหุ้นสวนทางเศณษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก โดยอินเดียมองว่าจะใช้ประโยชน์จกประเทศอาเซียนที่เป็นสมาชิก TPP ได้อย่างไร และในสาขาใด
               รายงานข่าว ระบุว่า อินเดียเป็นประเทศที่ประกาศจะสนับสนุนให้ผุ้ประกอบการอินเดียไปลงทุนธุรกิจ สิ่งทอในเวียดนามด้วยการเสนอสิทธิพิเศษ ทั้งด้านการเงินและด้านการสร้างนิคมอุตสาหกรรม ดดยการลงทุนดังกล่าวจะทำให้ได้สิทธิประโยชน์ในกานส่งออกสินค้าไปขายในประเทศสมาชิก ของ TPP ที่มีมุลค่าคิดเป็นสัดส่วนสุงถึงร้อยละ 40 ของการค้าโลก
              อย่างไรก็ดี  อินเดียบังเป้ฯประเทที่ยังไม่เข้าร่วม TPP โดยประเมินว่า อินเดียจะประสบปัญหาทางการต้าหลายประการ หากตัดสินใจเข้าร่วมความตกลง TPP โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประเด็นเรื่องิทธิบัตรยา เนื่องจากจะทำให้ยาในอินเดียมีราคาเพ่ิมสูงขึ้นอย่างมาก และส่งผลกระทบต่อประชากรอินเดียในกลุ่มผุ้มีรายได้น้อยและปานกลางอย่างรุนแรง..(www.thaiembassy.org/.."เหลียวมองการค้าระหว่างอินเดียกับอาเซียน)
             ประเทศสมาชิกอาเวียนและอินเดีย ได้ลงนามกรอบความตกลงว่าด้วยควาร่วมมือทางเศรษฐกิจที่ครอบคลุมด้านต่างๆ ระหว่างอาเซียน กับ อินเดีย ซึ่งครอบคลุมการลดและยกเลิกภาษีศุลกากรมาตรการและอุปสรรคที่มิใช่ภาษี การเปิดเสรีการต้าบริการ การลงทุน และการจัดทำกลไกระงับข้อพิพาท รวมทั้งส่งเสริมความร่วมมือในการอำนวยความสะดวกทางการ้าและด้านอื่นๆ
             การเจรจาจัดทำความตกลงว่าด้วยการค้าสินค้าระหว่างอาเซยนและอินเดียได้บรรลุข้อตกลงการลดและยกเลิกภาษีศุลกากรเสร็จสิ้นเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2551 สำหรับประเทศไทยความตกลงดังกล่าวเร่ิมมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2553
             สาระสำคัญของการความตกลงการต้าเสรีอาเซียน-อินเดีย
             - การลดและยกเลิกภาษีศุลกากร ประเทศสมาชิกาอเว๊ยนและอินเดียจะทยอยลด/ยกเลิกภา๊ศุลกากรตามตารางข้อผูกพันภาษี ภายใต้ความตกลง AIFTA ภมยในกำหนดเวลาที่ต่างกันโดยประเทสมาชิกใหม่ของอาเซียน (ลาว กัมพูชา เวียนนาม และพม่า)จะได้รับความยืดหยุ่นให้ลดภาีชข้ากว่าประเทศอินเดีย บรูไน มาเลิซีย สิงคโปร์ และไทยเป็นระยะเวลาห้าปี ส่วนอินเดียกับฟิลิปปินส์จะลดภาษีให้แก่กันช้ากว่าที่อินเดียลดภาษีให้กับประเทศสมาชิกอื่นอย่างน้อยเป็นเวลาสามปี ซึ่งแต่ละประเทสจะทยอยลดภาษีจากอัตราภาษีเรียกเก็ฐจริง ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2550
             - กฎว่าด้วยถิ่นกำเนินสิค้า หัวใจสำคัญของการใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้า คือ กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า ซึงเป้ฯหลักเกณฑ์ในการตัดสิน หรือ ใช้สำหรับพิสูจน์ว่าสินค้าส่งออกมีสัญชาติหรือถ่ินกำเนิดภายในกลุ่มประเทศอาเซียนและอินเดีย เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าสินค้ากำเนิดภายในุ่มประเทศอาเวียนและอินเดีย เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าสินค้าที่จะได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรภายใต้ AIFTA จะต้องเป็นสินค้าที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศภาคีเท่านั้น
              - ระเบียบปฏิบัตเกี่ยวกับหนังสือรับรองถ่ินกำเนิดสินค้า ภายใต้เขตการต้าเสรีอาเซียน-อินเดีย AIFTA ในการส่งออกสินค้าที่ได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรภายใต้ความตกลงการต้าาเสรีอาเซียน-อินเดีย AIFTA ผุ้ส่งออกเหรือผุแทนที่ได้รับมอบอำนาจจะต้องยื่นคของรับหนังสือรับรองถิ่นกำเนิด ฟอร์ม AI ซึ่งออกโดยกรมการต้าต่งประเทศ เพื่อส่งให้ผุ้นำเข้าขอใช้สิทธิลดหย่อน หรือยกเว้นภาษีศุลกากร ณ ประเทศปลายทาง นอกจานี้ ยังเป้นเอกสารที่ใช้พิสูจน์ว่าสินค้าที่จะส่งออกดังกล่าวมีการผลิตได้ถูกต้องตามกฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้าภายใต้ความตกลงฯ
              อย่างไรก็ดี ผุ้ส่งออกและ/หรือผุ้ผลิต ซึ่งมีสิทธิได้รับสิทธิพิเศษทางภษีศุลกากรจะต้องยนคำร้องเป็นลายลักษณ์อักษรต่อหน่วยงานที่มีอภนาจในการออกหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าของประเทศภาคีผุ้สงออกเพื่อขอให้มีการตรวจสอบถ่ินกำเนิดสินค้าของผลิตถัณฑ์ก่อนการส่งออก ให้ถือว่าผลของการตรวจสอบเป็นหลักฐานสนับสนุในการตรวจสอบถิ่นกำเนิสินค้าของผลิตภัฒฑ์ดังกล่วเพื่อากรส่งออกหลังจากนั้น โดยจะมีการตรวจสอบเป็นคราวๆ ไปหรือเมื่อมีความเหมาสม การตรวจสอบก่อนการส่งออกไม่นำไปใช้กับผลิตภัณฑ์ที่โดยลักษณะแล้วสมารถตรวจสอบถิ่นกำเนิดสินค้าได้โดยง่าย...(คู่มือารใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้าภายใต้ความตกลงอาเซียน-อินเดีย)

วันศุกร์ที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2560

๋Joint Commitee on ASEAN-EU FTA

             ความตกลงการต้าเสรีอาเซียนและสหภาพยุโรป การต้าและการลงทุนระหว่างอาเซียนและสหภาพยุโรปนั้นมีอยุ่อย่างมีนัยสำคัญ โดยพบว่าในปี 2013 มูลค่าการค้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.5 คิดเป็น 246.2 พันล้านเหรียญสหรัฐ การส่งออกของอาเซียนไปยังสหภาพยุโรปคิดเป็น 124.4 พันล้านเหรียญสหรัฐ โดยปรับตัวลดลงร้อยละ 0.4 จากปีก่อนหน้าและสหภาพยุโรปเป็นคู่ค้าที่ใหญ่เป็นอันดับ 3ของอาเซียน ด้านการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ จาสหภาพยุโรปมายังอาเวียนเพ่ิมขึ้นร้อยละ 53.2 คิดเป็น 26.7 พันล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งยังคงเป็นแหล่เงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศที่ใหญ่ที่สุด ด้วยส่วนแบ่งร้อยละ 22.3
            ความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจระหว่างอาเซียนและสหภาพยุโรปมีพัฒนาการขึ้นอย่างเป็ฯลำดับ จนเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2007 ณ ประเทศบรูไนฯรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนและกรรมาธิการการต้ายุโรปได้มีการประกาศเจตนารมณ์จัดทำความตกลงการต้าเสรีระหว่างอาเซียนและสหภาพยุโรป โดยในกระบวนการเจรจาได้มีการตกลงให้จัดตั้งคณะกรรมการร่วมจัดทำความตกลงการต้าเสรีอาเซีบยนและสหภาพยุโรป เพื่อมีหน้าที่กำหนดรายละเอียดรูปแบบการเจรจากรอบการเจรจา และระยะเวลาการเจรจา ซ่งต่อมาคณะกรรมการร่วมฯ ได้ตั้งเป้าหมายการเจรจาให้สำเร็จภายใน 2-3 ปี โดยกำหนดให้มีการเจรจาปีละ 4 ครั้ง มีคณะกรรมการร่วมฯ เป็นกลุ่มเจรจาหลัก อีกท้ั้งมีคณะทำงานและกลุ่มเจรจาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งนี้สหภาพยุโรปได้เสนอที่จะให้ความช่วยเหลือโดยการจัดสมัมนาหรือประชุมเชิงปฏิบัตการเพื่อให้ความรู้แก่คณะเจรจาอาเซียนเกี่ยวกับการเจรจาในด้านต่างๆ เป็นเวลา 2-3 วันก่อนการประชุมแต่ละรอบ ในการเจรจาการจัดทำความตกลงการต้าเสรีอาเซียนและสหภาพยุโรป สามารถสรุปปัญหาอุปสรรคและโอกาสในการเจรจาบางประการ คือ
              1) กลไกการตัดสินใจของอาเซียนในระบบฉันทามติคือทุกประเทศต้องเห็นพ้องทั้งหมด ดังนั้น ในการเจรจาจัดทำ FTA โดยใช้กลไกการตัดสินใจเช่นนี้อาจทำให้การหาข้อสรุปในแต่ละประเด็นใช้เวลานาน
               2) การพัฒนาไปสู่การเป็นตลาดเดียวของอาเซียนมีการดำเนินการค่อนข้างช้า เนื่องจากมีประเด็นสำคัญต่างๆ ที่ต้องพิจาณา ได้แก่การผ่านพิธีการศุลกากรแบบหน้าต่างเดียว กฎว่าด้วยแหล่งกำเนินสินค้า ซึ่งล้วนมีความแตกต่างกันในหลายประเทศ
               3) ทัศนคติอขงประเทศสมาชิกอาเว๊ยนที่ยังคำนึงถึงประโยชน์ของประเทศมากกว่าประโยชน์ของอาเซียนทั้งภูมิภาค
               4) ปัจจุบันประเทศสมชิกอาเซียน 3 ประเทศ ได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีภายใต้โครงการ Everything but Arms ได้แก่ ลาว กัมพูชา และเมียนมาร์ จึงอาจทำหใ้ประเทศเหล่นี้รู้สึกว่าการทำ FTA ในครั้งนี้ไม่เป้นประโยชน์ต่อตนเองมากนัก และยังเปนการเปิดโอากสให้ประเทศสมาชิกอาเชียนอื่นๆ ได้รับการลดภาษีลงด้วย
               5) เนื่องจกาสินค้าของอาเซียนที่งไปจำหน่ายในสหภาพยุโรปนั้นมีหลายประเทศผลิตสินค้าเหมือนกัน ดังนั้น เมื่อมีการทำ FTA กับสหภาพยุโรปแล้ว อาจจะทำให้เกิดการแข่งขันภายในอาเซียน ดังนั้นเพื่อป้องกันการแข่งขันเพื่อแบ่งตลาดระหว่างสมาชิกอาเซียน จึงควรมีการจัดสรรแบ่งงานกันทำให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
                โอกาศในการเจรจาความตกลงเขตการต้าเสรีอาเซียนและสหภาพยุโรป
                1) การทำ FTA ฉบับนี้ได้ทำควบคู่กับการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC ดังนั้น ภายหลังการจัดทำ PTA จะส่งผลให้อาเซียนและสหภาพยุโรปเป็นตลาดซึ่งมีประชากรรวม 1,000 ล้านคน เทียบเท่ากับตลาดจีน ดังนั้น การเตรยมตัวรับการเข้าสู่การเป็นตลาดจึงมีความสำคัญเป็นอน่วงยิ่ง
                2) เกิดการลดผลกระทบของการเบี่ยงเบนการต้า เนื่องจากเดิมที่สหภาพยุโรปได้จัดทำ FTA กับประเทศคุ่แข่งของอาเซียน ทำให้ศักยภาพการแข่งขันของอาเซียนในตลาดสหภาพยุโรปลดลง และเกิดการเบี่ยงเบนการต้าจากอาเซียนไปยังประเทศเหล่านั้น ทั้งนี้ การจัดทำ FTA ระหว่งอาเซียนและสหภาพยุโรปจะเป็นการช่วยลดความเบี่ยงเบนทางการค้าเหล่านั้นและทำให้อาเซียนสามาตถแข่งขันกับประเทศคู่แข่งกับประเทศคุ่แขงเลห่นนั้นได้บนพื้นฐานเดียวกัน
              3) ปัจจุบันสหภาพยุโรปได้ขยายการลงทุนไปในจีนและอินเดียเป็นจำนวนมาก เนื่องจากตลาดของทั้งสองประเทศนั้นมีขนาดใหญ่ มีประชากรจำนวนมากการทำ FTA กับสหภาพยุโรปและการพัฒนาไปสูการเป็นตลาดเดียวของอาเซียจะเป้ฯแรงดึงดูดให้สหภาพยุโรปกลับมาขยยการบลงทุในอาเซียนมากขึ้น นอกจากนี้ เนื่องจากลงทุนในจีนยังคงมีปัญหาในเรื่องความคุ้มครองทรัพย์สินางปัญญา หากอาเซีนสามารถพัฒนาการให้ความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาให้มีมาตรฐานและทำให้สหภาพยุโรปเกิดความเชื่อถือจะเป็นโอกาสให้สหภาพยุโรปพิจารณาการลงทุนให้เอาเซียนเป็นฐานการผลิตสินคึ้าเทคโนโลยีสูงเพื่อส่งออกไปยังประเทศอื่นได้
               การประชุมคณกรรมการร่วมจัดทำความตกลงการต้าอาเวียนแลสหภาพยุโรป มีการประชุมทั้งสิ้น 7 ครั้ง ครั้งแรกจัดขึ้นในปี 2007 จนถึงครั้งที่ 7 ซึ่งจัดขึ้น ณ กรุง กัวลาลัมเปร์ ประเทศมาเลเซีย ทางฝ่ายอาเซียนมีนาย Tran Quoc Khanh จากเวียดนามเป็นประธาน และฝ่ายยุโรป มี นาย Phillip Meyer เป็นประธานร่วม โดยในที่ประชุมหัวหน้าคณะเจรจาของสหภาพยุโรปเจ้งว่าปัญหาสำคัญในการเจรจาความตกลงนี้คือ ควาแตกต่างในด้านระดับการพัฒนาที่ไม่เท่าเทียมกันของประเทศสมาชิกอาเซียน และส่งผลให้เกิดปัญหาในประเด็นความต้องการแลการเปิดตลาดที่แตกต่างกัน อีกทั้งมีปญหาการเมืองระหว่างประเทศที่เกี่ยวกับเมียนมา แต่เนื่องจากอาณัติและสหภาพยุโรปที่ได้รับความเห้นชอบให้เป็นการเจรจาระดับภูมิภาคต่องภูมิภาค ประะานเอาเวียนในขณะนั้นจึงแจ้งต่อสหภาพยุรปว่าควรยึดมั่นในหลักการดังกล่าว
              หากจะทำการเปลี่ยนแปลงแนวทางการเจรจาจะต้องเป็นการเจรจาระดับภูมิภาคต่องภุมิภาค ประธานอาเซียนในขณะนั้นจึงแจ้งต่อสหภาพยุโปรว่าควรยึดมั่นในหลักการดังกล่าว
               หากจะทำการเปลี่ยนแปลงแนวทางการเจรจาจะต้องเป็นการตัดสินใจในระดับรัฐมนตรี ซึ่งต่อมาจึงได้มีการเชิญรัฐมนตรีการต้าของสหภาพยุโรปว่าควรยึดมั่นในหลักการดังกล่าวหากจะทำการเปลี่ยนแปลงแนวทางการเจรจาจะต้องเป็นการตัดสินใจในระดับรัฐมนตรี ซึ่งต่อมาจึงได้มีการเชิญรัฐมนตรีการต้าของสหภาพยุโรปมาร่วมประชุมกับรัฐมนตรีอาเซียนในการประชุม AEM Retreat ระหว่างวันที่ 4-6 พฤษภาคม 2009 ทางสหภาพยุโรปได้มีการขอเจรจาในระดับทวิภาคีรายประเทศแทนระดับภุมิภาค โดยเร่ิมในปี 2010 สหภาพยุโรปได้มีการขอเจรจาแบบทวิภาีกับประเทศิงคโปร์ เวียนนาม มาเลเซีย และไทย ซึ่งกล่าวได้ว่าเป็นสัญญาณที่ดีเพื่อนำปสู่การจัดทำ FTA ในระดับภูมิภาคกับอาเซียนต่อไป ทั้งนี้สหภาพยุโรปได้แสดงความสนใจในการริเร่ิมการเจรจาเขตการต้าเสรรีอาเซียนและสหภาพยุโรป ในปี 2015 (ภายหลังอาเซียนลรรลุการสร้างประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนแล้ว)..(www.aseanthai.net/...ความตกลงการต้าเสรีอาเซียนและสหภาพยุโรป)

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...