วันเสาร์ที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Economic Institute for ASEAN and East Asia : ERIA

           บทบาทของญี่ปุ่นในการเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการสร้างความเย้มแบ็งและการบูรณาการทางเศราฐกิจของเอเซียตะวันออก ดดยผ่านการใหความช่วยเหลือจาก "สภาบันวิจัยทางเศรษฐฏิจเพื่ออาเซียนและเอเซียตะวันออก" ซึ่งเป็นองค์การระหว่างประเทศที่สำคัญที่มีหน้าที่นการทำวิจัยเพื่อสนับสนุนและเสริมสร้างความเข้มแข็งของประชาคมเอเชียตะวันออก
         ญี่ปุ่นได้เสนอให้มีการก่อตั้ง EARI และให้วงระมาณสนับสนุนเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการเผยแพร่องค์ความรุ้เกี่ยวกับการพัฒนาที่สอดคลอ้งไปกับผลประโยชน์ทางเศราฐกิจของญี่ป่นุ ดดยเฉพาะอย่างยิ่งบริษัทเอกชนของญี่ป่นุที่ดำเนินการลงทุนอยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มานานแล้ว
           
 สถาบันวิจัยทางเศราฐฏิจเพื่อเซียนและเอเชียตะวันออก มีสถานะเป็นองค์การระหว่างประเทศและมีเป้าหมายในการสนับสนุนการทำงานของสำนักเลขาธิการอาเซียนในการทำงิจัยและออกข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย รวมไปถงการจัดทำโครงการเพ่ิมศักยภาพ เพื่อเพิ่มระดับความสามารถด้านการทำวิจัยเชิงนโยบายให้กับประเทศพัฒนาน้อยที่สุด บทบาทของ ERIA ด้านการทำวิจัยนั้นครอบคลุมหลายมิติ ทั้งเรื่งเศราฐกิจ แารเปิดเสรีทางการต้าประชาคมเศราฐกิจอาเซียน ความตกลงหุ้นส่วนทางเศราฐกิจระดับภุมิภาค ระบบสาธารณูปโภค วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม พลังงาน และด้านสิ่งแวดล้อม ประเด็นเหล่านี้ครอบคลุมหลักสำคัญของการพัฒนาด้านเศรษฐกิจทั้งระดับรัฐและระดับภุมิภาค และทำให้เราเห็ฯาพกว้างว่ายุทธศาสตร์ของ ERIA นันเนิ้นไปที่เรื่องการสนับสนุนการก่อตั้ง AEC การสนับสนุนให้อาเซียนเป็นผุ้ขับเคลื่อนหลักของกระบวนการบูรณาการทางเศราฐกิจระดับภุมิภาค การพยายามลดช่องว่างของการพัฒนาในเอเชียตะวันออก และการพยาบามเพ่ิมความรู้สึกของประชาคมในเอเชียตะวันออก ประเด็นด้านการวิจัยเหล่านี้นั้นสอดคล้องและสนับสนุนซึ่งกันและกันเพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่า่ว แต่ ERIA ก็ยังถูกตั้งำถามต่อสถานะความเป้ฯกลางและความเป็ฯอิสระขององค์กรที่จะไม่ขึ้นกับประเทศใดประเทศหนึงเป็ฯสำคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งบทบาทของรัฐบาลญี่ปุ่นที่เป็นผุ้เสอนให้มีการจัดตั้ง ERIA และการให้งบประมาณสนับสนุนจำนวนมหาศาลเพื่อใช้ในการดำเนินกิจการและการทำวิจัยขององค์กร
               ผลงานด้านการวิจัยของ ERIA ได้รับการยอมรับในเวทีระหว่างประเทศ สภาบันวิชาการอย่าง มหาวิทยาลัยเพนนิวาเนีย ประเทศสหรัฐฯ ได้จัดอันดับคลังสมองที่อยู่ในกลุ่ม Top International Economics Think Tanks อันดับที่ 31 ของดลก อีกทั้งยังได้จัดให้ ERIA เป็ฯอันดับที่ 24 ของ Best Think Tank Network  และเป็นคลังสมองอันดับที่ 17 ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และแถบแปซิฟิก การได้รับการยอมรับถึงบทบาทของ ERIA ในเวทีระหว่างประเทศดดยเฉพาะด้านความสามารถในการเป็นคลังสมองในระดับโลกและระดับภูมิภาคสะท้อนให้เห็นความสำคัญในฐานะที่เป็นคลังสมองที่สำคัญที่ช่วยสนับสนุนการทำงานของประชาคมเอเชียตะวันออกโดยเแพาะในมิติเศรษฐกิจและการพัฒนา...
               การก่อตั้ง ERIA นั้นเป็นความพยายามของญี่ปุ่นในการที่จะแสดงบทบาทนำในฐานะที่เป็นผู้นำทางปัญญาของภูมิภาคเอเชียตะวันออก ก่อนจะมีการจัดตั้ง ERIA อย่างเป็นทางการ อาจารย์จามหาวิทยาลัยและบุคลากรจากหน่วยงานราชการของประเทศญี่ปุ่นที่มีส่วนอย่างมากในการวาแผนและจัดตั้ง ERIA ได้เดินทางมาติดต่อกับอาจารย์ในมหาวิทยาลัยในประเทศต่างๆในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพื่อขอความเห็นด้านวิชาการ รวมไปถึงการสนับสนุนด้านวิชาการจากอาจารย์ในมหาวิทยาลัยว่าจะสนับสนุนการก่อตั้ง ERIA หรือไม่ และจะเข้าไปมีส่วนร่วมในการทำงิจัยของ ERIA ได้อย่างไร รวมไปถึงการประชุมเพื่อวางแผนออกแบบองค์กร และวางเป้าหมายขององค์กร
             ERIA ยังถูกมองว่าเป็นความพยายามของรัีฐบาลญี่ป่นุในการเสนอให้มีการก่อตังเพื่อมาคามอำนาจด้านการแสดงบทบาทเป็นผุ้นำทางด้านความรุ้ ซึ่งในปี 2003 รัฐบาลจีนได้สนับสนุนให้มีการก่อตั้ง The Network of East Asian Think - Tanks (NEAT) ซึ่งอยุ่ภายใต้กรอบความร่วมมือ ASEAN +3 ที่่รัฐบาลจีนให้ความสำคัญ เป้าหมายหลักของ NEAT คือการพยายามให้การสนับสนุนด้านความรู้และการให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในประเด็นที่เกี่ยวข้องเพื่อประสานความร่วมมือในเอเชียตะวันออกภายใต้ NEAT นี้เองที่ทำให้รัฐบาลญี่ป่นุมองว่า NEAT เป็นความพยายามของจีนในการแสวงหาตำแหน่งและบทบาทในการเป็นผุ้นำทางความรุ้แลปัญญาของเอเชียตะวันออกดังนั้นญี่ป่นุจึงจำเป็นต้องมีบทบาทในจลักาณเช่นเดียวกันเพื่อคานบทบา ของจีนในมิติด้านการให้การสนับสนุนการทำงิจัยเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับเอเชียตะวันออก
            อาจกล่าวได้ว่า สถาบนวิจัยระหว่างประเทศหรือคลัวสมองเปรียบเสมือนสมองและแขนขาของรัฐใดรัฐหนึ่ง หรือเป็นหน่วยงานที่ทำวิจัยให้กับประเทศสมาชิกที่ให้การสนัยสนนุสถาบันนั้นๆ ความมีอิสระทั้งทางการบริหารและการทำวิจัยของสถาบันวิจัยเช่นนี้แม้จะเป็นประเด็นหลักที่ทุกสภาบันให้ความสำคัญในฐานะที่มันเป็นเงื่อนไขเบื้องต้นของการกล่าวอ้างว่าตนเองนั้นมีอิสระ เป็นกลาง มีความชอบธรรม และมีคุณสมบัติของความเป็นวิชาการเชิงสถายันเหนือการเมืองใดๆ แต่ในความเป็นจริงข้อคิดเห็นหรือข้อกล่าวอ้างดังกล่าวอาจถูกปฏิเสธจากบุคคลภายนอกที่มองเข้าไปยังองค์กรนั้นๆ หรือแม้แต่คนภายในองค์การกันเอง
         บทบาทของ ERIA ที่มีใน EAS เพื่อสนับสนนุการก่อตั้ง EAC และการจัดการประเด็นปัญหาต่างๆ ระดับภูมิภาคได้ทำให้ ERIA ได้รับการยอมรับมากขึ้นจากประเทศสมาชิกและสังคมระหว่างประเทศ แต่ ERIA ได้รับการยอมรับมากขึ้นจากประเทศสมาชิกและสังคมระหว่างประเทศ แต่ ERIA ก็ไม่ใช่ข้อยกเว้นพิเศษที่ปราศจากการวิพากษ์วิจารณ์จากรัฐ องค์กา หรือบุคคลอื่นๆ เพราะภาพที่สะท้อนออกมาให้เห็นต่อสังคมระหว่างประเทศก็คือ ERIA เป็นเครื่องมือที่รัฐบาลญี่ป่นุก่อตั้งขึ้นเพื่อเป็นแขนขาในการทำงิจัยหาข้อมูลส่งไปให้รัฐบาลญี่ปุ่น หรือเพื่อเผยแพร่องค์ความรุ้วิจัยที่มีลักษณะที่เอื้อต่อผลประโยชน์ของญี่ปุ่น และนำมาเป็นกรอบคิดหลักเพื่อใช้พัฒนาเอเชียตะวันออก
           บทบาทของรัฐบาลญี่ปุ่นในฐานะผุ้ที่ให้การสนบสนนุการจัีดตั้ง ERIA เพื่อแสดงบทบาทเป็นผุ้นำทางปัญญาและความรุ้ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกจึงสะท้อนให้เห็นความพยายามของญี่ปุ่นในการเป็นเจ้าแห่งปัญญาระดับภุมิภาค ในการสนับสนนุนการก่อตั้งสถาบันวิจัยที่มีหน้าที่ในการรวบรวมข้อมูลและเสนอแนะนโยบายต่ออาเซียน และการให้การฝึกอบรมกับปรเทศสมาชิกที่ยังมีความพร้อมน้อยกว่าประเทศสมาชิกอื่นๆ ด้วยบทบาทนี้เองทำให้ ERIA ถูกมองว่าไม่มีความเป็นกลางเพราะมุ่งสนับสนนุการวิจัยที่เอื้อต่อประโยชน์ของระบบเศราฐกิจของญี่ปุ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อบริษัทเอกชนของญี่ป่นุที่ทำงานอยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทำให้รัฐบาลญี่ป่นุมีช่องในการที่จะเข้ามาแสดงบทบาทเป้ฯผุ้นำในการพัฒนเอเชียตะวันออก
           นักวิชาการที่ทำงานอยู่ใน ERIA และที่ทำงานอยุ่ในหน่วยงานอื่นๆ ทั้งในญี่ป่นุและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต่างตระหนักดีถึงภาพลักษณ์ที่ญี่ป่นุมีเหนือ ERIA และได้กลายเป็นข้อเสนอที่ถูกสะท้อนออกามาว่าควรจะมีการปรับปรุงหรือเปิดโอกาสให้ตัวแสดงอื่นๆ ได้เข้าไปมีบทบาทในการบริหารองค์กรหรือการทำวิจัยของ ERIA มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพื่อเป็ฯการปรับเปลี่ยนภาพลักษณ์ของ ERIA ให้มีความเป้นกลางและเป็นการทำให้ ERIA เป็นองค์การระหว่างประเทศของเอชียตะวันออกที่จะสร้างประดยชน์ให้กับประเทศสมาชิกทุกประเทศอย่างแท้จริง... ( "ประชาคมเอเชียตะวันออกภายใต้ ERIA : บทบาทของญี่ป่นุต่อคลังสมองกับการพัฒนาประชาคมเอเชียตะวันออก", นรุตม์ เจริญศร๊, คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่"

วันศุกร์ที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

The Effect of ASEAN And The ASEAN + 6

              ผลจากการรวมกลุ่มทางการค้าของกลุ่มอาเซียนและกลุ่ม +6 พบว่า ผลติตภัฒฑ์มวลรวมภายในประเทศของประเทศผุ้ส่งออกและประเทศผุ้ำเข้ามีต่าเพ่ิมขึ้นกว่าก่อนรวมกลุ่มทางการต้า แสดงว่าเกิดการเพิ่มปริมาณทางการค้า ส่วนตัวแปรที่มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับมูลค่าการส่งออก คือ ผลิตภัณฑฺ์มวลรวมภายในประเทศของประเทศผุ้ส่งออกและผุ้นำเข้า รายได้ประชาชาติต่อหัวของประเทศผู้ส่งออกและประเทศผู้นำเข้าและอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศผุ้ส่งออก ส่วนตัวแปรที่มีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับมูลค่าการส่งออกคือ ระยะทางระหว่างประเทศ การนับถือศาสนาเดียวกัน ประเทศที่มีภุมิศาสตร์เป็นเกาะและการรวมกลุ่มเศรษฐกิจ ส่วนตัวแปรที่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ประเทศที่มีพรมแดนติดกันและวิกฤตเศรษฐกิจ
            ในปัจจุบันเกือบทุกประเทศ รวมถึงประเทศไทย เป็นประเทศที่มีระบบเศราฐฏิจแบบเปิดการบริโภค การลงทุน การต้าทั้งในประเทศ และระหว่างประเทศ ต่างมีบทบาทสำคัญต่อระบบเศราฐกิจของแต่ละประเทศเป็นอย่างมาก ทุกประเทศต้องพึ่งพาและร่วมมือกัน โดยเฉพาะหากมีกรรวกลุ่มทงเศราฐกิจ จะทำให้กลุ่มประเทศสมาชิกมีอำนาจต่อรองกับกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วมากยิ่งขึ้น สามารถช่วยลดอุปสรรคในการกีดกันทางการต้าของกลุ่มประเทศใหญ่ๆ ได้ อีกทั้งเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน ทางการค้ากับกลุ่มประเทศอื่นๆ ได้เป็นอย่างดี....
            การตกลงทางการค้าของกลุ่มอาเซียน +6 ประกอบด้วยสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ + จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ และอินเดีย
             ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 กลุ่มประเทศอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 ได้มีการลงนามทำความตกลงเปิดเสรีทางการค้า โดยลดภาษีสินค้าเหลือร้อยละ 0 นั้น ทำให้การลงนามทำความตกลงเปิดเสรีทางการต้า โดยลดภาษีสินค้าเหลือร้อยละ 0 นั้น ทำให้มูลค่าการส่งออกของกลุ่มประเทศอาเซียนมีมูลค่าุขึ้นหากไม่นับรวมวิกฤติสนเชื่อซับไพรม์หรือวิกฤตแฮมเบอร์เการ์ในประเทศสหรัฐอเมริกาในปี พ.ศ. 2550-2551 ซึ่งเป็นประเทศมหาอำนาจทางเศราฐกิจของโลก แลเป็นประเทศคุ่ค้ารายใหญ่ของกือบทุกประเทศรวมถึงประเทศอาเซียนเกือบทุกประเทศทำให้กำลังซื้อสินค้านำเข้าของสหรัฐอเมริกาลดลง ผลกระทบนี้ส่งผลต่อเศราฐกิจโลกเป็นอย่างมาก
             เมื่อเรียบเทียบมุลค่าและสัดส่วนการส่งออกระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 พบว่า มุลค่าการส่งออกระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนมีมุลค่าสุงสุดเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ส่วนประเทศนอกกลุ่มอาเซียนที่มีมูลค่าการส่งออกสูงสุด คือ สาะารณรัฐประชาชนจีน ญี่ป่นุ เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ ตามลำดับ ดดยมูลค่าการส่งออกของสาธารณรัฐประชาชนจีน และประเทศ ญี่ปุ่นใกลเคียงกัน เนื่องจากทั้งสองประเทศเป็นประเทศคู่ค้าหลักอันดับต้นๆ ของทุกประเทศดในกลุ่มอาเซียน รวมถึงมีการลงทุนตั้งฐานการผลิตในเกือบทุกประเทศของอาเซียน เพราะฉะนั้นการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมมีปริมาณการค้าสูงที่สุด ส่วงนประเทศที่มูลค่าการส่งออกลำดับถัดมา คือ ประเทศเกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ หากเปรียบเทียบสัดส่วนมูลค่าการส่งออกของแลุ่มประเทศอาเซียน +6 มีสัดดส่วนเพ่ิมขึ้นและอยู่ในทิศทางบวก ยกเว้น พ.ศ. 2552 ซึ่งอยุในช่วงรับผลกระทบของวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ ของสหรับอเมริกา ทำให้มูลค่าและสัดส่วนกานส่งออกของทุกประเทศลดลง และอยุ่ในทิศทางบล หลังจาก พ.ศ. 2552 ผลกระทบของเศราฐกิจสหรัฐอเมิรกาที่มีต่อประเทศต่างๆ มีแนวโน้มฟื้นตัวขึ้นทำให้เศราฐกิจของประเทศนั้นๆ ดีขึ้น ดังนั้นมูลค่าการส่งออกแลสัดส่วนการส่งออกระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนไปกลุ่มอาเซียน +6 เร่ิมกลับเชข้าสู่สภาวะปกติ และในอนาคตมีแนวโน้มดีขึ้นกว่าปัจจุบัน
             มูลค่าและสัดสวนการส่งออกระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 ในปี พ.ศ. 3555 สัดส่วนการส่งออกเมื่อเทีียบกับมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของปี พ.ศ. 2555 กลุ่มประเทศอาเซียนมีสัดส่วนการครองตลาดของการส่งออกสูงสุดรองลงมา คือ สาธารณรัฐประชาชนจีน ญี่ป่นุ เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ตามลำดับ
            เมื่อเปรียบเทียบสัดส่วนมุลค่าการส่งออกแยกตามรายประเทศระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 พบว่า สัดส่วนมูลค่าการส่งออกระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนมากว่ากลุ่มอเซียน +6 และสัดส่วนมูลค่าการส่งออกไปสาธารณรับประชาชนจีนและประเทศญี่ปุ่น มีสัดส่วนการส่งออกมากที่สุด เนื่องจากทั้งสองประเทศนี้ทำการต้ากับกลุ่มประเทศอาเว๊นมานาน รวมถึงมีฐานการผลิตอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน ดังนั้นมูลค่าและสัดส่วนการนส่งออกจึงมีมกว่าอีก 4 ประเทศที่เหลือ ในอนาคตเมื่อรวมกลุ่มประชาคมเศราฐกิจอาเซียนจะสามารถเพ่ิมปริมาณการสน่งออกได้อีก
           กลุ่มประเทศ + 6 จึงเป้ฯกลุ่มปะเทศคู่ค้าที่มีความสำคัญต่อกลุ่มอาเซียนเป็นอย่างย่ิงเนื่องจากประเทศเหล่านี้มีฐานการผลิตกระจายตามกลุ่มประเทศอาเซียนเป็นจำนวนมาก อีกทั้งมีภูมิศาสตร์ใกล้ชิดกับภุมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สามารถลดต้นทุนการขนส่ง จึงทำให้สัดส่วนมูลค่าการส่งออกกับกลุ่มอาเซียน +6 ถือเป็นสัดส่วนที่สุง รองจากสัดส่วนระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนและกลุ่มอาเซียน +6  โดยเฉพาะวิเคราะห์ผลของก่อนการรวมกลุ่มและหลังการรวมกลุ่มเศราฐกิจ ซึ่งได้ลงนามทำความตกลงเขตการต้่าเสรีอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 ซึ่งลดภาษีการนำเข้าและการส่งออกของสินค้าจำนวนหลายรายการ..
            ทฏษภีการต้าระหว่างประเทศ มีบุคคลหลายท่านได้เขยนถึง แวคิดการต้าระหว่างประเทศ ดดยพัฒนาแนวคิดมาจากนักเศราฐกศาศตร์สำนักคลาสสิก คือ อดัม สมิธ และเดวิด ริคาร์โด้ กล่าวถึงข้อสมมติฐานของทฤษฎีการต้าระกว่างประเทศ ดังนี้
       
- ตลาดการแข่งขันอย่างสมบูรณ์
           - ปัจจัยการผลิตที่ใช้คือมีเพียงแรงงานเท่านั้น และต้องเป็นแรงงานที่มีประสิทธิภาพใหนกาผลิตเท่ากันหมด ต้นทุนในการผลิตคิดจาแรงงาน ส่วนราคาสินค้าที่แลกเปลี่ยนภายในประเทศ ขึ้นอยุ่กับจำนวนชั่วโมงการผลิตสินค้าของแรงงาน
           - การต้าระหว่างประเทสเกิดขึ้นระหว่าง 2 ประเทศ และสินค้าที่ซื้อขายแลกเปลี่ยนกันมีเพียง 2 ชนิด
           - ไม่มีข้อจำกันทางการต้าและไม่มีค้าขนส่ง...
            ทฤษฎีการได้เปรียบอย่างสมบูรณ์ แนวคิดทฤษฎีการได้เปรียบอย่างสมบูรณ์หรืออย่างเด็ดขาดนี้ เป็นแนวคิดของ อดัม สมิธ  ซึ่งได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับหลักแบ่งงานกันทำ กล่าวคือ แต่ละคนมีหน้าที่ในการผลิตสินค้าเฉพาะอย่างแทนที่ จะทำหน้าที่ผลิตปมกทุกอย่าง การแบ่งงานกันทำ ช่วยให้เกิดความชำนาญ และสามารถผลิตสินค้าได้ในปริมาณที่ีมากขึ้น การต้าระหว่างประเทศภายมต้ทฤษฎีการได้เแรียบอย่างสมบูรณ์ได้อธิบายว่า ประเทศใดประเทศหนึ่งจะผลิตสินค้าที่ตนมีความได้เปรียบอย่างสมบุรณ์แล้วนำมาแลกเปลี่ยนสินค้าของอีกประเทสหนึค่ง การที่ประเทศมีควารมได้เปรียบอย่างสมบุรณืในการผลิตสินค้าชนิดใด แสดงว่า ประเทศนั้นสามารถผลิตสินค้าชนิดนั้นด้วยต้นทุนการผลิตที่ถูกกว่าอีกประเทศหสึ่ง จากทฤษฎีสามารถสระปได้ว่า ประเทศใดผลิตสินคึ้าที่ตนได้เปรียบอย่างสมบูรณ์ได้นั้น ต้องมีต้นทุนการผลิตสินค้าชนิดนั้นด้วยต้นทุนที่ถูกกว่าประเทศอื่น
            ทฤษฎีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ ตามแนวคิดของ ริคาโด้ ได้ อธิบายถึง ทฤษฎีการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบว่า สาเหตุของการต้าระหว่างประเทสไม่ได้ขึ้นอยู่ว่า ประเทศนั้นได้เปรียบดดยสัมบูรณ์เสมอไป แต่สามารถขึ้นอยู่กับการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ โดยอธิบายแนวคิดว่า ประเทศ 2 ประเทศ เมื่อมีการต้าขายระหว่างประเทศสามารถเกิดขึ้นได้ หากประเทศนั้นเลือผลิตสินต้าที่ตนถนัดมีประสทิะิภาพสูงกว่าและเสียยเปรียบน้อยที่สุด เมื่อเทียบกับสินค้ัาชนิดนั้นในอีกประเทศหนึ่ง สามาารถสรุปได้ว่า การได้เปรียบโดยเปรียบยเทีนบ หมายถึง ความสามารถของประเทศใดประเทศหนึ่งในกาผลิตสินค้า และบริการด้วยต้นทุนที่ต่ำกว่าประเทศอื่นการต้าระหว่างประเทศช่วยให้ประเทศคู่ค้าทั้งสองได้ประโยชน์มากขึ้น ก็ต่อเมื่อแต่ละประเทสมุ่งผลิตสินค้าทีตนมีความเชี่ยวชาญเฉพาะ และ้วนำมาแลกเปลี่ยนกัน
             การต้าระหว่างประเทศตามทฤษฎีความได้เปรียบดดยสัมบุรณ์นีั มีผลให้ทุกประเทศได้รับผลประดยชน์เพ่ิอมขึ้น คือ มิสินค้าบริโภคแทบทุกชนิดราคาถูก จำนวนผลผลิต โดยรวมของโลกสูงขึ้น เกิดจากการแบ่งงานกันทำระหว่างประเทศต่างๆ ในโลกเกิดความชำนาญเฉพาะอย่างและสวัสดิการของประชากรโลกสูงขึ้น ในทรรศนะของ อดัม สมิธ แตกต่างจกาสมัยคลาสสิก ในเรื่องแรงงานระหว่างประเทศต่าง ๆ ซึ่งสมัยคลาสสิก มีปัจจัยการผลิตและทรัพยากรในแต่ละประเทศอย่างมาก....
            ผลก่อนและหลังการรวมกลุ่มทางการค้าระหว่างประเทศอาเซียน มีดังนี้
            - ก่อนรวมกลุ่มทางการค้า ตัวแปรที่มีอทิศทาเดีวชยวกับมูลค่าการส่งออก คือ รายได้ประชาชาติต่อหัวของประเทศผุ้ส่งออก รายได้ประชาชาติต่อหัวของประเทศผุ้นำเข้า อัตราแลกเปลี่ยนของประเทศผุ้ส่งออก และประเทศที่มีพรมแดนติดกัน โดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 ตัวแปรที่มีทิศทางตรงกันข้ามกับมุลค่าการส่งออก คือผลิตภัฒฑ์มวลรวมภายในประเทศของผุ้ส่งออก ระยะห่างระหว่างสองประเทศ และประเทศที่มีภุมิศาสตร์เป็นเกาะ ดดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 ตัวแปรที่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ผลิตภัณฑฺ์มวลรวมภายใรปะเทศของผู้นำเข้า การนัถือศานาเดียวกัน และวิกฤตเศรษฐกิจ
            - หลังรวมกลุ่มทางการต้า ตัวแปรที่มีทิศทางเดี่ยวกับมูลค่าการส่งออก คือ ผลิตภัฒฑ์มวลรวมภายใรปะเทศของผุ้ส่งออก รายได้ประชาชาติต่อหัวของประเทศผุ้ส่งออก รายได้ประชาชาติต่อหัวของประเทศผู้นำเข้า และประเทศที่มีพรมแดนติดกันโดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 ส่วนตัวแปรที่มีทิศทางตรงกันข้ามกับมูลค่าการส่งออก คื ผลิตภัฒฑ์มวลรวมภายใรปะเทศของผุ้นำเข้า ดดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 90 ระยะทางระหว่างสองประเทศ และประเทศที่มีภุมิศาสรตร์เป็ฯเกาะ โดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 ส่วนตัวแปรที่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ คือ อัตราแลกเปลี่ยนของผู้ส่งออก การนับถือศาสราเดียวกัน และวิกฤติเศรษฐกิจ
           - การเปลี่ยนแปลงก่อนและหลังรวมกลุ่ทางการต้า ผลการศึกษาการรวมกลุ่มทางการต้าระหว่างกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน พบว่า เกิดการเพ่ิมประมาณทางการต้า โดยดูจากค่าสัมประสิทธิ์หรือค่าความยืดหยุ่นของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของผุ้ส่งออก ว่าค่าสัมประสิทธิ์หลังรวมกลุ่มทางการต้ามากว่าก่อนรวมกลุ่มทางการต้า จากผลการศึกษาพบว่า ค่าสัมประสิทธิ์ของหลังรวมกลุ่มทางการต้ามากว่าก่อนรวมกลุ่มทางการต้าร้อยละ 0.94 อีกทั้งเมื่อเปรียบเทียบมุลค่าการต้ากับประเทศคู่ค้าอาเซียนค้าขายระหว่างกันเป็นสัดส่วนมากที่สุด ส่วนตัวแปรที่สะท้อนต้นทุนค่าขนส่ง คือ ตัวแปรหุ่น ประเทศที่มีพรมแดนติดกัน และประเทศที่มีภุมิศาสตร์เป็นเกาะ หลังรวมกลุ่มทางการต้ ค่าสัมประสิทธ์ของตัวแปรทั้งสองลดลง แสดงว่า การรวมกลุ่มทางการค้า ช่วยลดอุปสรรคทางการค้าทด้านต้นทุนขนส่งได้เป็นอย่างดี
             การประมวลผลความแตกต่างก่อนและหลงรวมกลุ่มทางการค้า พบว่า หลังรวมกลุ่ทางการต้าระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียน ส่งผลให้เกิดการเพ่ิมปริมาณทางการต้า โดยตัวแปรที่สะท้อนกำลังการผลิตของผุ้ส่งออก และอำนาจการซื้อของประเทศผุ้นำเข้าสูง คือ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของประเทศผุ้ส่งออกและประเทศผุ้นำเข้า โดยดุจาค่าสัมประสิทธิ์ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของผุ้ส่งออกและผุ้นำเข้า เพิ่มขึ้นกว่าก่อนรวมกลุ่มทางการค้าร้อยละ 0.10 และร้อบละ 0.0016 ตามลำดับ ดดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 และร้อยละ 90 ตามลำดับ
           ผลสรุปจากการวิจัยพบว่า ก่อนและหลังรวมกลุ่มีควาแตกต่างกน เต่ค่า F ที่ได้จากการคำนวณใกล้เคียงกับค่า F ที่เปิดจากตาราง เนื่องจากการทำควารมตกลงเขตการต้าเสรีอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 ได้ลงนามความตกลงเขตการต้าเสรีเพียง 5-6 ปี เท่านั้น มีเพียงประเทศจีนที่ได้ลงนามความตกลงเขตการต้าเสรีมา 10 ปี ดังนั้นความแตกต่างของก่อนและหลังการรวมกลุ่มทางการค้าจึง "ไม่เห็นความแตกต่างที่ชัดเจน"...
       
                - "ผลของการรวมกลุ่มทางการค้าระหว่างประเทศอาเซียนกับกลุ่มประเทศ +6", วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง, โดย "เพชรไพลิน สายสิงห์", 2557.

วันพฤหัสบดีที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

ASEAN-India Free Trade Agreement - AIFTA

                ปี พ.ศ. 2545 ผู้นำประเทศอาเซียนและอินเดียเห็นขอชให้มีการเจรจาจัตั้งเขตการต้าเสรีอาเซียน-อินเดีย และใน ปี พ.ศ. 2546 ทั้งสองฝ่ายได้ลงนามกรอบความตกลงวาด้วยความร่วมมือทางเศราฐกิจที่ครอบคลุมด้านต่่าง เพื่อเป็นกรอบแนวทางและแผนงานในการจัดตั้งเขตการต้าเสรีอาเซียน-อินเดีย ที่จะครอบคลุมถึง กาเรเเปิดเสรีการต้าสินค้ากรต้าบริการ การลงทุน และกลไกระงับข้อพิพาท รวมทั้งส่งเสริมควาร่างมมือในการอำนวนทางการต้า ดดยเร่ิมเจรจาจัดทำความตลงว่าด้วยการต้าสินค้าเป็นฉบับแรกในในพี พ.ศ. 2552 อาเซยนและอินเดียได้ลงนามความตกลฃงเขตการต้าเสรีและมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 มกราคม พงศ. 2553 อาเซียนและอินเดียได้ลงนามความตกลงเขตการต้าเารีและมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 มกราคม 2553 กับประเทศอินเดีย ไทย สิงคโปร์ และ มาเลเซียน ส่วนประเทศที่เหลือ คอื อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน เวียดนาม ลาว กัมพูชา และพม่า มีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2553
              แนวทางการเจรจา ในปี พ.ศ. 2559 อินเดียและประเทศอาเซียนจำนวน 5 ประเทศประกอบดวย ประเทศไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีน และบรูไน จะยกเลิกภาษีศุลกากรของสินค้าโดยรวมประมาณร้อยละ 80 ของรายการสินึ้าทั้งหมด ส่วนประเทศสมาชิกอาเซียนที่เหลือ คือ กลุ่ม CLMV ประกอบด้วย ประเทศกัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม จะยกเลิกภาษีภายหลัง ปี พ.ศ. 2564 ส่วนระหว่างประเทศฟิลิปปินส์ และอินเดีย จะยกเลิกภาษีภายน ปี พ.ศ. 2562 ข้อผูกพันทางภาษีไทย-อินเดีย
              ประเทศสมาชิกอยู่ระหว่างการรอลงนามความตกลงด้านการต้าบริการและการลงทุนเพื่อให้มีลผลบังคับใช้โดยเร็ว ทางด้านการต้าบริการ ไทยเสนอเปิดตลาดให้อินเดีย ถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 49 ในขณะที่อินเดียเสแนเปิดตลาดให้ต่างชาติถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 50 ในบางสาขาหรือบางกิจกรรม แต่กรณีที่ต้องดำเนินการร่วมกับรัฐวิสาหกิจหรือกับรัฐบาลในลักษระ Joint Venture Partner ต่างชาติต้องเสนอโครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้วยทางดานการลงุทน อาเซียนและอินเดีย สามารถสรุปผลการเจรจาความตกลงการลงุทนครอบคลุมการเปิดเสรีการลงทุน การคุ้มครอง การส่งเสริมและการอำนวยการความสะดวกด้านการลงทุน โดยระดับการให้ความคุ้มครองการลงทุนเทียบเท่ากับความตกลง เพื่อการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุน (BIT) ของไทย โดยตกลงเจรจาข้อสงวนให้แล้วเสร็จภายใน 3 ปี นับจากวันที่มีผลใช้บังคับ
               ประเทศอินเดียเป็นประเทศที่มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 2 ของโลก และในปี พ.ศ. 2557 อินเดียเป็ฯประเทศที่มีขนาดเศณาฐกิจใหญ่อันดับ 3 ของโลก อินเดียเป็นประเทศที่มีศักยภาพในการผลิต และส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมไปทั่วดลก ดดยเฉพาะสินค้าไอที อินเดียเป็นประเทศที่มีการวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมไอทีอันดับต้นๆ ของโลก อีกทั้งเป็นประเทศคู่ค้าของอาเซียน 10 อันดับแรก รวมถึงมีความต้องการวัตถุดิบนำเข้าเป็นจำนวนมากขึ้นทุกปี
              เมื่อพิจารณามูลค่าและสัดส่วนการสงออกและการนำเข้าของกลุ่มประเทศอาเซียนไปประเทศอินเดีย พ.ศ. 2544-2555 กลุ่มประเทศอาเซียนทั้ง 10 ประเทศมีการส่งออกไปประเทศอินเดียอยู่ระหว่างร้อยละ 1.7-3.8 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 ซึ่งเป็นปีที่อาเซียนลงนามทำความตกลงการต้าเสรีอาเซียนขอินเดีย ทำให้สัดส่วนการส่งออกของอาเซียนไปอินเดียมูลค่าการนำเข้ามีปริมาณเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี สัดส่วนมูลค่าการนำเข้าเมื่อเทียบกับมูลคาการนำเข้าจากทั่วดลกอยุ่ระหว่างร้อยละ 1.1-2.3 หลังจาก พ.ศ. 2552 สัดส่วนการนำเข้าเพ่ิมขึ้นมากกว่าร้อยละ 2 เมื่อดูดุลการต้าระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนกับประเทศอินเดีย พบว่า กลุ่มประเทศอาเซียนเกินดุลอกับอินเดียทุกปี
            เมื่อพิจารณาสัดส่วนมูค่าการส่งออกแยกของกลุ่มประเทศอาเซียนไปประเทศอินเดียตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544-2555 กลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งหมดสงออกไปประเทศอินเดีย คิดเป็ฯร้อยละ 2.8-3.9 ประเทศอินโดนีเซียส่งออกสินค้าไปประเทศเกาหลีใต้ คิดเป็นร้อยละ 2.1-3.1 ประเทศมาเลิเซียส่งออกสินคึ้าไปประเทศอินเดีย คิดเป็นร้อยละ 1.6-2.1 ประเทศไทยส่งออกสินคึ้าไปประเทศอินเดียคิดเป็ฯร้อยละ 0.8-0.9 ประเทศฟิลิปปินส์ส่งออกสินึ้าไปประเทศอินเดีย คิดเป็นร้อยละ 0.4-0.9
            สถานการร์การต้าไทย-อินเดีย
            รายการสินค้าที่ประเทศไทยได้ประโยชน์จากอินเดีย คือ เครื่องรับโทรทัสน์สี เตาไม่โครเวฟ ตุ้เย็ สิงปรุงรสอาหาร สายไฟฟ้า เคเบิล ลิฟท์ บันไดเลื่อน เครื่องจักร ของเล่น อะลูมิเนียม เม็ดพลาสติก เฟอร์นิเจอร์และส่วนประกอบ น้ำผลไม้ และผลไม้แปรรูป ส่วนสินค้าอ่อนไหวที่อินเดียจะลดภาษีลงเหลือร้อยละ ในปี พ.ศ. 2559 ได้แก่เครื่องปรับอากาศของอืนๆ ที่ทำด้วยเหล็ก เครื่องยนต์ดีเซล ส่วนประกอบอื่นๆ ของ รถยนต์ เครื่องเปลี่ยนไฟฟ้าชนิดคงที่ ปูนซีเมนต์ เคมีภัฒฑ์ เครื่องนุ่งห่ม รองเท้าชิ้นส่วนจักรยานยนต์/จักรยานยนต์และลวดทองแดง
             เมื่อพิจารณามุลค่าส่งออก 10 อันดับแรกสินค้าไทยไปประเทศอินเดีย สินค้าอันดับแรกที่ส่งออกมากที่สุด คือ เคมีภัณฑ์ รองลงมา คือ เม็ดพลาสติก อัญมณีและเครื่องประดับ เครื่องปรับอาเกาศและส่วนประกอบ เครื่องยนต์สันดาปภายในแบบลูกสูลและส่วนประกอบ รถยนต์อุปกรณ์และส่วนประกอบตามลำดับ ความต้องการสินค้าไทย 10 อันดับแรกส่วนใหญ่เป็นสินค้าอุตสาหกรรม สินค้าเกษตรแปรรูป ในแต่ละปี ความต้องการสินค้าบางรายการมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้น เมื่อเปรียบเทียบตามสัดส่วนการส่งออกสินค้าไทย 10 รายการแรกในปัจจุบัน ประจำเดือนมกราคมถึงพฤษภาคม พ.ศ. 2556 และ พ.ศ. 2557 สัดส่วนการส่งออกสินค้าไทยไปประเทศอินเดียที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ เคมีภัณฑ์ฺ เม็ดพลาสติก เครื่องปรับอากาศและส่งนประกอบ ยางพารา รวมถึงเครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์และส่วนประกอบ ประเทศอินเดียเป็นประเทศคุ่ค้า 10 อันดับแรกของกลุ่มประเทศอาเซียนและประเทศไทย มีศักยภาพในการผลิตและพัฒนาสินค้าอุตสาหกรรมป้อนสู่ตลาดดลกเป็นจำนวนมาก ดังนั้นมีความต้องการในสินค้าอุตสาหกรรมจาประเทศไทย เพื่อนไปผลิตสินค้าขั้นสุดท้ายเป็นอย่างมาก

                  - "ผลของการรวมกลุ่มทางการต้าระหว่างประเทศอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6" วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต เสนอต่อมหาวิทยาลัยรามคำแหง, โดย "เพชรไพลิน สายสิงห์"ฅ, 2557.
               

วันพุธที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

ASEAN + 6

           ความตกลงหุ้นส่วนเศราฐกิจระหว่างอาเซียนกับ 6 ประเทศ Comprehensive Economic Partnership in East Asia : CEPEA
           ในระหว่างการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น และ เอเซียตะวันออก ซัมมิท +3 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลิเซียน เมื่อปี พ.ศ. 2549 ญี่ปุ่นเสนอให้กลุ่มผู้เชี่ยยวชาญภาควิชาการ ของกลุ่มประเทศ เอเซียตะวันออก ซัมมิท ประกอบด้วย จีน ญี่ป่นุ เกาหลี ออสเตรเลีย นิวซี่แลนด์ และอินเดีย ทำการศึกษาความเป็นไปได้ในการัดตั้ง เขตการค้าเสรีระหว่างอาเซียน +6
          ทีป่ระชุม เอเซียตะวันออก ซัมมิท ครั้งที่ 2  เมื่อปี พ.ศ. 2550 ณ เมืองเซบู ประเทศฟิลิปปินส์ มีมตรเห็นชอบให้ดำเนินการศึกษาดังกล่าว โดยญี่ปุ่นจะจัดให้มีการประชุมร่วมกันระหวางนักวิชาการซึ่งเป้นตัวแทนของแต่ละประเทศครั้งแรกในเดือนมิถุนายน 2550
          กลุ่มผู้เชี่ยวชาญฯ ของ CEPEA (รศ.ดร. สุทะิพันธ์ จิราธิวัฒน์ ประธานศุนย์วิจัยเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยทำหน้าที่เป็ฯผุ้เชี่ยวชาญฯ ฝ่ายไทย) ได้ทำการศึกษาถึงความเป็นไปได้ในการจัดทำความตกลงการต้าเสรีระหว่างประเทศอาเซีียน +6 โดยมีการประชุมร่วมกัน 6 ครั้ง โดยสรุปผลการศึกษาและนำเสอนต่อที่ประชุมผุ้นำเอเซียตะวันออก ในปี 2551 ณ กรุงเทพฯ โดยระบุว่าการจัดทำ อาเซียน +6 นั้นจะทำให้ GDP ของแต่ละประเทศสมาชิกเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 2.11% โดยในส่วนของอาเวียนนั้น จะได้รับประโยชน์มากกว่าโดย GDP ของอาเซียน เพิ่มขึ้น 3.83% ในส่วนของไทย GDP จะเพิ่มขึ้นเท่ากับ 4.78%
            นออกจากนี้ ผลุการศึกษาได้ครอบคลุมประเด็นอื่นๆ สำคัญ ผลกระทบด้านเศรษบกิจ องค์ประกอบของ อาเซียน +^ ซึ่งประกอบด้วย การเปิดเสรีทางการต้าและการลงทุนการอำนวนความสะดวกทางการต้าและการลงทุน ความร่วมมือ างด้านเศรษฐกิจ พลังงาานและสิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยีสารสนเทศ นอกจรากนี้ได้เสนอแนะแนวทางสู่การทำเขตการค้าเสรีเอเซียตะวันออก โดยเสนอให้ประเทศสมาชิกต้องเริ่มที่เข้าใจหลักพื้นฐานและเป้าหมาบยของ อาเซียน +6 อันจะมุ่งสู่การเปิดเสรีการอำนวยความสะดวก และความร่วมมือระหว่างกัน
           ต่อมาที่ระชุมเอเซียตะวันออก ซัมมิท ครั้งที่ 40 และ AEM-METT ครั้งที่ 15 ในปี 2551 ณ ประเทศสิงคโปร์ มีมติเห็นชอบและสนับสนุนผู้เชี่ยวชาญในการศึกษาต่อระยะที่ 2 โดยเน้น 3 เสาหลัก คือ ความร่วมมือ ด้านการอำนวย และการเปิดเสรี นอกจากนี้ ที่ประชุมได้มีข้อเสอแนะเกี่ยวกับแนวทางในการสึกษา ASEAN +6 Phase II โดยให้ครอบคลุมถึงการศึกษาวิเคราะห์ในความตกลงเขตการต้าเสรี อาเซียน +1 ที่มีอยู่รวมถึงกฎ Special & Differential Treatment ที่มีประสิทธิภาพ แนวทางของการเปิดเสรี และการอำนวยความสะดวก ที่เหมาะสมซึ่งนำไปสู่แนวทางที่จะช่วยลดช่องว่างของระดับการพัฒนาของประเทศสมาชิก และระบบแนวทางด้านความร่วมมือต่างๆ ที่ช่วยสร้างความสามารถ ของประเทศสมาชิก เพื่อรองรับการเปิดเสรีภายใต้อาเซียน +6
           การศึกษาในระยะที่สองนั้นได้มีการประชุมกันทั้งหมด 4 ครั้ง ผู้เชียวชาญ ได้สุปผลการศึกษา และนำเสนอต่อที่ประชุมรัฐมนตรีเศรฐกิจอาเซียน ครั้งที่ 41 ณ กรุงเทพ ระหว่างวันที่ 13-16 สิงหาคม 2552 โดยผุ้เชี่ยวชาญ มองว่า อาเซียน +6 ควรให้ความสำคัญในเรื่องความร่วมมือ เป็นดับแรก เพื่อมุ่งลอช่องว่างระดับการพัฒนาของแต่ละประเทศสมาชิก โดยเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การถ่ายทอดเทคโนโลยี และสร้างความเข้มแข็งให้วิสาหกอจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) และที่สำคัญคือการสร้าง Capicity Building ให้แก่ประเทศพัฒนาน้อยที่สุด รวมทั้งควรพิจารณาจัดตั้งกองทุนเอเชียตะวันออก East Asia Fund เพื่อช่วยรองรับโครการความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นและสร้างพื้นฐานสำหรับพัฒนาต่อไป..(www.dtn.go.th/..ASEAN + 6)

วันอังคารที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

East Asia Community : EAC II

             "ประชาคมเอเซียตะวันออก" กลายเป็นการรวมกลุ่มขนาดใหญ่ที่ส่งผลสะเทือนต่อโลก ด้วยจำนวนประชากรที่มหาศาล ขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่โต และสัดส่วนจีดีพีเกือบ 20 % ของจีดีพีรวมทั้งโลก แม้การร่วมกลุ่ม "ประชาคมเอเชียตะวันออก"จะมีความน่าสนใจ แต่การเดินไปให้ถึงเป้าหมายก็ไม่ใช่เรื่อง่าย เพระยังมีมุมมองที่ต่างกันระหวางบรรดาประเทศใหญ่ ชูไอเดียที่จะรวมกลุ่มเอเชียตะวันออกที่อยุ่ในกรอบ +6 (อาเซียน จีน เกาหลี ญี่ปุ่น อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์) ส่วนจีนหนุนแนวทางรวมกลุ่มภายใต้กรอบ + 3 ขณะที่ออสเตรเลีย มองไกลกว่านั้น  โดยผลักดันแนวคิด "ประชาคมเอเชีย-แปซิฟิก" ไม่นับรวมความแตกต่างที่มีมากมาย ทั้งในแง่การพัฒนา ระบบการเมืองการปกครอง กฎระเบียบต่างๆ
ประวัติศาสตร์ที่เคยเป็นปรปักษ์กัน รวมถึงบทบาทในปัจจุบันและอนาคต ความไม่ไว้ใจซึ่งกันและกัน ซึ่งสิ่งเหล่นนี้ล้วนเป็นปัจจัยที่เป็นอุปสรรคในการจะเดินตามความฝันของเหล่าสมาชิก ที่ประชุมได้ทั้งทีมศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตั้งเขตการต้าเสรีอาเซียนตะวันออก ซึ่งเป้นความร่วมมือท่าเศราฐกจิในกรอบ +3 และการเป็นหุ้นส่วนทางเศราฐกิจในเอเชียตะวันออกแบบรอบด้าน ซึ่งเป็นกรอบ +6 โดยในการประชุมครั้งล่าสุดได้นำเสนอผลการศึกษาในระยะที่ 2 และผุ้นำก็ยังไม่ได้ตัดสินใจว่าจะเดินไปในแนวทางใด แต่เห็นว่าควรศึกษาและพิจารณา กรอบ +3 และ +6 ควบคู่กันไป
              ฟอร์บส ระบุว่า แนวคิดการร่วมตัวเป้นประชาคมเอเชียตะวันออกเกิดขึ้นมานานแล้ว เพียงแต่เริ่มชัดเจนขึ้นนับตั้งแต่ ปี 2546 ซึ่งขั้วอำนาจทั้ง 2 ได้แก่ จีนและญี่ปุ่น เร่ิมเอาจริงเอาจังกับไอเดียดังกล่าวมากขึ้น และยิ่งทวีความสำคัญขึ้นในปัจจุบัน เมื่อตลาดส่งออกในตะวันตกอยุ่ในภาวะซึมเซาจากพิษวิกฤตเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม อาเซียนประกาศตัวเป็นแกนของการเป็นประชาคมที่จะเกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นกรอบใดก็ตาม มีความเป็นไปได้ว่าการรวมตัวทางการต้าจะเกิดขึ้นได้ก่อนด้านการเมือง ซึ่งหากตั้งต้นด้วยการรวมอาเซียน ญี่ปุ่น จีนและเกาหลีใต้ จะทำให้เศราฐกิจใหญ่โตขึ้นจากการรรวมการต้าและการลงทุนระหว่างกัน โดยจะมีสัดส่วนราว 16% ของจีดีพีรวมทั้งดลก และมีตลาดที่มีศักยภาพจากจำนวน ผุ้บริโภค 1.5 พันล้านคน ขณะที่บริษัทราว 1 ใน 4 ที่อยุ่ในทำเนียบ 2,000 บริษัทขนาดใหญ่สุดในโลกของฟอร์บส ล้วนเป็นบริษัทจากจน เกาหลีใต้ และญีปุ่น แต่แนวคินี้กยังเป็นวิสัยทัศน์ระยะยาว เช่นเดียงกับการก่อตั้งสหภาพยุโรปที่ใช้เวลานานกว่าครึ่งศตวรรษ กว่าจะพัฒนาจากประเทศแกนหลักที่มีฝรั่งเศส เยอรมนี และเบเนลักซ์ จนกลายเป็นกลุ่มขนาดใหญ่ที่มีสมาชิก 27 ประเทศเช่นปัจจุบัน
           
  ขณะที่ "วอลส์สตรีต เจอร์นัล" รายงานว่า วกฤตเศราฐกิจได้เร่งให้บทบาทของสหรัฐลดลงอย่างรวดเร็ว ขณะที่ขั้วอำนาจใหม่มีบทบาทมากขึ้น ดดยเฉพาะจีน ความต้องการบลริโภคในตะวันตกที่ลดลงอย่างฮวบฮาบ และเป็นไปได้ว่าความต้องการบริโภคเหล่านี้จะไม่ฟื้นกลับมาในระดับท่เคยเป็นก่อนวิกฤต สิ่งเหล่านี้ช่วยเสริมมุมมองที่ว่าเขตเศรษฐกิจในเอเชียจะช่วย "ถ่วงดุล" ด้วยการบริโภคภายในประทศเพ่ิมขึ้น หรือส่งออกไปยังตลาด ใกล้บ้านแทน
              ดังนั้น การมีกลุ่ึมความร่วมมือในเอเชียจะครอบคลุมประชากรรวครึ่งหนึ่งในโลก และมีการปลิตาว 1 ใน 3 ของทั้งโลก รวมทั้งจะเป็นขั่วที่ 3 ในระบบ เศราฐกิจโลก เพ่ิมเติมจากสหรัฐและยุโรป ซึ่งการรวมพลังกันนี้จะส่งผลให้เกิดความเปลียนแปลงในระบบการเมืองและเศราฐกิจโลก
           
  การรวมตัวกันของเอเชียก็ยังไม่สามารถทดแทนตลาดตะวันตกในฐานะกลจักร ชับเคลื่อนการเติบดต เพราะสัดส่วนการต้าในเอเชียตะวันออก แม้จะเพ่ิมเป็น 55% จาก 37% ระหว่างปี 2523-2549 แต่ความร่่วมมือในกลุ่มสหภาพยุโรปอยุ่ที่ 66% และความตกลงเขตการต้าเสรีอเมริกาเหนืออยุ่ที่ 44% อย่างไรก็ตาม การผลิตในภุมิภาคอเชีย ตะวันออกเป็นลักษรแยกผลิตก่อนส่งไปประกอบขึ้นสุดท้าย ดดยบริษัทหนึ่งอาจลงทุนในโรงงานหลายแห่งในเอเชีย ตะวันออก จากนั้นก็จะส่งชิ้นส่วนต่างๆ ไปประกอบให้สมบูรณ์ก่อนส่งออกไปตลาดสหรัฐหรือยุโปร ทไใ้การรวมตัวของ เอเชียตะวันออกมีการเชื่อมโยงกับการบูรณาการของโลก แต่ภาคการผลิต บริการ และภาคเกษตรกรรมในเอเชีตะวันออกยังมีอุปสรรคจากการปกป้องทางการต้าอยู่มา ดดยเฉพาะในเอเชียใต้ที่มีปัญหารนี้มาก ขณะที่่ความร่วมมือด้านการเงินการคลังในเอเชียตะวนออกยังอยุ่ในช่วงตั้งไข่ จึงยังไมเปิดเสรีมากนัก และแม้จะมีความเชื่อมโยงกับศูนย์กลางการเงินอื่นๆ แต่ธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) ระบุว่า ในปี 2549 เอเชียมีสินทรัพย์ในมือนอยกว่า 10% ของทั้งหมดที่ลงทุนในภูมิภาค เทียบกับสหรัฐที่ถือครองสินทรัพย์นภูมิภาคนี้ 30% ซึ่งแม้จะมีความพยายามจัดตั้งกองทุนพันธบัตรเอเซียและความริเริ่มตลาดพันธบัตรเอเชีย แต่ก็ยังอยู่ในช่วงเริ่มต้นเท่านั้น...


(www.prachachat.net/.."ประชาคมเอเชียตะวันออก" ความผันที่ยังต้องเดินทางอีกไกล"

วันจันทร์ที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Plus Three IV

           อิทธิพลทางการเมือง สถานการณ์ทางการเมืองของตินแดนชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก ในยุคนี้ได้เพิ่มความตึงเครียดมากย่ิงขึ้นเมื่อต่างฝ่ยจ่างมีการสะสมอาวุธ อันจะนำความไม่มั่นคงมาสู่เอเซียตะวันออกมากยิ่งขึ้น
           - เอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ
             การแข้งขันในการสะสมอาวุธ ป้องกันประเทศหรือเพื่อรุกราน แม้สงครามที่มีการปะทะกัน
โดยตรงดังเช่นในอัฟการนิสถาน และอิรักที่มีกองกำลังทหารนานาชาติเข้าไปในสมรภูมิรบเต็มรู฿ปแบบจะไม่ปรากฎให้ห็นอย่างเด่นชัดในสหัสวรรษใหม่นี้ นอกจากคำขู่และการทดลองอาวุธที่มีอานุภาพการทำลายล้างสูง เป็นครั้งคราวจากเกาหลีเหนือ แต่เอเชียตะวันออกเฉียงเหนือก็เป็นภูมิภาสคที่มีการสะสมอาวุธร้ายแรงและอาวุธทันสมัยไฮเทคมากที่สุบริเวณหนึ่งของโลก  โดยมีปัจจัยหลักที่ส่งเสริมให้เกิดสถานการณ์ดังนี้ ได้แก่ จำนวนประชากร คงามเฟื่องฟูทางเศรษฐกิจ ความขัแย้งทางประวัติศาสตร์ ภูมิรัฐศาสตร์ที่เป็นรอยต่อระหว่างลัทธิคอมมิวนิสต์กับลัทะิเสรีประชาธิปไตย จนมีนักวิชาการบางคนระบุว่าบริเวณแถบนี้เป็นแหล่งที่สงครามเย็นหลงเหลือเป็นแห่งสุดท้ายของโลก   จากข้อมลจำนวนทหารและอาวุธที่ประเทศ เกาหลีใต้ และญี่ปุ่นมีในปี 2009 และเปรียบเทียบกับข้อมูลของเกาหลีเหนือ และไต้หวัน ซึ่งเป็นตัวละครสำคัญในภูมิภาคนี้เช่นกัน หากรวมกองกำลังทหารและอาวุธของจีนและเกหลีเหนือเข้าด้วยกันแล้ว จะมีมากกว่าจำนวนรวมของเกาหลีใต้ ญี่ปุ่นและไต้หวัน อนึ่ง ทั้งจีนและเกาหลีเหนือต่างเป็นประเทศที่ผลิตและครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ด้วย ดังนั้น  ความสมดุลจึงอยู่ห่างไกฃลมาก จึงต้องมีกองกำลังทหารสหรัฐฯ มาตั้งฐานทัพที่ประเทศเกาหลีใจ้และญี่ป่นุถเพื่อให้เกิดดุลยภาพขึ้นบ้งบางส่วน
             
อีกทั้งระบบงบประมาณที่ใช้ในด้านการทหารและการป้องกันประเทศจะเห็นได้วา นับตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งทีสองเป็นต้นมานั้น ญี่ปุ่นได้ตั้งงบประมาณในด้านนี้ไว้สุง หลาวคือ ใน ค.ศ. 2001 ตั้งงลประมาณราว 40.8 พันล้านเหรียญ หรือมากกว่างลบประมาณในส่วนนี้ของจีน เกาหลีใต้ เกาหลีเหนือ และได้หวันรวมกัน ต่อมมาในปี ค.ศ. 21006 และ ค.ศ. 2007 งบประมาณทางการทหารได้ลดลงบ้างตามลำดับ แต่ก็มิได้มีนัยสำคัญเท่าใดนัก ในทางตรงกันข้ามงลประมาณของจีนได้เพิ่มจาก 17 พันล้านเหรียญใน ค.ศ 2001 เป็น 61 พันล้านเหรียญใน ค.ศ.  2008
                Dr. Gary Kllinworth แห่งมหาวิทยาลัย Australian National University ได้กล่าวว่าภายหลังที่เกาหลีเหนือได้ทดลองระเบิดนิวเคลียร์เมื่อปี ค.ศ. 2006 เป็นต้นมา การแข่งขันกันสะสมอาวุธในภูมิภาคแถบนี้มีความเข้มข้นมากย่ิงขึ้น และได้มีการนำระบบเครื่องยิงต่อต้านขีปนาวุธ มาใข้เพื่อเอาชนะฝ่าย ดังนั้น เมื่อเกาหลีเหนือครอบครองและทดลองยิง
ขีปนาวุธหลายครั้ง ไต้หวัน ญี่ป่นุ แลเกาหลีได้มีความรู้สึกไม่มีความปลอดภัยและความมั่นคงของชาติได้รับการทาทาย จึงแสวงหาอาวุธที่ต่อต้านขีปนาวุธขึ้นด้วยการซื้อ Patriot missile จากสหรัฐ ฯ และต่างติดตั้งระบบ Missile Defense System ซึ่งถือได้ว่าเป็นการก้าวไปสู่โครงการสงครามอวกาศ (Star War programe) ขึ้นแล้ว
              ตัวอย่างการเสริมเขี้ยวเล็บทางอาวุํธของปะเทศญี่ปุ่น ได้แก่ การซื้อเครื่องบิน นำเข้าประจำการในปลายปี ค.ศ. 2008 และจะซื้อเครื่องบินรบ F-22 ราคาละละ 200 ล้านเรียญจำนวนราว 100 ลำ เพื่อทอแทนเครื่องบิน F-14  FX ที่เก่าและล้าสมัย หากเครื่องบินผูงนี้เข้าประจำการ จะมีสมรรถนะปกป้องประเทศนรัศมี 2,000 ตารางกิโลเมตร นอกจานี้ ญี่ปุ่นยังซื้อ มิสไซส์ จากสหรัฐฯ โดยติดตั้งบนเรือบรรทุกเครื่องบิน เพื่อใช้ยิงต่อต้านขีปนาวุธของเกาหลีเหนือ ในขณะที่เรือบรรทุกเครื่องบิน ก็ได้ทำการติดตั้งเครื่องยิงต่อต้านขีปนาวุธเช่นกัน ได้หวันจะซื้อเครื่องบินรบ จำนวน 60 ลำ ในขณะที่เกาหลีได้ใต้ตั้งงลประมาณราว 665 พันล้านเหรียญ ดิเฟรนด์ รีฟอร์ม 2020 อินนิทิทีฟ โดยจะใช้ซื้อเครื่องบินรบไฮเทค F -15 K เรือบรรทุกเครื่องบิน ซึ่งจะสามารถเป็นโลห์ป้องกัน Low-altitde misssile ได้
           
 จีนได้ทุ่มงบประมาณในการผลิตเครื่องบินรบที่มีสมารรถนะสูง เพื่อใช้ในการต่อกรกับเครื่องบินรบ F-22 ภายใต้ชื่อ Jian-13 และ Jian -14 ที่สามารถติดตั้งเรดาร์ โดยจะสามารถผลิตได้ในปี ค.ศ. 2015 ในขณะเดียวกันก็จะต่อเรือดำน้ำพลังนิวเคลียร์ขนาด 93,000 ตัน ให้เสร็จสิ้นใน ค.ศ. 2020
             Hard Power diplomacy หมายถึงการใช้การทูตทางกำลังทหาร นั้คือการบีบบังคับให้อีผ่ายหนึ่งเห็นพ้องต้องกันว่าการใช้กองกำลังทหารเข้าดจมตี หรือบีบบังคับด้วยการใช้พลังอำนาจทางอาวุธเข้าไปมีอิทธิพลเหนือการตัดสินใจของฝ่ายตรงข้ามแม้ในปัจจุบัน การโจมตีกันด้วยกองกำลังทหารทหารและอาวุธจะไม่เกิดขึ้น แต่การแข่งขันการสะสมอาวุธของประเทศในภูมิภาคนี้ก็กระทำกันอย่างต่อเนื่องแลเข้มข้นดังที่กล่าวแล้วในหัวข้อข้างต้น ทุกชาติจะพูดถึงดุลยภาพของอาวุธที่มีไว้ในครอบครอง และสร้างแสนยานุภาพในการปกป้องตนเองหากมีความจำเปนที่ตนเองถูกรุกราม ทั้งนี้ทั้งนั้น ตัวละครที่สำคัญนอกภูมิภาค คือ สหรัฐอเมริกาที่เน้นความสำคัญในการสร้างความสมดุลระหว่างกลุ่มคอมมิวนิสต์ (จีน เกาหลีเหนือ และรัสเซีย) กับกลุ่มเสรีประชาธิปไตย (เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และสหรัฐฯ)
            เกาหลีเหนือเปนเสมือนตัวการที่สร้างความตื่นตระหนกและเป็นภัยคุกคามสันติภาพและความมั่นคงให้แก่ภูมิภาคนี้ ดังเป็นที่ประจักาืว่าเมืองโสมแดงมีอาวุธนิวเคลียร์และอาวุธที่มีอานุภาพการทำลายล้างสูงมาก และได้ทำการทอลองอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งได้ "ปล่อยจรวดเพื่อส่งดาวเทียม" ขึ้นสุ่อวกาศ เมื่อวันที่ 5 เมษายน ค.ศ. 2009 เวลา 11.20 น. ซึ่งได้สร้างความไม่พอใจให้แก่ประเทศในกลุ่มเสรีประชาธิปไตยที่คาดการรืว่า เกาหลี่เหนือทดลองยิงขีปนาวุธพิสัยไกลเตโปคอง 2 ที่ยิงได้ไกลถึงฝั่งตะวันตกของสหรัฐฯ  ญี่ปุ่นจึงได้เตรียมพร้อมด้วยการนำขีปนาวุธต่อต้านมาติดตั้งหากชิ้นสวยของขีปนาวุธของเกาหลีเหนือตกลงในดินแดนญี่ปุ่นในขณะที่เกาหลีใต้สั่งเตรียมพร้อมทางการทหารเพื่อป้องกันประเทศเช่นกัน อนึ่ง ก่อนหน้านั้นญี่ปุ่น เกาหลีใต้ สหรัฐฯ รวมทั้งประเทศในยุโรปต่างเรียกร้องให้เกาหลีเหนือยุติการยิงจรวดเพื่อส่งดาวเทียม แต่คำตอบของเกาหลีเหนือก็คือ ปฏิเสธข้อเรียกร้องทัเ้งหมด และประกาศว่าจะทำสงครามกับประเทศใดๆ ที่ยิงจรวดของคนตก ในที่สุดเกาหลีเหนือก็ดำเินการตามแผนที่ตั้งไว้
           
จีนได้ส่งสัญญาณว่า จะไม่กระทำการใดๆ หรือมีมาตรการต่อต้านการกระทำของเกาหลีเหนือ แม้ว่าจะไม่ประกาศสนับสนุนเมืองโสมแดงอย่างเปิดเผย จึงเป้นที่รับรู้กันว่าจีนเห็นด้วยกับเกาหลีเหนือในการยิงจรวดส่งดาวเที่ยม นายหู จินเทา ไม่ได้ตอบรับกับข้อเรียกร้องของญี่ปุ่นที่ให้ช่วยเหลี่ยกล่อมเกาหลีเหนือให้ยุติโครงการในการพบกัน ณ ที่ประชุม G-20 ในจ้รเดือนเมษายน ค.ศ. 2009 ที่กรุงลอดดอน ประเทศอังกฤษ ทำให้นายกรัฐมนตรีอาโซะ แสดงความไม่พอใจต่อปฏิกริยาของผุ้นำจีน
            อย่างไรก็ตาม การปล่อยจรวดส่งดาวเทียมของเกาหลีเหลือที่มีจีนสนับสนุนอยุ่เบื้องหลังอาจมองได้ว่า กลุ่มคอมมิวนิสต์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจีนต้องการ "ทดสอบ" ท่าทีหรือปฏิกิริยาของนายบารัค โอบามา ผุ้นำสหรัฐฯ คนใหม่ว่าจะมีนโยบายต่อกลุ่มจีน-เกาหลีเหนืออย่างไร (เมื่อเทียบกับการประกาศนโยบายแข็งกร้าวของอดีตประะานาธิบดีบุชที่มีต่อเกาหลีเหนือ-จีน) ในขณะที่ญี่ปุ่นได้แสดงออกถึงการเตรียมพร้อมในการปกป้องตนเองอย่างเต็มที่ ซึ่งก็เป็นไปตามแผนในการสร้าางความชอลธรรมของญีปุ่น ที่้ต้องการรมีกองทัพและการสะสมอาวุธทันสมัยเฉกเช่นเดียวกันกับของประเทศอื่นๆ ทั่วโลก ในอดีต การเคลื่อนไหวใดๆ ของญีปุ่นในเรื่องการเสริมสร้างสมรรถนนะทางการทหาร (นอกเหนือจากการมีกองกำลังปองกันตนเองที่มีจำนวนกำลังพลและอาวุธไม่มากนักมักจะได้รับการต่อต้านจากจีน และเกาหลีใต้ที่กล่าวหาวาญี่ปุ่นกำลังก้าวเข้าสุ่ลัทธิมหาอำนาจทางการทหารอันจะเป็นภัยร้ยแรงต่อประเทศเพื่อนบ้านดังเช่นในยุคก่อนและหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
           ดังนั้นสถานการณ์ความตึงเครียดบนคาบสมุทรเกาหลีที่เกิดขึ้นในช่วงหบังทศวรรษ 2000 จึงกลายเป็นผลประโยชน์ต่อญีปุ่นมากกว่าโดยได้ใช้เป็นเหตุผลในการแก้ไขรัฐธรรมนูญมาตราที่ 9 ที่เปลี่ยนเป็ฯนดยบายในการป้องกันประเทศ ได้ยอมรับการมีกองทัพในการป้องกันตนเอง ส่วนเกาหลีเหนือก็ได้รับเครดิตหรือความเชื่อถือทั่วไปว่ามีขีดความสามารถที่ทันสมัย อันจะส่งผลดีต่อธุรกิจการขายอาวุธให้แก่ประเทศอื่นๆ และกลุ่มติดอาวุธ (ที่ต่อต้านรัฐบาล ผุ้ก่อการร้าย โจร ฯ) ในปัจจุบันและอนาคต..
          ในปี 2010 เกาหลีใต้กล่าวหาว่า เรือพิฆาตของเกาหลีเหนือยิงทอปิโดใส่จนขาดออกเป็นสองท่อนในเขตน่านน้ำของตน แต่รัฐบาลเกาหลีเหนือปฏิเสธว่ามิได้กระทำการดังกล่าว ในขณะที่นานาชาติจากโลกตะวันตกคาดว่าเป็นผลงานของเกาหลีเหนือ อย่างไรก็ตาม จีนมิได้เห็นพ้องกับข้อกล่าวหาของเกาหลีใต้ แต่กลับยืนยันการสนับสนุนเกาหลีเหนืออย่างสุดตัวทำให้สื่อมวลชนเกาหลีใต้ได้โหมกระพือข่าวว่า จีนไม่ได้ให้ความสนใจต่อพฤติกรรมก้าวร้าวของเกาหลีเหนือ แต่ใช้ความเป็นพวกพ้องในการบดบังการก่อการ้าย
           กากรประชุมสุดยอดครั้งที่ 2 ระหว่างนายกรัฐมนตรีจีน นายเหวิน เจิยเป่าประธานาธิบดีลีเมัยงบัง แห่งเกาหลีใต้ และนายกรัฐมนตรีผูกิโอะ ฮาโตยามะ แห่งญี่ปุ่น ที่นครปักกิ่ง เมื่อปี 2009 ผุ้นำทั้งสามประเทศต่างเห็นพ้องที่จะสร้างความเชื่อมั่นระหว่างกัน ส่งเสริมความร่วมมือเพื่อให้เกิดประโยชน์ร่วมกันอย่างจริงจัง และสร้างความมั่นคงและการพัฒนาของเอเชียการปรุะชุมสุดยอดครั้งที่ 3 ได้จัดขึ้นที่เกาเซจู ประเทศสาะารณรัฐเกาหลี ในปี 2011 และจะร่วมมือกันสร้างเขตการต้าเสรีระหว่างสามประเทศให้เป็นผลสำเร็จอย่างไรก็ตาม ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทั้งสามก็มิได้ราบรื่นดังที่หวัง ทั้งนีเพราะต่างมีความไม่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน และปัญหาจากหนี้ทางประวัติศาสตร์ที่ยังคงค้างอยุ่ และเนื่องจากต่างฝ่ายต่างต้องการเป็นใหญ่เหนือเอเซียตะวันออก การแข่งขันระหว่างสามาประเทศนี้จึงมีอยุเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน
             - เอเซียตะวันออกเฉียงใต้
              ความเข้มแข็งทางการทหาร ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นกลุ่มประเทศที่มีระดับความเข้มแข็งทางการทหารในระดับต้นๆ ของโลกและมีการสะสมอาวุธกันมาก แม้จะอยุ่ในระดับต่ำหว่าประทเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือก็ตาม ในการจัดอันดับของเวปไซด์แห่งหนึ่ง ได้จัดให้จีนอยุ่ในลำดับที่ 3 เกาหลีใต้ที่ 7 ญี่ปุ่นที่ 9 ได้หวันที่ 14 และเกาหลีเหนือที่ 22 ในขณะที่จัดให้อินโดนีเซียอยุ่ในอันดับที่ 18 ไทย ที่ 19 และฟิลิปปินส์ที่ 23 และมาเลเซียที่ 27 ของโลกในปี ค.ศ. 2011
            ในกรณีของไทยนั้น รายงานดังกล่าวระบุวา ในปี 2011 ไทยได้จัดงลประมษรให้กระทรวงกลาโหม 5,200 ล้านเหรียญสหรัฐฯ มีกำลังทหารพร้อมรบ 305,860 นาย และกำลังสำรองที่พร้อมรบ 245,000 นาย ดดยกองทัพบกมีรถถัง 542 คัน ยานลำเลียงพลหุ้มเกราะ 1,005 คัน ปืนใหญ่ชนิดลากจูง 741 กระบอก ปืนใหญ่อัตตาจร 26 กระบอก ระบบจรวดหลายลำกล้อง 60 ชุด ปืนคอ 1,200 กระบอก อาวุธนำวิถีต่อสุ้รถถัง 818 ชุด อาวุธต่อสุ้อากาศยาน 378 หน่วย และยานยนต์ส่งกำลังบำรุง 4,600 คน อกงทัพอากาศมีเตรื่องบินแบบต่างๆ 910 ลำ เฮลิคอปเตอร์ 443 ลำ และเครื่องบินบริการ 105 ลำ ในขณะที่ราชนาวีไทย มีเรื่องทั้งสิ้น 164 ลำ แยกเป็นเรือบรรทุกระเบิด 7 ลำ เรือฟรีเกต 6 ลำ เรือยามฝั่งและเรือตรวจการ 109 ลำ เรือนำสงครามทุ่นระเบิด 7 ลำ และเรือสนับสนุนการยกพลขึ้นบก 9 ลำ
         
อดีตประธานาธิบดี Fiel V. Ramos ของฟิลิปปินส์ได้เขียนบทความลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ เจแปน ไทม์ ว่า ปัจจุบันมีความตึงเครียดทีหมู่เกาะ Spratly ในทะเลจีนใต้ ที่ฟิลิปปินส์ เวียดนาม และจีนต่างอ้อางกรรมสิทธิ์ความเป้ฯเจ้าของเหนือหมุ่เกาะดังกล่าว ข้อขัดแย้วนี้นไปสู่การเผชิญหน้า และบางครั้งมีการปะทะกัน เชน ระหว่างเรือตรวจการของจีน -ฟิลิปปินส์ และเหตุการณ์รุนแรงก็คือ เรือฟรีเกตของจีนได้ยิงจรวดนำวิถีไปยังเรือประมงของฟิลิปปินส์ที่แล่นอยุ่ใกล้กับเกาะปาลาวัน ในปี 2011 ในขณะเดยวกัน มีการเผชิญหนาทางทหารระหว่างจีนกับเวียดนามขึ้นบ่อยครั้ง ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับสมาชิกของสมาคมเาอเว๊ยนทั้ง 2 ประเทศ ตกลงถึงระดับต่ำสุด ประชาชนฟิลิปปินส์ราว 5,000 คนได้เดินขบวนประท้วงหน้าสถานเอกอัครราชทุตจีนในกรุงมนิลา และมีเหตุการณ์ประท้วงจีนได้เกิดขึ้นในเวียดนามเช่นกัน
            จีนถือว่าข้อพิพาทนี้วรถือเป็นเรื่งอของจีนกับประเทศคุ่กรณีแต่และประเท ในขณะที่ฟิลิปปินส์และเวียดนามต่างถือว่า จีนคุกคามความมั่นคงของประเทศอาเซียนเพราะการเจรจาแบบทวิภาคีนั้นไม่อาจนำความสำเร็จมาให้ได้ ทั้งนี้เพราะจีนเป็นประเทศใหญ่ปละมีอำนาจเหนือกว่าทั้งทางเศรษฐกิจ การทหาร และสังคมวัฒนธรรม นอกจากนี้ ได้มีความพยายามในการนำสหรัฐอเมริกา อินเดีย และประเทศอื่นๆ ได้แก่ ญี่ปุ่น ยุโรป และออสเตรเลียเข้ามามีส่วนร่วมในข้อพิพาทนี้ด้วย โดยนำประเด็นเรื่องสิทธิในการใช้เส้นทางเดินเรือผ่านทะเลจีนใต้ ซึ่งจีนมักอ้างสิทธิ์ว่า เป็นน่านน้ำของตน ปัญาหในเรื่องนี้ยังไม่มีข้อสรุป
              เกาหลี-พม่า ความตึงเครียดบนคาบสมุรเกาหลก่อให้เกิดผลกระทต่อประทเศไทยคื การลั้ภัยของชาวเกาหลีเหนือเข้าสู่ไทย และความสัมพันธ์ระหว่างพม่ากับเกาหลีเหนือ
              ที่ผ่านมา ไทยกลายเป็นสวรรค์ของผุ้ลี้ภัยเกาหลีเหนือที่หลั่งไหลเข้ามา ในขณะที่เจ้าหน้าที่
ทางกรของพม่า ลาว และเวียดนามต่างพยายามผลักดันด้วยวิธีการเข้มงวด เส้นทางหลบหนีออกจากเกาหลี่เหนือเร่ิมจากการลักลอบเข้าจีนผ่านทางเมืองต้าหม่งล่ง (เมืองชายแอนจีน-พม่า) ก่อนที่จะเขช้าสู่เขตอิทธิพลของว้า(เขตปกครองพิเศษที่ 4 ชนชาติว้าแห่งสหภาพพม่า) และเดินทางผ่านเนิน 240 (เขตว้า) จากนั้นก็จะไปลงเรือบริเวณแม่นำ้โขงที่ท่าสบหลวย (ฝั่งพม่า) เพื่อเดินทางมาพักรอเข้าสู่ไทยมี่เมืองมอม เเขวงบ่อแก้ว ประเทศลาว (ตรงข้ามเมืองปง ประเทศพม่า อยู่เหนือสามเหลี่ยมทองคำขึ้ไปราว 10 กิโลเมตรป ซึ่งบริเวณเมืองมอมนี้จะมีกุ่มนายหน้าคอยจัดหาที่พักให้เพื่อรอประสานงานกับนายหน้าค้ามนุษย์ ในจังหวัดเชียงราย รอจังหวะที่จะเดินทางเข้าประเทศไทยทางด้าน อำเภอเชียงแสน และอำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ..
             พม่าและเกาหลีเหนือนั้นโดยแท้จริงแล้วทั้งสองต่างพยายามหาทางสร้างความปองดองกันมานานนับแต่ทศวรรษที่ 1990 แล้ว ดดยทางการของเกาหลีเหนือและพม่าได้พบปะพูดคุยกันอย่างไม่เป็น
ทางการ เพื่อขอตัวนักโทษที่เป็นสายลับเกาหลีเหนือที่อยุ่เบื้องหลังการวางระเบิดสังหารกลุ่มผุ้นำของรัฐบาลเกาหลีใต้ที่เป็นแขกรับเชิญของรัฐบาลพม่าเมื่อปี 1983 กลับประเทศเกาหลีเหนือ ซึ่งในครั้งนั้นประธานาธิบดีเกาหลีใต้นาย ชุน ดูฮวานพร้อมคณะถูกลอบสังหารขณะที่พนักอยุ่ในนครย่างกุ้ง ยังผลให้รัฐมนตรีจำนวน 4 คนและประชาชน 21 คนเสียชีวิต่วนประะานาธิบดีชุนไม่ได้รับบาดเจ็บแต่อย่างใด เมื่องทางการพม่าได้จับตัวสายลับของเกาหลีเหนือจำนวนหนึ่งซึ่งเป็นกระทำการ ขังไว้และตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกับเกาหลีเหนือตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
            นายเบอรทิล ลินท์เนอร์ ผุ้สือข่าวชาวสวีเดนประจำกรุงเทพฯ กล่าวว่า จากการพูดคุยกันระหว่างเจ้าหน้าที่ของทั้งสองประเทศในช่วงต้นของทศวรรษที่ 1990 นั้นมีความเป้นไปได้ที่ทั้งสองฝ่ายจะแสวงหาจุดร่วมกันนหลายประการ ทั้งนี้เป็นเพราะประเทศทั้งสองต่างมีระบอบการปกครองที่คล้ายคลึงกัน มีรัฐบาลที่ไม่ให้ความสนใจต่อกฎระเบียบของโลกที่ตั้งขึ้นโดยชาติตะวันตก ประเทศทั้งสองถูกคุกคามจากดลกตะวันตกคล้ายๆ ดัน มีทรัพยากรธรรมชาติ มากแค่มีเงินตราต่างประเทศน้อย..ฯ จุดร่วมเหล่านี้ส่งผลให้ประเทศทั้งสองหันหน้าเข้าหารกันและนำไปสู่ความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นเรือยมาจนกระทั่งสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตขึ้นใหม่
              จุดร่วมที่สำคัญของการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ พม่าต้องการอาวธเพื่อทำสงครามกับชนกลุ่มน้อย ในขณะที่เกาหลีเหนือต้องการอาหารและสินค้าทางการเกษตรโดยที่พม่ามีอยุ่อย่างพร้อมเพรียง
               ความสำคัญของการแลกเปลี่ยนสินค้า คือ การที่พม่าได้รับอาวุธร้ายแรงมากจากเกาหลีเหนืออันเป็นการขัดต่อมติขององค์การสหประชาติ ซึ่งห้ามเกาหลีเหนือแพร่กระจายอาวุธที่มีอานุภาพการทำลายล้างสุง แลห้ามพม่าครอบครองอาวุธที่จะนำไปสุ่การฆ่าล้างเ้าพันธุ์ชนกลุ่มน้อย ดดยสหรัฐฯและประเทศต่างๆ  ในยุโรปต่างจับจ้องและหาทางป้องกันมิให้มีการซื้อขายอาวุธของทั้งสองประเทศตลอดระยะเวลากว่าครึ่งศตวรรษที่ผ่านมา ดังนั้น ความสัมพันธ์ของพม่ากับเกาหลีเหนือในด้านการแลกเปลี่ยนสินค้าต่อกันนั้น จึงถูกมองไปว่า เกาหลีเหนืออาจส่งขีปนาวุูธ หรือขายอาวุธนิวเคลียร์ไปให้แกพม่า...
              เหตุการณ์สำคัญๆ ที่เกิดขึ้นประเทศต่างๆ ของอุษาคเนย์นั้น ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากประวัติศาสตร์ซึ่งได้เคยเกิดขึ้นและยังคงมีปรากฎอยุ่จนถึงปัจจุบัน ส่วนเหตุการณ์อีกประเภทหนึ่งเกิดขึ้นเพราะ เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ที่ดลกกำลังเผชิญการท้าทายอยุ่ขณะนี้
             ปัญหาสืบเนื่องมากจากอดีต ปัญหาระดับประเทศ ได้แก่ ปัญหาการอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนไทย-เขมร ปัญหาภายใน ได้แก่ ปัญหาชายแดนภาคใต้ของไทย ปัญหาชนกลุ่มน้อยในพม่า ปัญหาจังหวัดอาเจะห์ในอินโดนีเซีย ปัญหามุสลิมในฟิลิปปินส์ รวมทั้งปัญหารทางเชื้อชาติในมาเลเซียและอินโดนีเซีย
            ปัญหาที่เกิดขึ้นใหม่ ได้แก่ ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและสังคมการเมือง  ปัญหาแรงงานข้ามชาติระหว่างไทย-ประเทศเพื่อนบ้าน สิงคโปร์-ประเทศเพื่อบ้า และมาเลเซีย-อินโดนีเซีย ปัฐหามลพิษกันเกิดจากหมอกควันจากเกาะสุมาตรา ปัญหาการสร้างเขื่อน 8 แห่งในแม่น้ำโขงของจีนทำให้เกิภาวะน้ำแห้งในฤดูร้อน ปัญหาทางการต้า ปัญหารการขาดดุลการต้าระหวางประเทศในเอเชีย ตะวันออกเฉียงเหนือกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปัญหาการแย่งชิงมิตรประเทศระหว่างจีน เกาหลี และญีปุ่นกับอุษาคเนย์ ปัญหารการแข่งขันแย่งชิงความเป็นใหญ่ทางเศรษฐกิจและการเมืองของจีนและญี่ปุ่น...
- "ไทย-เกาหลีใต้-อาเซียนบวกสาม"รศ.ดร.ดำรงค์ ฐานดี,ศุนย์เกาหลีศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง,2555.
         
           

วันอาทิตย์ที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Plus Three III

               อิทธิพลทางเศราฐกิจ
               จีน
                ชาวจีนสามารถพัฒนาเศรษฐกิจประเทสได้อย่างรวดเร็วในช่วงสามทศวรรษ แซงหน้าญี่ปุ่นกลายเป็นมหาอำนาจทางเศรษฐกิจอันดับสองของโลกในปี ค.ศ. 2011 ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจีนอยู่ในระดับสูง ราวร้อยละ 9.9 ในช่วงปี 2000-2010 และได้รับดุลการต้าเกินอย่างต่อเนื่องในปีเดียวกัน ในขณะทีประเทศขั้นแนวหน้า เช่น สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และยุโรปต่างพบกับปัฐหาความชะงักงันทางเศรษฐกิจ
                จากสถานการณ์ดังกลาง ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอยา่งใหญ่ต่อระบบเศรษฐกิจโลก ที่เกิดกลุ่มประเทศใหญ่ก้าวขึ้นมาเป้นขั้นมหาอำนาจทางเศรษฐฏิจขั้วหนึ่งของโลก นั้นคือ BRIC ประกอบด้วย บราซิล รัสเซีย อินเดียและจีน เป้นประเทศขนาดใหญ่ มีจำนวนประชากรมาก ค่าแรงต่ำ มีทรัพยากรธรรมชาติเหลือเฟือและมีตลาดภายในขนาดใหย่ (ปัจจุบันรวมประเทศสหภาพแอฟริกาหรือแอฟริกาใต้เข้าไปด้วย กลายเป็น BRICS ) และบางคนได้รวมประเทศอินโดนีเซีย หรือ I ด้วย
                ความสำเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจของจนเป็นผลมาจากหลายปัจจัย ทำให้สินค้าที่ผลิตได้มีราคาถูกสามารถส่งขายไปยังตลาดทั่วโลกได้ง่าย ดังนั้นเมื่อนักลงุทนทั่วดลกเร่งรุดไปลงทุนในจีนในช่วง 30 ปีที่ผ่านมา ทำให้สินค้าจีนที่มี "ราคาถูกคุณภาพต่ำ"วางขายเกลื่อนตลาดทั่วโลก โดยมีราคาต่ำกว่าสินค้าที่ส่งมาจากประเทศพัฒนาแล้วถึง 3-4 เท่า จึงไม่นาแปลกใจที่จีนได้เปรียบดุลการต้ามากมายและเป็นประเทศที่มีเงินทุนสำรองระหว่างประเทศมากที่สุดประเทศหนึ่งในโลก
               จีนได้นำเงินออกไปลงทุนยังต่าประเทศ โดยซื้อพันธบัตรของประเทศสหรัฐอเมริกาและของประเทศต่างๆ ในยุโรป แลลงทุนทางธุรกิจอุตสาหกรรม ในประเทศแถบอาเซียน แอฟริกาและละกินอเมริกา รวมทั้งยุโรปตะวันออก ทำให้จีนเป็นเจ้าหนี้รายใหญ่ที่สุดของสหรัฐฯ และก้าวขึ้นมามีอิทธิพลทางเศรษฐกิจต่อโลกในยุคปัจจุบัน
              การดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศไปเป็นจำนวนมากนั้น ทให้ประทศต่างๆ โดยเฉพาะอาเซ๊ยนได้รับผลกระทบเพราะมีการลงุทนจากต่างประเทศ ทั้งปริมาณและมูลคาการลงทุนลดลงอย่างเห็นได้ชัด อีกทั้งจีนได้ใช้ทรัพยากรและพลังงานจากแหล่งผลิตทั่วดลกในประมาณสูงก่อให้เกิดปัฐหามลภาวะ ปัญหาโลกร้อน และความสิ้นเปลื่องทรัพยากรโลก รวมทั้งส่งผลให้ราคาวัตถุดิบและน้ำมันสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว สร้างความเดือดร้อนให้กับประเทศกำลังพัฒนาทั้งหลาย
            ประการสุดท้าย จีนมีบทบาทสำคัญ ทางเศรษฐกิจต่ออาเซียน โดยเป็ฯประเทศแรกที่ลงนามเขตการต้าเสรี ทำให้การค้าและการลงทุนระหว่างกันเฟืองฟูอย่างรวดเร็ซ เงินทุนและสินึาของจีนหลังไหลเข้าไปในอาเซียนในทศวรรษที่ 2000 จีนจึงกลายเป็นประเทศคู่ค้ารายใหญ๋และหนือกว่าเศรษฐฏิจของชาติสมาชิก 10 ประเทศของอาเซียนรวมกัน อาเซียนึงยอมรับสถานภาพทางเศณาฐฏจิขของจีนว่าเหนือกว่าในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
            ญี่ปุ่น
            ภายหลังพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่สอง แก่กองทัพสัมพันธมติร ชาวญีปุ่นได้ยุติความพยายามที่จะเป็นใหญ่ในเอเชียตามอุดมการณ์ลัทธิทางการทหาร โดยะบุไว้ในรัฐะรรมนูญมาตราที่ 9 ว่า ญ๊่ป่นุจะไม่มีอกงทัพที่ใช้รุกรามประเทศอื่นใด เพียงแต่จะคงไว้ซึ่งกองกำลังป้องกันตนเอง เท่านั้น (โดยสหรัฐฯ จะทำหน้าที่ในการปกป้องทางทหารต่อประเทศญี่ปุ่นหากถูกประเทศอื่นรุกราน) ดังนั้น ความพยายามทุกภาคส่วนจึงมุ่งไปที่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่ถูกทำลายอย่างสิ้นเชิงในชวงสงครามเพื่อให้ฟื้นกลับคืนมาดังเดิม และให้ก้าวหน้าต่อไปบนเส้นทางสันติภาพ
           ญี่ปุ่นสามารถพลิกเศรฐกิจให้กลับมาอยุ่ในสภาพดีดังเช่นช่วงก่อนสงครามภายในเวลเพรียง ๅ10 ปี โดยในปี ค.ศ. 1951 ประเทศญีปุ่นได้ลงนามในสนธิสัญญาสัจติภาพที่นครซานฟรานซิสโก ซึ่งเป็ฯจุดสำคัญที่ทำให้ประเทศญี่ปุ่นกลับมาสู่สังคมนานาชาติในฐานะที่ได้รับการปฏิรูปขึ้นาใหม่ และกลับคืนสู่สถานะที่มีสิทธิในการดำเนินกิจการระหว่างประเทศซึ่งถูกสั่งห้ามในขณะที่ถูกกองทัพสัมพันธมิตรยึดครองอยู่ในด้านการฟื้นฟูทางเศรษฐกิจที่ถือเป็นภารกิจเร่งด่วนั้น ได้รับการสนับสนุนจากประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศอื่นๆ ทำให้ญี่ปุ่นสามารถนำประเทศเข้าไปมีส่วนในการดำเนินกิจกรรมทางการต้าระหว่างประเทศได้โดยเสรี ในช่วงประมาณกลางทศวรรษ 1960  ญี่ปุ่นก็พัฒนาเศราฐกิจอขงตนเองจนเข้มแข็งพอที่จะออกไปแข่งขันกับตลาดเสรีทั่วดลก จนได้รับคัดเลือกให้จัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนใน ค.ศ. 1964 อันเป็นสัญลักษณ์ของความมั่นใจใหม่ของประชาชนชาวญี่ปุ่นและกรมีบทบาทเพ่ิมขึ้นในประชาคมโลก และในปี 1968 ขนาดเศรษฐกิจของญี่ปุ่นก็ก้าวล้ำนำหน้าเยอรมัน และกลายเป็นมหาอำนาจทางเศรษฐกิจอันดับที่ 2 รองจากสหรัฐอเมริกา
         
 นอกเหนือจากความพยายามของคนในชาติที่มีความขยันขันแข็งในการทำงาน ปรับใช้เทคโนดลยีในการผลิต และเร่งรัดการส่งออกอย่งมีประสิทธิภาพแล้ว ญี่ปุ่นยังได้รับประโยชน์มากมายจากสถานการณ์ของโลก ได้แก่ สงครามเกาหลี และสงครามเวียดนาม ที่กองกำลังนานาชาติ นำโดยสหสหรัฐอเมริกาที่ได้ใช้จ่ายเงินจำนวนมหาศาลเพื่อการรบ โดยญี่ปุ่นผลิตสินค้าอุปโภคบริโภค อาวุธ เครื่องจักร ยามพาหนะ ฯลฯ ขายให้ นอกจานี้บริษัทญี่ปุ่นได้เข้าร่วมทำธุรกิจเกี่ชยวกับการทหารในยุคที่มีการสู้รบ การฟื้นฟูบูรณะประเทศเหล่านี้ภายหลังสงครามยุติลงเป็นเวลาอีกหลายทศวรรษ
           บริษัทญี่ปุ่นเร่งรัดออกไปลงุทนในเกาหลี ภายหลังที่มีการฟื้นฟูความสัมพันธ์อย่างเป็ฯทางการใน ค.ศ. 1965 และได้เข้าไปลงุทนในใต้หวัน ฮ่องกงและสิงคโปร์ ต่อมา เมื่อสงครามเวียดนามสงลลง ญี่ปุ่นได้เพิ่มการลงทุนในประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเข้าไปในจีนภายหลังที่เปิดประเทศและติดตามด้วยการเข้าไปค้าขายกับประเทศที่ยากจน เช่น ลาว เขมร และพม่าในเวลาต่อมา
            ในห้วงเวลาเดียวกัน ญี่ปุ่นได้รับมอบให้ครอบครองหมุ่เกาะโอกินาวา ซึ่งประกอบไปด้วยหมู่เกาะริวกิวและหมุ่เกะไดโต้จากการขึดครองของประเทศสหรัฐอเมริกาในค.ศ. 1972 และญี่ปุ่นได้ทำกาฟื้นฟูสัมพันธไมตรีกับประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนในปีเกียวกัน ต่อมา ได้รับเข้าเป็นสมาชิกของข้อตกลงร่วมทางด้านภาษีศุลกากรและการต้า GATT และขององค์การเพื่อความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐฏิจ OECD  และในปี1975 ก็ได้เข้าเปนสมาชิกที่เข้าร่วมประชุมในการประชุมประเทศที่มีขนาดเศราฐฏิจใหญ่ที่สุด 7 ชาติ หรือ G-7
            ความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจของญี่ปุ่นตลอดทศวรรษ 1960-1970  เรื่อยมาจนถึงจุดสูงสุดเมื่อค่าเงินเยนสุงขึ้น จนกระทั่งระดับต่ำกว่า 80 เยน/ 1 ดอลลาร์ในปี 1995 บริษัทญี่ปุ่นจึงขยายการลงทุนและรัฐบาลญี่ปุ่นได้ให้ความช่วยเหลือประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มากย่ิงขึ้นเรื่อยมา อันเป้นการสร้าง "ความมั่นคง" ให้แก่ดินแดอุษาคเนย์จนองคการสประชาชาิประกาศว่า อาเซียน 4ประเทศ (ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์)กลายเป็นเสือเศราฐกิจตัวใหม่ของเอเชียต่อจากประเทศอุตสาหกรรมใหม่ ( Nic ได้แก่ เกาหลีใต้ ได้หวัน ฮ่องกง สิงคโปร์) ญี่ปุ่นมีความภูมิใจที่รูปแบบการพัฒนา(Flying Geese Model) บรรลุผลและค้ำจุนให้ญี่ปุ่นมีความโดดเด่น และมีขนาดเศราฐฏิจเกือบเท่ากับของสหรัฐอเมริกาในช่วงนั้น
              อย่างไรก็ตาม รูปแบบกาพัฒนาและความเจริญรุ่งเรืองของญี่ปุ่นไม่สามารถคงทนและเป็นอยู่อย่างยั่งยือนเมื่อญี่ปุ่นประสบกับปัฐหาทางเศราฐกิจและฟองสบู่แตก ตั้งแต่ต้นทศวรรษ 1990 ดังที่ได้กลาวแล้ว ต่อมา ปี 1997 เกิดวิกฤตทางการเงินขึ้นในไทย อินโดนีเซีย (มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์เกิดปัญหาขึ้นเช่นกันแม้จะอยู่ในระดับไม่มาก็ตาม) และเกาหลีใต้ จนต้องขอกู้เงินฉุกเฉินและเงินฟื้นฟูเป็นจำนวนมาก  รัฐบาลประเทศสหรัฐอเมริกาปฏิเสธให้ความช่วยเหลือแบบทวิภาค โดยแนะให้ไปกู้เงินจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ IMF  ดังนั้น รัฐบาลทั้งสามจึงขอกู้เงินจำนวนมหาศาล ในขณะเดียวกันรัฐบาลจีนได้ให้ความช่วยเหลือเพื่อการฟื้นฟูด้วยเงินจำนวนหนึ่ง ส่งนประเทศญี่ปุ่นได้ทุมงลประมาณกว่า 100 พันล้านเหรียญให้แก่ประเทศที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตทางเศราฐกิจในโครงการ Miyazawa Plan เพื่อใช้ในการกระตุ้นเศราฐกิจให้ฟื้นกลับคือมาดดยเร็ว
              จากปัญหาดังกล่าว อาเซียนบวกสาม จึงมีการเสนอให้จัดตั้งความร่วมมือทางด้านการเงินการคลังระดับภูมิภาคขึ้นในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2000 เรียกว่า ความริเริ่มเชียงใหม่  ดดยให้สมาชิกออกเงินเป็นกองทุนจำนวน 1,000 พันล้านเหรียญเพื่อให้ประเทศสมาชิกกู้หากประสบกับปัญหาทางเศราฐกิจต่อไปในอนาคต
             เนื่องจากอาเซียนเป็น "ระเบียบเศรษฐกจิ" ที่ถือได้ว่า ญี่ปุ่นต้องอาศัยอุษาคเนย์ในเกือบทุกด้าน เช่น เป็นแหล่งวัตถุดิบ แรงงาน ตลาด การลงทุนโรงงานประกอบสินค้า ตลอดจนเป็นสถานที่ท่องเที่ยวราคาถุก และที่พักพิงแก่ผุ้สูงอายุที่ไปใช้ชีวิตบั้นปลายในดินแดนสุวรรณภุมิ ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยุ่บวกกับ "ความโง่เขลา" ของชาวอุษาคเนย์ที่มักเป็นฝ่ายยอมตาม...จึงเป็นปัจจัยที่ญี่ปุ่นต้องยึดภูมิภาคแห่งนี้เพื่อผลประโยชน์ของตัวเองทั้งใระยะสั้นและระยยาวมากกว่าที่จะส่งเสริมเพิ่มพลงให้อาเซียนเจริญเติบโตเทียบเคียงญี่ปุ่น ยกเว้นสิงคโปร์ที่จนจีนโพ้นทะเลครอบครองอยุ่ ญี่ผุ่นจึงทำสนธิสัญญาเขตการต้าเสรีตั้งแต่เดือนธันวาคม ปี 2020 ในฐานทีเป็นประเทศ "พันธมิตร" คู่ค้า แต่ปฏิเสธการทำสนธิสัญญาแบบเดียวกันกับประทศอื่นในกลุ่มอาเซียน รวมทั้งจีนและเกาหลีใต้ด้วย ทั้งนี้ ก็เพราะสิงคโปร์มีความเจริญรุ่งเรืองและประชากรมีรายได้ต่อหัวเที่ยบเท่ากับญีปุ่น อย่างไรก็ตาม ใปี 2006 ญี่ปุ่นได้ทำสนธิสัญญาเขตการต้าเสรีกับมาเลเซียอีกประเทศหนึ่ง เพราะมาเลเซียมักชื่นชมดการพัฒนาของญี่ปุ่น ถึงกับประกาศนโยบาย  "นโยบายมองตะวันออก" เพื่อนำรูปแบบการพัฒนาของชาวอาทิตย์อุทัยมาใช้ในการพัฒนาประเทศของตน อีกทั้ง ญีปุ่่นประสงค์ี่จะเปิดเป็นช่องทางเข้าหาอาเซียนอย่างสะดวกโดยผ่านประเทศใดประเทศหนึ่งที่นิยมชมชอบตน
            ปัจจัยภายนอกที่สั่นคลนความเป็ฯเอกของญี่ปุ่น นั่นคือ เกาหลี จีน และไ้หวันสามารรถเข้าถึงความรู้ทางเทคโนโลยีทางการผลิต และสามารถหาตลาดเพื่อขายสินค้าของตนแข่งขันกับสินค้าของย๊่ปุ่นในทุกตลาดทั่วโลก ในช่วงต้นสินค้าของประเทศเกาหลีมีคุณภาพปานกลางที่มีราคาถูกกว่าสินค้าญี่ปุ่น ซึ่งมีคุณภาพดีแต่ราคาสุงในขณะที่สินค้าจากจีนนมีราคาต่ำสุดแลคุณภาพไมค่อยดีนัก จึงแย่งตลาดระดับกลางและต่ำไปจาก ญี่ป่น ุในช่วงต่อมา ได้มีการพัฒนาคุณภาพของสินคค้าขึ้นมาเรื่อยๆ สินค้าของเกาหลีและของจีนจงค่อยๆ แทรกตัวเข้าไปยังตลาดที่เคยเป็นของญีปุ่่น ทไใ้เศราฐกิจที่พึงพากการส่งออกเป็นหลักของญี่ปุ่นได้รับผลกระทบอย่างหนัก
              จีนผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคได้ในราคาถูก แม้คุณภาพจะไม่ดีนัก และสามารถแย่งขิงตบาดล่างไปแทบหมดสิ้น เพราะขายได้ในราคาต่ำหวาสินค้าประเภทเดียวกันของญี่ปุ่นราว 1-4 เท่า โดยที่จีนมีตลาดภายในขนาดใหญ่ที่รองรับสินค้าที่ตนผลิตอยู่แล้ว จึงไม่้องพึ่งพาการส่งออกเหมือกับญี่ป่นุแลเกาหลี ดังนั้นเมื่อเกิดวิกฤตเศราฐฏจิในสหรัฐฯ ปี 2008 และในยุโรปปี 2009-2011 จึงไม่ค่อยได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงเท่ากับญี่ปุ่นและเกาหลีที่ต้องพึ่งพาตลาดหลัก 2 แห่งนี้ อีกทั้งจีนยังรองรับสินค้าจากญี่ป่นุและเกาหลีใต้ได้เป็นจำนวนมาก และกลายเป็นประเทศคุ่ค้าใหญ่ที่สุดกับญี่ป่นุและเกาหลีแทนที่สหรัฐฯ และยุโรปไปในตอนกลางทศวรรษที่ 2000 สภาพการณ์ดังกล่าวทำให้บทบาททางเศรษฐกิจของญี่ปุ่นลดตำ่ลงมาก และในที่สุดจีนก็ก้าวขึ้นเป็นผุ้นำทางเศราฐกิจของเอชีย
             เกาหลี
             แม้ว่าเกาหลีใต้จะเป็นประเทศที่เข้ามยังภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ที่หลัง แต่ด้วยความมุ่งมัี่นแลความพยายามทุ่มเททุกทาง ผลลัพธ์ที่เกิขึ้นก็เป็นที่น่าพอใจยิ่ง กล่าวคือ เกาหลีใต้เป็นรองทางด้านการค้า จากญี่ป่นุและจีนราว 2 เท่า แต่ในด้ารการลงทุนโดยตรงแล้ว เกาหลีใต้เป็รรอบเฉพาะญี่ปุ่น แต่อยุ่เหนือจีน
             นอกจากความพยายามของภาครัฐที่สนับสนุนให้ภาคะูรกิจออกไปลงทุนในอุษาคเนย์แล้วปัจจัยทางด้านวัฒนธรรมที่เรียกว่า กระแสเกาหลี ก็มีบทบาทสำคัญช่วยผลักดันให้การต้าและการลงทุนของเกาหลีได้รับความสำเร็จอย่างรวดเร็ว โดยใชเวลาเพียงหนึ่งทศวรรษเท่านั้น เกาหลีใต้ก้าวขึ้นมาเป้ฯประเทศคุ่ค้าที่สำคัญของอาเซียน เหนือกว่าออสเตรเลีย อินเดีย แคนาดา รัีศเซีย นิวซีแลนด์ และปากีสถาน ซึ่งเป็นประเทศที่มีความผุกพันกับเอชียตะวันออกเฉียงใต้มาช้านาน
           ความสัมพันธ์ทางเราฐฏิจระหว่างเกาหลีกับอาเซียนที่เด่นชัดก็คือ เกาหลีจะส่งสินค้าประเภทอุตสาหกรรมไปขาย และข้าไปลงทุนในภาคอุตสาหกรรมเป็นหลักไปประเทศอุษาคเนย์ในขณะที่รับซ้อสินค้าประเภทวัตถุดิบ เช่น น้ำมันปิโตรเลี่ยม ก๊าซธรรมชาติ กากน้ำตาล ยางพารา กุ้งแช่แข็ง มันสำปะหลัง กล้วยไม้ และลำไยอบแห้ง เข้าประเทศ ดังนั้น มาเลเซีย และอินโดนีเซียซึ่งส่งออกสินค้าประเภทพลังงาน จะได้เปรียบดุลการต้ากับเกาหลี ส่วนประเทศที่ส่งสินคัาเกษตรไปขาย จะขาดุลการต้าเพราะต้องซื้อสินค้าอุตสาหกรรมในราคาสุงกว่าเข้าประเทศ ดังเช่น ไทย ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม เป็นจ้น ประเทศกลุ่มหลังนี้จึงทดแทนการขาดดุลด้วยการส่งแรงงานไปทำงานในเมืองโสม และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของเกาหลี ส่วนการลงทุนนั้น เกาหลีจะลงทุนในประเทศต่างๆ ของกลุ่มอาเซียนในปริมาณและมูลค่ามากกว่าท่อาเซียนจะไปลงทุนในเกาหลี อย่างไรก็ตาม ปัญหาและอุปสรรคทางการต้าที่สำคัญ คือ เกาหลียังคงใช้มาตการต่างๆ ในการปกป้องตลาด แม้ว่าการเข้าเป็นสมาชิกของ WTO และการเข้าเป็นสมาชิกของ OECD จะทำให้เกาหลีต้องเปิดตลาดขึ้นเรื่อยๆ แต่ในความเป็นจริง เกาหลียังคงปกป้องตลาดภายในด้วยมาตรการภาษีและมิใช่ภาษี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การกำหนดมาตรฐานสุขอนามัยต่อสินค้าเกษตรของประเทศอื่น รวมทั้งไทยด้วย ทำให้การส่งสินค้าไปขายยังเกาหลีเต็มไปด้วยความยากลำบาก... ( ไทย-เกาหลีใต้-อาเซียนบวกสาม, โดย รศ.ดร.ดำรงค์ ฐานดี, ศูนย์เกาหลีศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง. 2555)
           
           

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...