ความตกลงการต้าเสรีอาเซียนและสหภาพยุโรป การต้าและการลงทุนระหว่างอาเซียนและสหภาพยุโรปนั้นมีอยุ่อย่างมีนัยสำคัญ โดยพบว่าในปี 2013 มูลค่าการค้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.5 คิดเป็น 246.2 พันล้านเหรียญสหรัฐ การส่งออกของอาเซียนไปยังสหภาพยุโรปคิดเป็น 124.4 พันล้านเหรียญสหรัฐ โดยปรับตัวลดลงร้อยละ 0.4 จากปีก่อนหน้าและสหภาพยุโรปเป็นคู่ค้าที่ใหญ่เป็นอันดับ 3ของอาเซียน ด้านการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ จาสหภาพยุโรปมายังอาเวียนเพ่ิมขึ้นร้อยละ 53.2 คิดเป็น 26.7 พันล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งยังคงเป็นแหล่เงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศที่ใหญ่ที่สุด ด้วยส่วนแบ่งร้อยละ 22.3
ความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจระหว่างอาเซียนและสหภาพยุโรปมีพัฒนาการขึ้นอย่างเป็ฯลำดับ จนเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2007 ณ ประเทศบรูไนฯรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนและกรรมาธิการการต้ายุโรปได้มีการประกาศเจตนารมณ์จัดทำความตกลงการต้าเสรีระหว่างอาเซียนและสหภาพยุโรป โดยในกระบวนการเจรจาได้มีการตกลงให้จัดตั้งคณะกรรมการร่วมจัดทำความตกลงการต้าเสรีอาเซีบยนและสหภาพยุโรป เพื่อมีหน้าที่กำหนดรายละเอียดรูปแบบการเจรจากรอบการเจรจา และระยะเวลาการเจรจา ซ่งต่อมาคณะกรรมการร่วมฯ ได้ตั้งเป้าหมายการเจรจาให้สำเร็จภายใน 2-3 ปี โดยกำหนดให้มีการเจรจาปีละ 4 ครั้ง มีคณะกรรมการร่วมฯ เป็นกลุ่มเจรจาหลัก อีกท้ั้งมีคณะทำงานและกลุ่มเจรจาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งนี้สหภาพยุโรปได้เสนอที่จะให้ความช่วยเหลือโดยการจัดสมัมนาหรือประชุมเชิงปฏิบัตการเพื่อให้ความรู้แก่คณะเจรจาอาเซียนเกี่ยวกับการเจรจาในด้านต่างๆ เป็นเวลา 2-3 วันก่อนการประชุมแต่ละรอบ ในการเจรจาการจัดทำความตกลงการต้าเสรีอาเซียนและสหภาพยุโรป สามารถสรุปปัญหาอุปสรรคและโอกาสในการเจรจาบางประการ คือ
1) กลไกการตัดสินใจของอาเซียนในระบบฉันทามติคือทุกประเทศต้องเห็นพ้องทั้งหมด ดังนั้น ในการเจรจาจัดทำ FTA โดยใช้กลไกการตัดสินใจเช่นนี้อาจทำให้การหาข้อสรุปในแต่ละประเด็นใช้เวลานาน
2) การพัฒนาไปสู่การเป็นตลาดเดียวของอาเซียนมีการดำเนินการค่อนข้างช้า เนื่องจากมีประเด็นสำคัญต่างๆ ที่ต้องพิจาณา ได้แก่การผ่านพิธีการศุลกากรแบบหน้าต่างเดียว กฎว่าด้วยแหล่งกำเนินสินค้า ซึ่งล้วนมีความแตกต่างกันในหลายประเทศ
3) ทัศนคติอขงประเทศสมาชิกอาเว๊ยนที่ยังคำนึงถึงประโยชน์ของประเทศมากกว่าประโยชน์ของอาเซียนทั้งภูมิภาค
4) ปัจจุบันประเทศสมชิกอาเซียน 3 ประเทศ ได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีภายใต้โครงการ Everything but Arms ได้แก่ ลาว กัมพูชา และเมียนมาร์ จึงอาจทำหใ้ประเทศเหล่นี้รู้สึกว่าการทำ FTA ในครั้งนี้ไม่เป้นประโยชน์ต่อตนเองมากนัก และยังเปนการเปิดโอากสให้ประเทศสมาชิกอาเชียนอื่นๆ ได้รับการลดภาษีลงด้วย
5) เนื่องจกาสินค้าของอาเซียนที่งไปจำหน่ายในสหภาพยุโรปนั้นมีหลายประเทศผลิตสินค้าเหมือนกัน ดังนั้น เมื่อมีการทำ FTA กับสหภาพยุโรปแล้ว อาจจะทำให้เกิดการแข่งขันภายในอาเซียน ดังนั้นเพื่อป้องกันการแข่งขันเพื่อแบ่งตลาดระหว่างสมาชิกอาเซียน จึงควรมีการจัดสรรแบ่งงานกันทำให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
โอกาศในการเจรจาความตกลงเขตการต้าเสรีอาเซียนและสหภาพยุโรป
1) การทำ FTA ฉบับนี้ได้ทำควบคู่กับการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC ดังนั้น ภายหลังการจัดทำ PTA จะส่งผลให้อาเซียนและสหภาพยุโรปเป็นตลาดซึ่งมีประชากรรวม 1,000 ล้านคน เทียบเท่ากับตลาดจีน ดังนั้น การเตรยมตัวรับการเข้าสู่การเป็นตลาดจึงมีความสำคัญเป็นอน่วงยิ่ง
2) เกิดการลดผลกระทบของการเบี่ยงเบนการต้า เนื่องจากเดิมที่สหภาพยุโรปได้จัดทำ FTA กับประเทศคุ่แข่งของอาเซียน ทำให้ศักยภาพการแข่งขันของอาเซียนในตลาดสหภาพยุโรปลดลง และเกิดการเบี่ยงเบนการต้าจากอาเซียนไปยังประเทศเหล่านั้น ทั้งนี้ การจัดทำ FTA ระหว่งอาเซียนและสหภาพยุโรปจะเป็นการช่วยลดความเบี่ยงเบนทางการค้าเหล่านั้นและทำให้อาเซียนสามาตถแข่งขันกับประเทศคู่แข่งกับประเทศคุ่แขงเลห่นนั้นได้บนพื้นฐานเดียวกัน
3) ปัจจุบันสหภาพยุโรปได้ขยายการลงทุนไปในจีนและอินเดียเป็นจำนวนมาก เนื่องจากตลาดของทั้งสองประเทศนั้นมีขนาดใหญ่ มีประชากรจำนวนมากการทำ FTA กับสหภาพยุโรปและการพัฒนาไปสูการเป็นตลาดเดียวของอาเซียจะเป้ฯแรงดึงดูดให้สหภาพยุโรปกลับมาขยยการบลงทุในอาเซียนมากขึ้น นอกจากนี้ เนื่องจากลงทุนในจีนยังคงมีปัญหาในเรื่องความคุ้มครองทรัพย์สินางปัญญา หากอาเซีนสามารถพัฒนาการให้ความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาให้มีมาตรฐานและทำให้สหภาพยุโรปเกิดความเชื่อถือจะเป็นโอกาสให้สหภาพยุโรปพิจารณาการลงทุนให้เอาเซียนเป็นฐานการผลิตสินคึ้าเทคโนโลยีสูงเพื่อส่งออกไปยังประเทศอื่นได้
การประชุมคณกรรมการร่วมจัดทำความตกลงการต้าอาเวียนแลสหภาพยุโรป มีการประชุมทั้งสิ้น 7 ครั้ง ครั้งแรกจัดขึ้นในปี 2007 จนถึงครั้งที่ 7 ซึ่งจัดขึ้น ณ กรุง กัวลาลัมเปร์ ประเทศมาเลเซีย ทางฝ่ายอาเซียนมีนาย Tran Quoc Khanh จากเวียดนามเป็นประธาน และฝ่ายยุโรป มี นาย Phillip Meyer เป็นประธานร่วม โดยในที่ประชุมหัวหน้าคณะเจรจาของสหภาพยุโรปเจ้งว่าปัญหาสำคัญในการเจรจาความตกลงนี้คือ ควาแตกต่างในด้านระดับการพัฒนาที่ไม่เท่าเทียมกันของประเทศสมาชิกอาเซียน และส่งผลให้เกิดปัญหาในประเด็นความต้องการแลการเปิดตลาดที่แตกต่างกัน อีกทั้งมีปญหาการเมืองระหว่างประเทศที่เกี่ยวกับเมียนมา แต่เนื่องจากอาณัติและสหภาพยุโรปที่ได้รับความเห้นชอบให้เป็นการเจรจาระดับภูมิภาคต่องภูมิภาค ประะานเอาเวียนในขณะนั้นจึงแจ้งต่อสหภาพยุรปว่าควรยึดมั่นในหลักการดังกล่าว
หากจะทำการเปลี่ยนแปลงแนวทางการเจรจาจะต้องเป็นการเจรจาระดับภูมิภาคต่องภุมิภาค ประธานอาเซียนในขณะนั้นจึงแจ้งต่อสหภาพยุโปรว่าควรยึดมั่นในหลักการดังกล่าว
หากจะทำการเปลี่ยนแปลงแนวทางการเจรจาจะต้องเป็นการตัดสินใจในระดับรัฐมนตรี ซึ่งต่อมาจึงได้มีการเชิญรัฐมนตรีการต้าของสหภาพยุโรปว่าควรยึดมั่นในหลักการดังกล่าวหากจะทำการเปลี่ยนแปลงแนวทางการเจรจาจะต้องเป็นการตัดสินใจในระดับรัฐมนตรี ซึ่งต่อมาจึงได้มีการเชิญรัฐมนตรีการต้าของสหภาพยุโรปมาร่วมประชุมกับรัฐมนตรีอาเซียนในการประชุม AEM Retreat ระหว่างวันที่ 4-6 พฤษภาคม 2009 ทางสหภาพยุโรปได้มีการขอเจรจาในระดับทวิภาคีรายประเทศแทนระดับภุมิภาค โดยเร่ิมในปี 2010 สหภาพยุโรปได้มีการขอเจรจาแบบทวิภาีกับประเทศิงคโปร์ เวียนนาม มาเลเซีย และไทย ซึ่งกล่าวได้ว่าเป็นสัญญาณที่ดีเพื่อนำปสู่การจัดทำ FTA ในระดับภูมิภาคกับอาเซียนต่อไป ทั้งนี้สหภาพยุโรปได้แสดงความสนใจในการริเร่ิมการเจรจาเขตการต้าเสรรีอาเซียนและสหภาพยุโรป ในปี 2015 (ภายหลังอาเซียนลรรลุการสร้างประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนแล้ว)..(www.aseanthai.net/...ความตกลงการต้าเสรีอาเซียนและสหภาพยุโรป)
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น