วันพฤหัสบดีที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2560

Asian Ministerial Conference on Disaster Risk

             รัฐมนตรีที่รับผิดชอบด้านการจัดการภัยพิบัติขออาเซียนเข้าประชุมร่วมกับผุ้แทนจากสำนักงานเลขาธิการอาเซียนและผู้บริหารศูนย์ประสานงานด้านมนุษยธรรมของอาเซียน ที่ประเทศอินโดนีเซียนระหว่างวันที่ 11-13 ตุลาคม 2559 โดยตั้งเป้าพัฒนาอาเซียนให้เป็นประชาคมที่พร้อมตั้งรับกับภับพิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ
            ที่ประชุมได้หารือถึงแนวทางขยายความร่วมมือด้านการจัดการภัยพิบัติกับประเทศคู้เจรจาของอาเซยน นอกจากนี้ยังยืนยันจะยกระดับความพร้อมและการตอบสองต่อภัยพิบัติของอาเซียนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
            ที่ประชุมยังได้ลงนามในเอกสารสำคัญหลายฉบับ อาทิ แผนงานร่วมในการตอบโต้ภัยพิบัติของอาเซียน ASEAN Joint Disaster Responses Plan แนวทางการประเมินความเประบางและความเสี่ยงของอาเซียน นอกจากนี้ยังยืนยันจะยกระดับความพร้อมและการตอบสนองต่อภัยพิบัติของอาเซียนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
           ที่ประชุมยังได้ลงนามในเอกสารสำคัญหลายฉบับ อาทิ แผนงานร่วมในการตอบโต้ภัยพิบัติของอาเซียน ASEAN Risk and Vulnerability Assessmert Guidelines  เป็นต้น
            การประชุมครั้งนี้เป็นผลสืบเนื่องจากการลงนามในปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยอาเซียนร่วมใจเป็นหนึ่งเดี่ยวในการตอบโต้ภัยพิบัติ ASEAN Declaration on One ASEAN One Response ในที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 28 เมื่อเดือนกันยายน 2559 เพื่อผลักดันความร่วมมือด้านภัพิัติในระดับระหว่างภูมิภาค รัฐมนตรีอาเซียนด้านการจัดการภัยพิบัติยังรับรองแถลงการณ์ร่วในการประชุมระัระดับรัฐมนตรีแห่งเอเชียว่าด้วยการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ Asian Ministerial Conference on Disaster Risk ซึ่งจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 3-4 พฤศจิกายน 2559 ณ ประเทศอินเดีย แถลงการณ์ดังกล่วจะตอกย้ำว่าอาเซียนให้ความสนับสนุนการดำเนินงานตากรอบเซนได Sendai Framwork เพื่อลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ พ.ศ. 2558-2573...(aseanwatch/..อาเซียนมุ่งมั่นสร้างประชาคมที่พร้อมตั้งรับภัยพิบัติ)
          สาระสำคัญ กรอบการดำเนินงานเซนไดเพื่อการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ พ.ศ. 2558-2573
          จุดมุ่งหมาย เพื่อการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติและลดการสูญเสียชีวิต วิถีชีวิต และสุขภาพตลอดจนความสูญเสียต่อสินทรัพย์ทางเศราฐกิจ กายภาพ สังคม และสภาพแวดล้อม ของบุคคล ธุรกิจ ชุมชน และประเทศอย่างเป็นรูปธรรม
          เป้าหมาย เพื่อป้องกันไม่ห้เกิดความเสี่ยงใหม่และลดควาเสี่ยงที่อยุ่เดิม ด้วยมาตรการทางเศาฐกิจ โครงสร้าง กฎหมาย สุขภาพ วัฒนธรรม การศึกษา สภาพแวดล้ม เทคโนโลยี การเมือง รวมถึงมาตรการเชิงสถาบัน ที่มีการบูรณากากรและลดความเหลือมล้ำ เพื่อป้องกัน และทำให้ควาล่อแหลมและเปราะบางต่อภัยพิบัติลดน้อยลง ตลอดจนช่วยให้มีการเตรียมความพร้อมสำหรับการเผชิญเหตุและฟื้นฟูที่ดียิ่งขึ้น อันนำไปสู่ความสามารถที่จะรับมือและฟื้นคืนกลับได้ในะยะเวลาที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
          พันธกิจ
          - เข้าใจความเสี่ยงจากภัยพิบัติ หมายถึง นโยบายและมาตรการในการบริหารจัดการความเาี่ยงจากภับพิบัติจะต้องจัดทำขึ้นจากฐานความเข้าใจเรื่องความเสี่ยงจากภัยพิบัติในทุกมิติของความเสี่ยง ประกอบด้วย ความเปราะบาง ศักยภาพ ความล่อแหลมของบุคคลและสินทรัพย์ ลักษณะของภัย และสภาพแวดล้อม ทังนี้ ความรู้ต่อความเสี่ยงภัยพิบัติดังกล่าวจะมผลอย่างมากในการทำการประเมินความเสี่ยงจากภัยพิบัติดังกล่าวจะมีผลอย่างมากในการทำการประเมินความเสี่ยงจากภัยพิบัติก่อนเกิดภัยพิบัติการป้องกันและลดผลกระทบจากภัยพิบัติ และในการพัฒนาและดำเนินมาตรการเตรียมความพร้อมและเผชิญเหตุภัยพิบัติให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
     
  - เสริมสร้งศักยภาพในการบริหารและจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติ หมายถึง ศักยภาพในการบริหารและจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติในระดับชาติ ภูมภาค และโลก มีความสำคัญอย่างยิ่งยวดต่อการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังนั้น จึงจำเป็นท่จะต้องมีการกำหนดวิสัยทัศน์ แผนงาน สมรรถนะที่ต้องการ แนวทางการปฏิบัติงาน และการประสานงานทั้งภายในและระหว่างภาคส่วนต่างๆ ให้ชัดเจน ตลอดจนต้องส่งเสริมให้กลุ่มผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่วข้องเข้ามามีส่วนร่วมด้วย การเสริมสร้างศักยภาพในการบริหารและจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติเืพ่อดำเนินมาตรการป้องกัน ลดผลกระทบเตรียมความพร้อม เผชิญเหตุ ฟื้นฟู และบูณะจึงมีความจำเป็นและส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือและหุ้นสวนระหว่างกลไกและองค์กรต่างๆ ในอันท่จะขับเคลื่อนเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติและการพัฒนาที่ยั่งยืน
         - ลงทุนในด้านการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติเพื้อให้พร้อมรับมือและฟื้นคืกลับได้ในระยะเวลาที่รวดเร็วและมีประสิทะิภาพ หมายถึง การลงทุนของรัฐและเอกชน การป้องกันและลดควมเสี่ยงจกถับพิบัติโดยมาตรการเชิงโครงสร้าง และไม่ใช้เชิงโครงสร้างมีควาสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนเศราฐกจ สังคม สุขภาพ และวัฒนธรรมของบุคคล ชุมชน ประเทศและสินทรัพย์ รวมทั้งสภาพแวดล้อมให้พร้อมรับมือและพื้นคืนกลับได้โดยเร็วเื่อเกิดภัยพิบัติ ทั้งนี้ การลงทุนดังกล่วยังเป็นแรงขับเคลื่อนให้ เกิดการพัฒนานวัตกรรม การเจริญเติบโต และการสร้างงานได้ ซึ่งมาตรการดังกล่าวนับได้วามีความคุ้มค่าต่อการลงทนุ และส่งผลให้การรักาชีวิต ป้องกัน และลดความสูญเสียเกิดผลเป็นรูปธรม อักทั้งยังช่วยให้การบูรณะฟื้นฟูภายหลังเกิดภัยพิบัติมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นด้วย
          - พัฒนาศักยภาพในการเตียมความพร้อมเผชิญเหตุภัยพิบัติที่ีประสทิะิภาพ ตลอดจนการฟื้นสภาพและซ่อสร้างที่ดีกว่าเดิมในช่วงของการบูรณะฟื้นฟูภายหลังเหตุภัยพิบัติ หมายถึง ความเสี่ยงจากถัยพิบัิตที่เพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึงรวมถึงการที่ประชาชนและสิทรัพย์มีความล่อแหลมที่จะได้รับผลกระทบจากถัยพิบัติเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับบทเรียนจากถัยพิบัติท่เกิดขึ้นในอดีต เป็นัวบงชี้ถึงความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาความพร้อมในการเผชิญเหตุภัยพิบัติ รับมือต่อสถานกาณ์ภัยต่างๆ ที่อาเจเกิดขึ้น ผนวกมาตรการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติในการเตรียมความพร้อมรับมือภับพิลัติ ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวจะช่วยพัฒนาศักยภาพให้พร้อมสำหรับการเผชญเหตุ และการฟื้นฟูที่มีประสทิธิภาพสิ่งสำคัญอีกประการ คือ การพัฒนาภาวะผู้นำในกลุ่มสตรีและผุ้พิการให้มีส่วนร่วมในการผลักดันและส่งเสริมความสเมอภาคหญิงชาย และมาตการในการเปชิญเหตุ บูรณะฟื้นฟูที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้นอกจากนี้ ภัยพิบัติที่เกิดขึ้นได้แสดงให้เห็นว่า ในช่วงของการฟื้นฟูบูรณะที่มีการวางแนล่วงหน้ามาแล้วนั้นถือเป็นโอกาสสำคัญที่จะทำการฟื้นสภพและซ่อมสร้างให้ดีหว่เดิ ด้วยการบูรณาการมาตรการลดความเสี่ยงจากถัยพิบัติไว้ในมารการการพัฒนา เพื่อทำให้ประเทศและชุมชนมีความสามารถในการรับมือและฟื้นคืกลับได้โดยเร็วได้ทุกครั้งที่เกิดภัยพิบัติ
             กลุ่มเป้าหมาย ระดับชาติ, ระดับท้องถิ่น, ระดับภูมิภาค, ระดับโลก, กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประกอบด้วย( ภาคประชาสังคม อาสาสมัคร .., ภาควิชาการ วิทยาศาสตร์ งานวิจัย, ภาคธุรกิิจ สมาคมวิชาชีพและสถาบันการเงิน, สื่อมวลชน), องค์การระหว่างประเทศ
         
 ตัวชี้วัดระดับโลก การดำเนินงานของประเทศสมาชิกและภาคีเคื่อข่ายจะนำมาพิจารณาถึงความสำเร็จในภาพรวมการดำเนินงานของโลก ประกอบด้วบ 7 ตัวชี้วัด ดังนี้
            - อัตราการเสียชีวิตจากภัยพิบัติ ของโลกลดลงอย่างเป็นรูปธรรม ภายในปี พงศ. 2573 โดยค่าเฉลี่ยการเสียชีวิตจากภัยพิบัติต่ออัตราการเสียชีวิตของประชากรโลก 1 แสนคน ระหว่างปี พ.ศ. 2563-2573 จะต้องน้อยกว่าค่าเฉลี่ยระหว่งปี 2548-2558
            - จำนวนผู้ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติของโลกลดลงอย่างเป็นรูปธรรมภายในปี พ.ศ. 2573 โดยค่าเฉลี่ยของผู้ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติต่อประชากรโลก 1 แสนคน ระหว่างปี พ.ศ. 2563-2573 จะต้องน้อยกว่าาค่าเฉลี่ยระหว่างปี 2548-2558
            - ความสูญเสียทางเศราฐกิจที่เกิดจาภัยพิบัติโดยตรงลดลงเมื่อเที่ยบกับผลิตภัณฑ์รวมประชาชาติของโลก ภายใปี พ.ศ. 2573
             - สาธารณูปดภคที่สำคัญ และยริการสาธารณะพื้นฐาน ได้แก่สถานพยาบาลและสถานศึกษาได้รับความเสียหายจากภัยพิบัติลดลงอย่างเป็นรูปธรรม จากการพัฒนาวมพร้อมในการับมือและฟื้นกลับได้อย่างรวดเร็วเมื่อเกิดภัยพิบัติ ภายในปี พ.ศ. 2573
             - จำนวนประเทศที่มียุทธศาสตร์ลดความเสี่ยงภัยพิบัติในระดบชาติและระดับ้องถ่ินเพ่ิมขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ภายในปี พ.ศ. 2563
             - มีการยกระดับการให้คววาม่วยเหลือระหว่างประเทศแก่ประเทศกำลังพัฒนา ด้วยการให้การสนับสนุการดำนเนิการตากรอบนี้ในระดับชาติที่เพีงพอและยั่งยื ภายในปี พ.ศ. 2573
              - ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลการแจ้งเตือนภัยล่วงหน้าและข้อมูลความเสี่ยงภัยพิบัติเพ่ิมมากขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ภายในปี พ.ศ. 2573...( pdf.Sendai Framwork for Disaster Risk Rduction 2015-2030)

วันพุธที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

National Institute for Emergency Medicine

               สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ(สพฉ.) เป็นสถาบันที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉินปี พ.ศ. 2551 เพื่อเป็นองค์กรรับผิดชอบการบริหารจัดการ การประสานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ และเอกชน รวมถึงการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถ่ินให้เข้ามามีบทบาในการบริหารจัดการการจัดบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ทั้งนี้เหตุปลดังกล่วได้ปรากฎในส่วนของหมายเหตุ : เหตุผลประกอบในการประกาศใช้พระราชบัญญัติ

               ใน พ.ศ. 2536 กระทรวงสาธารณะสุขได้รับความช่วยเหลือทางเทคนิคจาก องค์การของญี่ปุ่น JICA ในการจัดตั้งศูนย์อุบัติเหตุ ณ โรงพยาบาลขอนแก่น ซึ่งครอบคลุการให้บริการช่วยเหลือก่อนถึงโรงพยาบาล ด้วย ต่อมา พ.ศ. 2537 โรงพยาบาลวชิรพยาบาลได้เปิดให้บริการรถพยาบาลฉุกเฉินโดยใช้ชื่อว่า SMART ตามแผนป้องกันอุบัติภัยของกรุงเทพมหานคร และ พ.ศ. 2538 กระทรวงสาธารณสุขได้เปิดตัวต้นแบบระบบรักษาพยาบาลก่อนถึงโรงพยาบาล ณ โรงพยาลาลราชวิถีในชื่อ "ศูนย์กู้ชีพนเรนทร์" โดยภายหลัง โรงพยาบาลนพรัตนราชธานีและโรงพยาบาลเลิดสิน ได้เข้าร่วมเครือข่ายให้บริการด้วยต่อมากระทรวงสาะารณสุขได้จัดตั้งสำนึกงานระบบบริการการแพทย์ฉุุกเฉิน ขึ้นเป็นหน่วยงานในสำนักงาปลัดกระทรวงสาธาณสุขและดำเนินงานการแพทย์ฉุกเฉินมาอย่างต่อเนื่อง หนวยงาน/องค์กรทั้งหลายท่กล่าวมานี้จึงเป็นตัวกำเนิดที่มาของ "สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ" ทำหน้าที่พัฒนางานการแพทย์ฉุกเฉินมาจนมีความก้าวหน้า และผลงานเป็นที่ประจักษ์ในวงกว้าง
              การขยายบทบาทมาเป็นสถบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ซึ่งเป็นองค์กรของรัฐที่มฐานะเป็นนิติบุคคลในกำกับของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ก็เพื่อให้มีรูปแบบการบริหารจัดการที่มีความคล่องตัวและสามารถบริหารงานตามนโยบายการบริหารงานของคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉินได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้การแพทย์ฉุกเฉินของประเทศไทย สามารถก้าวหระโดไป ส่งผลให้ผู้ป่วยฉึกเฉินได้รบการุ้มรองสิทธิในการเข้าถึงระบบการแพทย์แุกเฉินอย่งทั่วถึง เท่าเที่ยม มีคุณภาพมาตรฐาน ตามเจตนารมณ์จองพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 ได้อย่างแท้จริง..www.niems.go.th.."สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ(สพฉ.), ประวัติองค์กร)
               ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีสถิติผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตมากที่สุดในโลก จากเหตุภัยพิบัติธรรมชาติ สึนามิภาคใต้ แผ่นดินไหวรุนแรงภาคเหนือ เหตุภัยหนาว น้ำท่วม และภัยพิบัติที่เกิดจาการกระทำของมนุษย์ โดยเฉพาะเหตุการณ์ ตึกถล่ม สารเคมีรั่วไหลและ อุบัติเหตุหมู่บนท้องถนน เช่น รถตกเขา รถตกเหว รถพลิกคว่ำ รถชนกัน ไฟไหม้รถ รถแก๊สระเบิด ฯลฯ อุบัติเหตุทางน้ำ เรื่อล่ม แพแตก โป๊ะลม ไฟไหม้เรือ เรือชนตอม่อ...
               สาเหตุหนึ่งที่ทำให้มีผู้เสียชีวิตเพราะการข่วยเหลือของหน่วยงานหลัก รวมถึงกู้ชีพ กู้ภัย เข้าไปในที่เกิดเหตุล่าช้า การช่วยเหลือเป็นไปด้วยความยากลำบาก ลำเลียงผู้บาดเจ็บออกไ่ทัน ทำงานไม่เป็นระบบ ทำให้เกิดเหตุการณ์ซ้ำซ้อนในจุดเกิดเหตุขึ้นอีก นำไปสู่การสูญเสียชีวิตของผู้ประสบภับและผู้เข้าไปช่วยเหลือในที่สุด
               สพฉ. ได้รับมอบหมายจาก รัฐมนตรีสาธารณสุข 10 ประเทศอาเซียน ให้เป็น ศูนย์กลางการเรียนรู้เพิ่มศักยภาพ ช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ หลังปรากฎ ตัวเลขผู้เสียชีวิตในไทย หลังเกิดเหตุ มากถึงร้อยละ 40 ด้วยเหตุผลดังกล่าว สพฉ.และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย จัดประชุมวิชาการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน สถานการณ์ภัยพิบัตินานาชาติในไทย เป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 22-25 มิถุนายน 2558
              การจัดประชุมวิชาการดังกล่าวมีกิจกรรมน่าสนใจ คือ การแข่งขันแรลลี่ช่วยเหลือผุ้ป่วยฉุกเฉินจากเหตุสาธารณภัยในอาเซียน ภายใต้คอนเซ็ปต์ โดยรูปแบบของกิจกรรมจะมีการจำลองเหตุการณ์เสมือนจริง 4 ฐาน คือ สถานการณ์น้ำท่วมรุนแรง ในโรงพยาบาล
ต้องลำเลียงผุ้ป่วยออกามาให้ทันท่วงท่ หนึ่งในนั้นมีผุ้้ป่วยท้องแก่ใกล้คลอด รวมถึงฐานปฏิบัติช่วยเหลือเหตุ สารเคมีรั่วไหลในโรงงานอุตสาหกรรมขนดใหญ่ ... บรรยากาศเป็นไปด้วยความสามัคคี พร้อมเพรียงเป็นหนึ่งเดี่ย ทุกทีมต่างทำงานแข่งกับเวลา โดยไม่รู้มาก่อนว่า จะต้องเผชิญเหตุการณ์เฉพาะหน้าอย่างไรบ้างโดยสรุปผลลัพธ์ที่ได้ตรงตามเป้าหมายการจัดการคือ การทำงานร่วมกันนันเอง...
            การฝึกประชุมเชิงวิชาการการแพทย์ฉุกเฉินอาเซยนละการซ้อมรับสถานการณ์จริงครั้งนี้ มีคณะทำงานแพทย์ฉุกเฉินญี่ปุ่นร่วมสังเกตุการร์ด้วยในฐานะผู้ฝึกสอนพร้อมประเมินคะแนนมาตรฐานช่วยเหลือผุ้ประสบภัยพิบัติของไทยว่า อยู่ที่ระดับ 2-3 ใน 5 ระดับ เพราะขาดประสบการณฺ
            ทัตสุโอะ โอโนะ เลขาธิการหน่วยแพทย์รอบรับสาธารณภัย กระทรวงสุขภาพ แรงงานและสัสดิการประเทศญี่ปุ่น ให้เหตุผลว่า การแพทย์ฉุกเฉินไทยยังอ่อนซ้อม ต้องฝึกบ่อยๆ ให้เกิดความชำนาญ แม้จะยังไม่เกิดเหตุก็ตาม เมื่อเกิดเกตุจริงจะสามารถทำงานได้เลย หลายคนยังขาดประสบการณ์ แต่ยังไมาสายเกินไป  ถ้าจะเริ่มต้นในตอนนี้เพราะไทยน่าเป็นห่วย เรื่องภัยพิบัติธรรมชาติที่ไม่คาดคิด เช่น เหตุสึนามิในอดีต เหตุน้ำท่วมครั้งใหญ่ และเหตุแผ่นดินไหว...www.komchadluek.net/..ยกระดับการแพทย์ฉุกเฉินไทย สู่ศูนย์กลางช่วยภัยพิบัติอาเซียน)

วันอังคารที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

AHA Center

              ASEAN coordinating  Centre for Humanittarian ศูนย์ประสานงานเพื่อการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมเกี่ยวกับการจัดการภัยพิบัติ AHA Center เป็นองค์กรระหว่างรัฐบาลที่มีเป้าหมายเพื่อำนวนความสะดวกในการประสานงานระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนกับสหประชาชาติแลองค์การระหว่างประเทศในการจัดการภัยพิบัติและตอบสนองฉุกเฉินในภูมิภาคอาเซียน
              ศูนย์ประสานงานอาเซียนเพื่อการช่วบเหลือด้านมนุษยธรรมเกี่ยวกับการจัดการภัยพิบัติ เป็ฯองค์กรระหว่างรัฐบาลที่มีเป้าหมายเพื่อำนวยความสะดวกในการประสานงานนระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนกับสหประชาชาติแบะองค์การระหว่างประเทศในการจัดการภัยพิบัติและการตอบสนองฉุกเฉินในภูมิภาคอาเซียน ศูนย์ฯ ก่อตั้งขึ้นโดยประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ เมื่อวันที่ 17 พศจิกายน พ.ศ. 2554 โดยผ่านการลงนามในข้อตกลงจัดตั้งศูนย์ประสานงานอาเซียนเพื่อช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมในการจัดการในบาหลี อินโดนีเซีย  ข้อตกลงดังกล่าวได้ลงนามดดยรัฐมนตรีต่างประทเศอาเซียนซึ่งได้รับการเห็นจากประมุขแห่งรัฐอาเซียน  ศูนย์อาเซียนถูกควบคุมโดยสมาชิกขงอคณะกรรมาธิการอาเซียนว่าด้วยการจัดการภัยพิบัติ ACDM ประกอบด้วยประมุขแห่งสำนักงานบริหารจัดการภัยพิบัติแห่งชาติ ซึ่งเชื่อมโยงกับประเทศสมาชิกอาเซียน เป็นเาภาพโดยรัฐบาลอินโดนีเซีย  AHA Centerให้บริการแก่ประเทศสามชิกจากสำนักงานในกรุงจาการ์ต้า
             เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งอยู่ีในภูมิภาคที่มีภัยพิบัติมากทีสุดแห่งปนึ่งของโลกและภัยธรรมชาติเกือบทุกประเภทรวมทั้งศึนามิ แผ่นดินหว น้ำท่วม พายุไต้ฝุ่น พายุไซโคล ภัยแล้ง แผ่นดินถล่ม และภูเขาไฟระเบิด ภัยพิบัติที่สำคัญที่อาเซียนประสบคือ สึนามิในมหาสมุทรอินเดียว และพายุไซโคลนนากิส
             นับตั้งแต่เร่ิมจัดตั้งอาเซียนประเทศสมาชิกได้หารือเกี่ยวกับความร่วมมือในการจัดการภัยพิบัติ และตัดสินใจจัดตังคณะกรรมการอาเซียนด้านการจัดการภัยพิบัติ ACDM และ ในปี 2548 รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนได้ลงนามในข้อตกลงการจัดการภัยพิบัติและการตอบสนองฉุกเฉิน AADMER ในเวยงจันทน์สปป.ลาว มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้กลไกที่มีประสทิะภาพในการลดการสูญเสยจากภัยพิบัติในชีวิตและทรัพย์สินทางเศราฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมของประเทศสมาชิกอาเซียนอย่างมีประสิทธิภาพและเพื่อร่วมกันตอบสนองต่อสถานการณ์ฉุกเฉินด้วยการร่วมมือกันในระดับประเทศและความร่วมมือในระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น
            AADMER ได้มอบหมายจัดตั้งศูนย์ประสานงานอาเซียนเพื่อให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมเกี่ยวกับการจัดการภัยำิบลัติ เพื่อเป็นกลไกในการดำเนินงาน ศูนย์อาเซียนได้รบการจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 โดยการลงนามในข้อตกลงจัดตั้งศูนย์อาเซียนโดยรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนซึ่งได้รับการเห็นจากประมุขอาเซียนในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 19 ที่บาหลี ประเทศอินโดนีเซีย..(ahacenter.org/history/..ประวัติศาสตร์/ศูนย์ AHA Center)
            อาเซียนตื่นตัวรับภัยพิบัติ ร่วมพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ตั้งศูนย์ AHA Center  ประสานความช่วยเหลือ เชื่อมข้อมูลระหว่างอาเซียน ขณะที่ไทยเตียมทีมแพทย์เคลื่อที่เร็วพร้อมรับมือ ด้านพม่าเล็งพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ชูไทยเป็นต้นแบบที่ดี ด้านผุ้เชี่ยวชาญจากญี่ป่นุย้ำต้องเน้นพัฒนาศักยภาบุคลากร นำระบบมาใช้ให้เหมาะกับสภาวะประเทศ
         
ที่สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ได้มีการจัดการประชุมแลกเปลี่ยนระหว่าง สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่ง (สพฉ.) และทีม Japan International Cooperation Agency (JICA) ซึ่งประกอบไปด้วยทีมแพทย์ผุ้เชียวชาญจากประเทศญปุ่นและประเทศพม่าที่เข้ารวมแลกเปลี่ยนการทำงานกันในครั้งนี้ด้วย เพื่อร่วมกันพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินในไทย รวมทั้งการแพทย์ฉุกเฉินในอาเซีน ดดยเฉพาะประเด็นเรื่องการเตีรยมรับมือกับภับพิบัติที่จะเกิดข้น
            นพ. ประจักษวิช เล็นาค รองเลขาธิการถาบันการแพทย์ฉุกเฉิืนแห่งชาติ (สพฉ.) กบ่าวว่า ในปัจจุบันภัยพิบัติเป็นสิ่งที่ทุกประเทศตระหนัก และในระดับอาเซียนก็เชนกัน จึงีการ่่วงมกันพัฒนาและประยุกต์ใช้ความร่วมมือจากข้อตกลงอาเซียน เพื่อเตียมพร้อมรบมือภัยพิบัติไรือที่เรียกว่า AADMER โดยจัดตั้งหน่วยงานกลาง คือ AHA Center  หรือ ศูนย์ประสานงานสำหรับการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมการจัดการภัยพิบัติ ตั้งอยู่ที่สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ดดยมีวัตพุประสงค์เพื้ออำนวยความสะดวกในการประสานงาน เพื่อรวบรวมข้อมูล่ข่าวสาร ติดตามสถานกาณณ์ภัยพิบัติต่างๆ และประสานความช่วยเหลือระหว่งกันของประเทศอาเวียน สำหรับประเทศไทยเครียมความพร้อมโดยพัฒนาทีมแพทย์ฉุกเฉินเคลื่อนที่เร็วในการรับมือภัยพิบัติ อบรมเพ่ิมทักษะควมรู้ จัดหาอุปกรณ์ที่จำเป้น เพื่อการช่วยเหลอตัวเอง และพร้อมให้ความช่วยเหลือเมื่อมีการ้องของด้วย
         
รองเลขาธิการสพฉ. กล่าวต่อถึงการเตียมรับมือภับยพิบัติในประเทศไทยว่า ปัจจุบันประเทศไทยตระหนักและเตรียมพร้อมมากขึ้น ดดยมีการพัฒนาทีมผุ้ปฏิบัติการให้มีความพร้อม และได้พัฒนาทีมผู้ปฏิบัติการแุกเฉินเคลื่อนที่เร็วขึ้น ซึ่งได้นำจุดดี จุดเด่น ของทีมลักษระเดียวกันของประเทศต่างๆ มาปรับใช้ ทั้งในเรื่องความคล่องตัวในการช่วยเหลือ จำนวนผุ้เชี่ยวชาญในทีม เป็นนต้น นอกจากนี้ สพฉ. ยังเล็งเห็นว่าระบบบัญชาการในภาวะภัยพิบัติหรือ ICS จะทำให้การทำงาน การสั่งการ การประสานระหว่างกันดียิ่งขึ้น รวมทั้งยังจัดให้มีซ้อมการเผชิญเหตุภัยพิบัติอย่างสมำ่เสมอเพื่อเป็นการเตยมพร้อมให้ผุ้ปฏิบัติและเพื่อให้เกิดความชำนาญการหากต้องเผชิญกับสถานการณ์ภัยพิบัติจริง
            ขณะที่ผุ้เชียวชาญระบบการแพทย์ฉุกเฉินจากประเทศพม่า Dr. Toe Thiri แพทย์จากโรงพยาบาลย่างกุ้ง กล่าวว่าถึงแม้ที่พม่าจะมีการพัฒนาระบบขชองการักษาพยาบาลให้ดีขึ้นตามลำดับแล้ว แต่ทุกๆ
โรงพยาบาลก็จะมีข้อจำกัด คือมีจำนวนของบุคลากรที่มีควาเมเชี่ยวชาญในจำนวนที่จำกัด โดยโรงพยาบาลหนึ่งแห่งจะมีรถที่คอยรับส่งผุ้ป่วยเพียงแค่หนึ่งคัน ซึ่งสิ่งที่เราขาดเป็นอย่างมากคือการฝึกอบรมบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญในเรื่องของการช่วยเหลือชีวิตผู้คนในสถานกาณ์ฉุกเฉิน ทั้งนี้ก่อนที่เราจะมาดูงานที่ประเทศไทยเราได้ไปดูงานที่ประเทศญ่ีปุ่นมาแล้ว ซึ่งระบบการแพทย์ฉุกเฉินประเทญีปุ่่นนั้นจตะมีความแตกต่างจากประเทศไทยอยู่มาพอสมควร แต่สำหรับพม่าระบบการแพทย์ฉุกเฉินในประเทศไทย่าจะเป็นต้นแบบที่ดี เพราะมีปัจจับยและสภาวะแวดล้อมหลายด้านที่ใกล้เคียงกัน นอกจากนี้ สิ่งที่ประทับใจกับการทำงานของสพฉ. และระบบการแพทย์ฉุกเฉินไทยคือความมุ่งมั่นใน การทำงานเพื่อที่จะช่วยเหลือประชาชนที่ประสบเหตุภัยพิบัติ โดยเริ่มจากการจัดตั้งหน่วยงเล็กๆ ลงไป ในพื้นที่ และหน่วยเล็กๆ เหล่านั้นสามารถปรับเปลี่ยนการทำงานให้ขยายใหญ่ขึ้นและประสานการทำงานกับหลายฝ่ายเพื่อช่วยเหลือประชาชนในประเทศตนเองได้ นอกจากนี้ การที่องคกรที่
ทำงานด้านการแพทย์ฉุกเฉินนั้นแยกออกมาเป็นองค์กรอิสระและทำงานโดยไม่ต้องอยู่ภายใต้ระบบมาก ทำงานด้วยความเป็นอิสระ ก็จะยิ่งทำให้การช่วยเหลือคนเป็นไปอย่างคล่องตัว ซึ่งต่างกับพม่าก่อนที่จะทำการช่ยเหลือผุ้คนได้เราต้องปรึกษากันกับหลายหน่วยงาน ซึ่งประเด็นนี้เราจะนำไปปับปรุงและนำเสนอให้เกิดการพัฒนาในประเทศของเราต่อไป           
         ด้าน Mr. Makato Yamasahita Director General, JICA Headquater ผุ้เชี่ยวชาญจากประเศญี่ปุ่นกล่าวแนะนำถึงการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินในประเทศไทยและอาเซียนว่าสิ่งสำคัญของการพัฒนาคือต้องพัฒนาคุณภาพของบุคลากรให้มีศักยภาพมาก ซึ่งเมื่อพร้อมมากก็จะยิ่งช่วยชีวิตผุ้ป่วยได้มาก อย่างไรก็ตามในการพัฒนาเรื่องการแพทย์ฉุกเฉินเราไม่ควรจะเปรียบเทียบว่าระบบการแพทย์ฉุกเฉินประเทศใดพัฒนากว่ากัน เพราะสิ่งสำคัญที่สุดคือการปรับระบบให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมและสภาวะในประเทศนั้นๆ เพื่อการพัฒนาที่มีประสิทธิภาพ..(thaiemsinfo.com/..อาเซียนตื่นตัวรับภับพิบัติ ร่วมพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน)
               
         
             

วันจันทร์ที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Disaster

            ภัยพิบัติ ตามคำจำกัดความของ Webster's New Encyclopedic Dictionnary, 1994 หมายถึงภัยำิบัติที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันยากที่จะคดกาณณืได้ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากสภาพดั้งเดิม ทำความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน ขณะที่นิยามขอ Center for Research on the Epidemiology of Disasters ซึ่งเป็นหน่วยงานที่จัดทำฐานข้อมูบเืองภัยพิบัติให้คึำนิยาม ว่า หมายถึง สถานการณ์หรือเกตุกาณณ์ที่ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างใหญ่หลวงเป็นความสูญเสีย และความทุกข์ยากของมนุษย์ เกิดโดยไม่คาดคิด หรือเกิดขึ้นอย่างกะทันหัน เกิดความสามารถขงอท้องถ่ินที่จะแก้ไช ต่องระดมความช่วยเหลือภายนอกในระดัาติหรือนานาชาติ ซึ่งในพ.ศ. 2550 CRED กับหน่วยงสรที่เกี่ยวข้อง ได้ร่วมกันจัดทำคำจำกัดความที่เป็นมารตฐานซึงเบื้องต้นมีการแบ่งภัยพิบชัรออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ภัยพิับัิตทางะรรมชาติ และภ-ัยพิบัติทางเทคโนโลยี ซึ่งภัยพิบัติแต่ละประเทเภทยังมีการแบ่งบ่อยลงไปเป็นประเภทต่างๆ 
          - ภัยพิบัติทางธรรมชาติ แบ่งเป็น Biological disaster เช่น โรคระบาด(แมลง,ไวรัส,แบคที่เรียฯลฯ),  Geophysical disaster เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินเลื่อน, Climatogical disater เช่น ภัยแล้ง ไฟป่า อุึณหภูมิสูง-ต่ำผิดปกติ (คลื่นความร้อน, หิมะถล่ม), Hydrological disaster เช่น น้ำท่วม และ Meteorological disaster เช่น พายุชนิดต่างๆ โดยบางครั้งมีการรวมภัยพิบัติ เข้าด้วยกันและเรียกว่า Hydro-meteorological disaster
           3 ภัยพิบัติทางเทคโนโลยี เป็นภัยที่เกิดจาเทคโนโลนี เช่น อุบัติเหตุในอุตสาหกรรม (แก๊ซร่วม ระเบิดฯลฯ) การขนส่ง (อุบัติเหตุทางอากาศ ทางถนน ฯลฯ) อื่นๆ เช่น ตึกถล่ม ไฟไหม้
           ขณะที่ประเทศไทยให้ความหมายของ ภัยพิบัติทางธรราชาติ ว่าหมายถึง ภัยอนตรายต่าง ที่เกิดขึ้นตามะรรมชาต ิลแมีลผปลระทบต่อชีวิต ความเป็นอยู่ของมนุษย์ โดยแบ่งประเภทตามลักษณะการเกิดออกเป็น วาตภัย อุทกภัย แผ่นดินไหว พายุฝนฟ้าคะนอง ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินถลฃ่น อัคคีภัย ภัยแล้ง และไฟป่า... 
            ความร่วมมือด้านการเตือนภัยและการจัดการต้านภัยพิบัติ ความเสียหายที่เกิดจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ เมื่อเกิดขึ้นแล้วล้วนเป็นสิ่งที่ทุกประเทศต้องการหาทางป้องกันและลดความสูญเสียให้มากที่สุด องค์การสหประชาชมติได้ประกาศให้วันพุธที่สองของเดือนตะลาคมชของทุกปีเป็นวันรณรงค์ลดภัยพิบัติสากล จากที่ประชุมใหญ่ของสหประชาชาติในปี พ.ศ. 2532 เพื่อให้เป็นการเตื่อนและเฝ้าระวังภัยพิบัติประจำปี หลังจากทีการกำหนดให้พ.ศ. 2533-2542 เป็นทศวรรษสากลแห่งการลดภัยพิบัติการประชุมสหประชาชาติเมื่อปี พ.ศ. 2544 ยังให้คงวันรณรงค์ลดภัยพิบัติสากลต่อไปเพื่อเป็นเครื่องมือในการกระตุ้นให้ทั่วโลกเกิดความตระหนักในการร่วมมือกันป้องกันและละความเสียหายจากภัยพิบัติ โดยกำหนดประเด็นในการรณรงค์ทุกๆ 2 ปี  โดยประเด็นประจำ พ.ศ. 2549-2550 คือการลดภัยพิบัติเร่ิมจากโรงเรียน และประเด็นรณงค์ประจำปี 2551-2552 คือ โรงพยาบาลปลอดภัยทางภัยพิบัติ
           ยังมีการตั้งหน่วยงานต่างๆ และมีความรวมมือระหวาประเทศเพื่อร่วมกันหาทางป้องกันและแก้ไขปัญหาจากภัยพิบัติ หน่วยงานและโครงการของสหประชาชาติที่เกี่ยวข้องกับถภัยพิบัติ คือ โครงการยุทธศาสตร์นานาชาติเพื่อการลดภัยพิบัติแก่งสหประชาชาิ ทำหน้าที่ส่งเสริม ประสานงานระหว่างประเทศ และสนอแนะแนวทางในการลดภัยพิบัติที่มีประสิทธิภาพภายใต้แนวทางสหประชาชาติ รวมทั้งการดำเนินการตามกรอบ Hyogo Framework For Action (ค.ศ. 2005-2015) หน่วยงานื่อนที่เกี่ยวข้องกับการให้ควมช่วยเหลือผุ้ประสบภับคือ UN (OCHA), World Program,UNICEF,UNHCR
              ในภูมิภาคเอเชีย ได้มีการจัดตังองค์กรหน่วยงานต่างๆ เพื่อร่วมมือกันระหว่างประเทศต่างๆ ในภูมิภาค และที่อื่นๆ เช่น 
               - ศูนย์ลดภัยพิบัติแก่งเอชียน ตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2541 ประกอบด้วยสมาชิกจาก 27 ประเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เป็นศูนย์กลางการส่งเสริมความร่วมมือระหวา่งประเทศในการลบดภัยพิบัติ 2. สงสเริมการแลกเปลี่ยนความรู้ และผุ้เชี่ยวชาญด้านการลดภัยพิบัติ 3. รวบรวม บริการข้อมูลด้านภัยพิบัติ 4. ศึกษาวิจัย ด้านการลดภัยพิบัติ ศูนย์นี้มีที่ตั้งสำนักงานอยู่ที่เมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น
                - ศูนย์เครียมความพร้อมป้องกันภัยพิบัติแห่งเอชีย จัดตั้งขึ้นดดยคำแนะนำของ UN เมื่อพ.ศ. 2529 ปัจจุบันมีคณะกรรมการอำนยการ 21 คน จาก 15 ประเทศ มีวัตถุปรสงค์เพื่อให้คำปรึกษานการเตือนภัย และบรรเท่าภัยพิบัติในภูมิภาคสำนักงานตั้งอยุ่ที่สถาบัน Asian Institute of Techonogy กรุงเทพฯ ประเทศไทย
               
- คณะกรรมการพายุใต้ฝุ่น ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2511 เพื่อส่งเสริมและร่วมมือระหวางประเทศสมาชิก 14 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันความเสียหายที่เกิดจากพายุใต้ฝุ่น ำนักงานตั้งอยุ่ที่มาเก๊า ประเทศจีน
                - คณะกรรมการอาเซียนด้านการจัดการภัยพิบัติ ตั้งขึ้นเมพื่อ พ.ศ. 2511 
                การป้องกันภัยพิบัติ
                แม้เหตุการณ์ภัยพิบัติหลายประเภทจะยากต่อการป้องกัน และไม่สามารถคาดเดาเวลาที่จะเกิดขึ้นได้อย่างแน่นอน เมื่อเกิดความสูญเสียขึ้นจจึงส่งผลกระทบต่อชีวิต ทรัพย์สินเป็นวงกว้าง แต่การเตือนภัยพอย่างเป็นระบบ มีการให้ความรู้แก่ประชาชนและการฝึกซ้อมเพื่อเตียมรับภัยพิบัติเวลาเกิดเหตุย่อมช่วยลดความสูญเสียได้มาก รวมทั้งการวางมาตรการให้ความช่วยเหลืออย่างทันท่วงทมี่ก็สามารถขช่วยบรรรเทาความเสนียหาย และฟื้นฟูผุ้ประสบภัยให้กลับคือสู่สภาพปกติได้โดยเร็ว
                การให้ความรุ้ปละการเตียมรับมือภัยพิบัติ ประเทศญี่ป่นุเ้กิดแผ่นดินไหวมากที่สุดในโลก รัฐบาลให้ความสำคัญกับการให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับแผ่นดินไหวและการเอาตัวรอดเมื่อเิดเหตุ โดยมีการสอนจั้งแต่เด็ก มีการสอบในชั้นเรียนทั้งภาคทฤษฎีและภาพปฏิบัติ ดดยเรียนรู้เกี่ยวกับสาเหตุการเกิดแผ่นดินไหว เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายหลังแผ่นดินไหว เช่น ดินถล่ม คลื่นยักษ์ ฯลฯ และวิธีการเอาตัวรอดเมื่อเกิดแผ่นดินไหวโดยีการฝึกซ้อมอย่างจริงัง ญี่ป่นุมีศูนบ์แผ่นดินไหวที่ให้ความรู้เรื่องปผ่นดินไหว รวมทั้งคนต่างชาติที่เข้าไปเรียนหรือทำงานในประเทศี่ป่นุ จะได้รับข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการเอาตัวรอดเมื่อเกิดแผ่นดินไหว ผุ้ที่เป้นเรียนและนักศึกษายังต้องเข้าเรียนและรับการฝึกทักษะการเอาตัวรอดที่ศูนย์แผ่นดินไหวของญี่ป่นุด้วย
               การเรียนรู้จากความรู้พื้นล้าน มีการาบรวมบทเรียนจากความรุ้ทีีมีการสืบทอดจากคนรุ่นก่อนๆ เช่น ในประเทศอินเดียมีการใช้วัสดุในทองถ่ิ แฃละสร้างย้านเป็ฯรูปทรงกลม ซึ่งทำให้ลดแรงกระทบจากลมพายุ การปลูกไม่ไผ่ ญ้าแฝก เพื่อลดการพังทลายของดินเป็นความรู้ที่ชาวบ้านหลายพื้นที่ใช้กันอยู่การสร้างแนวปะทะเคลื่นนทะเลเพื่อลอแรงปะทะของคลื่น เป็นความรู้ที่สืบทอดกันมาแต่สมัยโบราณของญี่ปุ่น การสังเกตการเปลี่ยนแปลงระดับน้ำทะเลโดยผ่านเรืองเล่าสืบทอดกันมาของชาวมอแกนทางภาคใต้ของไทยเป็นเทคนิคที่ทำให้สามารถช่วยชวิตชาวมอแกนในหมู่เกาะสุรินทร์และนักท่องเที่ยวจำนวนมากจากเหตุการณ์สึนามิ
                แม้ปัจจุบัน วิทยาการสมัยใหม่สามารถช่วยให้มนุษย์เรียนรุ้ภัยพิบัติได้มากขึ้น แต่ยังเกินความสามารถของมนุษย์ในการเอเชนะภัยพิบัติเหล่านั้น ผลกระทบที่เกิดขึ้นนอกจากการสูญเสียชีิวติทรัพย์สินภัยพิบัติทางะรรมชาติทำให้คนจำนวนมากต้องอยพจากถ่ินที่อยู่ เพราะสูญเสียที่อยู่อาเศัยสูญเสียที่ดินประกอบอาชีพ ทำให้วิถีชิวิตเปลี่ยนแปลงไป การป้องกันผลกระทบที่จะเกิดขึ้นถัยพิบัติที่คาดเาดเวลาที่จะเกิดขึ้นไม่ได้ การเตรียมพร้อมในกรเผชิญกับภัยพิบัติ ตั้งแต่การมีระบบเตือนภัยอย่างเป้นทากงารและไม่เป็นทางการ ให้ข้อมูลให้ความรู้แก่ประชาชนทุกระับ ทังจากความรู้สมัยใหม่หรือความรู้จากพื้นบ้าน ดดยเฉพาะในการใส่ในบทเรียนการศึกษา รวมทังการฝึกว้อมให้สามารถปฏิบัติตัวได้เวลาเกิดเหตุจริง ย่อมเป็นประโยชน์ในการลดความสูญเสียได้อย่างมากเช่นเดียวกับการให้ความสำคัญกับมาตรการให้ความช่วยเหลืออย่างทันท่วงที ล้วนเป็นสิ่งจำเป็นที่จะช่วยลดความสูญเสีย และบรรเทาความทุกข์จากผู้ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติทั้งหลายได้มาก ดังบทเรียนที่เรียนรุ้ได้จากเหตุการณ์ภัยพิบัติในประเทศเอเชียในปีที่ผ่านมา..
                        file : //... ความมั่นคงอาเซียน (สถานการณ์อาเซียน)/ภัยพิบัติ/ บทความ "ภัยพิบัติทางธรรมชาติในเอเซียน..ผลกระทบและบทเรียน" เปรมใจ..
            

วันอาทิตย์ที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

ASEAN Committee on Disaster Management : ACDM

            อาเซียนได้จัดตั้งคณะกรรมการจัดการภัยพิบัติกับอาเซียน เด้วยเล็งเห็นถึงปัญหาซึ่้งเกิดจาภัยพิบัติ พร้อมกับได้จัดการประชุมประจจภ-ปีขึ้นครั้งแรในเดือนธันาคม 2546 ณ เมืองบันดาเสรีเบการ์วัน ประเทศบรูไน พร้อมกับมีการจัดประชุมขึ้นทุกปี โดยเจ้าภาพการประชุมจะเวียนตามลำดับตัวอักษรภาษาอังกฤษของชื่อประเทศสมาชิก เป้าหมายหลักของณะกรรมการจัดการภัยพิบัติอาเซียน คือร่วมกันจัดทำโครงการจัดการภัยพิบัติในภูมิภาคอาเซียน หรือ ASEAN Regional Programme on Disaster Manament : ARPDM
             - เพื่อกำหนดกรอบความร่วมมือ ยุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการรวมทั้งกำหนดภารกิจและกิจกรรมเร่งด่วยตมามลำดับก่อนหลังเพื่อลดภับพิบัติ ดังนั้นภารกิจสำคัญเร่งด่วนของ ตามลำดับก่อนหลังเพื่อลดภัยพิบัติ ดังนั้นภารกิจสำคัญเร่งด้่วยของ ARPDM  คือ การสร้างกรอบการทำงานบริหารจัดการภัยพิบัติในภูมิภาคอาเซียน ภายใต้กรอบการดำเนินงานนี้จะมีการพัฒนความตกลงในภูมิภาคว่าด้วยกาจัดการภัยพิบัติ และการทำงานในภาวะฉุกเฉิน พัฒนากมาตรฐานการทำงานช่วยเหลือในยามเกิดภัยพิบัติตามความตกลง เสริมสร้างประสิทธิภาพในการทำงานของคณะทำงานในแต่ละประเทศสมาชิกเพื่อช่วยเหลือแบบฉุกเฉินฉับพลันในยามเกิดภัยพิบัติ และจัดกิจกรรซ้อมรับมืภัยพิบัติในอาเซีัยนอย่างสม่ำเสมอ
               ทั้งนี้คณะกรรมการอาเซียนได้ร่วมจัดทำแผนปฏิบัติการระดับภูมิภาค ขึ้น เพื่อเป็นกลไกผลักดันให้มีการดำเนินกิจกรรมที่สอดคล้องตามความตกลงอาเวียดังกว่าง ดดยได้ระบุภ-ารกำิจสำคัญเร่งด่วน 5 กิจกรรมแรก ได้แก่
                การจัดทำแผนปฏิบัติการด้านการเผชิญเหตุของภูมิภาคอเาซียน
                การปรับปรุงหลักสูตรและการพัฒนาผุ้เชี่ยวชาญ
                การพัฒนาเวปไซด์ ACDM และเวปไซด์ของหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านการจัดการภัยพิบัติของประเทศสมาชิก และการจัดทำจดหมายข่าว ด้านการจัดการภัยพิบัติ
                 การแสวงหาหุ้นส่วนร่วมดำเนินการ การระดมทรัพยากรสนับยสนุด้านการเงินและทรัพยากร
                 การจัดงานวันจัดการภัยพิบัติของอาเซียน การดำนเนินการโครงกาารจัดพิมพ์เอกสาร การ่งเสริมการศึกษาและการเสริมสร้างจิตสำนึก
                 จากกรอบการดำเนินงานดังกล่าวของอาเซียน การส่งเสริมการศึกษาโดยให้คึวามรุ้แก่เยาชน และประชาชนทั่วไปในด้านการจัดการภัยพิบัติจึงจัดได้ว่าเป็นภารกิจที่สำคัญ สืบเนื่องจากทุกวันนี้ภัยธรรมชาติทีเ่กิดขึ้นทั่วโลกมีความถี่และรุนแรงมากขึ้น ซึ่งวิธีที่ดีที่สุดในการป้องกันและลดผลกระทบจากถัยพิบัติทางธรรมชาติคือการให้การศึกษา เมือคนมีความรุ้เดี่ยวกับภัยพิบัติ ก็จะสามารถตัดสินใจทำในส่ิงที่ดีกว่าในขณะที่เกิดภัย ซึ่งมีงานวิจัยยืนยันว่า กานสร้างทัศนคติและความตระหนักในการป้องกันภัยให้แก่คนในชุมชน มีผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในโรสงเรียน ดดยนักเรียนจะนำความรุ้ที่ได้รับไปเผยแพร่ให้แก่บุคคลในครอบครัวแลชุมชน ดดยเฉพาะในปี 2553 จนถึงปัจจุบันมีหลายจังกวัประสบกับภัยธรรมชาติ เช่น น้ำท่วมดินถบ่ม วาตภัย และแผ่นดนินไหว ในจำนวนจังหวัดต่างๆ ที่ประสบภัยธรรมชาติ มีดรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการกการศึกษาขึ้นพ้นฐานหลายแห่งได้รับความเสียหารและได้รับผลกระทบภัยพิบัติทางธรรมชาติทที่เดิดขคึ้น สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานหลายแห่งได้รับความเสียหายและได้รัยผลกระทบจากถับพิบัติทางธรรมชาติทีเดิกขึ้น สำนักงานคณะกรรการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงมีมาตรการจัดการภัยพิบัติ ทั้งด้านการป้องกันเพื่อความปลดภัยของนักเรียนและครู และการจัดการศึกษเพื่อตรียมความพร้อมเผชิญสถานการณภัยพิบัติที่อาจเกิดขึ้น หรือมีแนวดน้มที่จะเกิดขึ้นในสถานศึกษาซึ่งเป็นส่ิงที่จำเป็นอย่างยิ่งในภาวะวิกฤติเช่นนี สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กำหนดแนวทางเตรียมความพี้อมการจัดการภัยพิบัติไว้ 3 ขั้นตอน คือ ขั้นก่อนเกิดภัย ขั้ินขณะเกิดภัย และขั้นหลังเกิดภัย
               สำหรับบทเรียนของประเทศไทยนั้น เกิดจากภัยพิบัติสึนามิครั้งย่ิงใหญ่ซึ่งมีสาเหตุมาจากแผ่นดินไหวอย่างรุแนแรงในมหาสมุทรอินเดียเมื่องันที่ 26  ธันวาคม 2547 ส่งผลให้ผุ้คนจำนวนมากกว่า 165,000 รายที่อาศัยอยูในพื้นที่หรือบริเวณที่ใกล้กับจุดเกิดแผ่นดินไหว
             
- นอกจากจะสูญเสียชีวิตของผุ้คนจำนวมากแล้ว ยังต้องสูญเสียทรัพย์สินจำนนมหาศาลไปพร้อมกันอีกด้วย สาเหตุการสูญเสียครั้งยิ่ใหญ่นี้เป็นเพราะประเทศในแถบมหาสมุทรอินเดียเหล่านี้ยังขาดการจัดการเรื่องการป้องกันภัยสึนามิ ที่เห็นได้ชัดเจนคือังไม่มีระบบเตือนภัยคลื่อนสึคนามิที่สมบุรณ์พอ ดังเช่นประเทศในภุมิภาคมหาสมุทรแปซิฟิก ดังนัเ้นยูเนสโกและองค์การระห่างประเทศหลายแห่งจึงออกมาเคลื่อนไหว เรียกร้องให้มีการจัดตั้งระบบเตือนภัยสึนามิโลกขึ้น เพื่อลดความสูญเสียหากจะมีการเกิดภัยพิบัติครั้งต่อไป นอกเหนือจาการจัดตั้งระบบเตือนภัยสึนามิแล้ว วิะีการป้องกันภัยอีกอย่างหนึ่งที่เป็นประโยชน์และเข้าถึงประชาชนโดยตรง ได้แก่การใหความรู้ที่ถูกต้องเดกี่ยวกับสาเหตุการเกิดภัยพิบัติ ด้วยเหตุนี้กลุ่มผุ้วิจัยจึงเห็นสมควรให้มีการพัฒนาหลักสูตรการป้องกันภัยสึนามิ
               - เปิดสอนให้แก่นักเรียนระดับประุถมศึกษาตอนปลายและมัธยมศึกษาตอนต้น ในดรงเรียนที่ตั้งอยุ่ในบริเวณที่เกิดภัยพิบัติสึนามิ โดยคาดหวังว่าเมื่อได้รับความรุ้จากการเรียนในโรงเรียนแล้วนักเรียนจะนำความรุ้เหล่านี้นไปขยายสู่รอบครัวแลชุมชน เพื่อใช้ให้เป็นประโยชน์ยามที่เกิดภัยพิพบัติต่อไปได้
               
         - dpm.nida.ac.th/..การจัดการภัยพิบัติกับอาเซียน

วันเสาร์ที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Cybersecurity

              ความมั่นคงไซเบอร์ หมายถึงการใช้ประโยชน์จาเทคดนโลยี เพื่อปกป้องระบบเครือข่าวคอมพิวเตอร์รวมถึงข้อมูลในโลกออนไลน์จากการถูกดจมตี ดจรกรรม หรือการเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต ในโลกยุคปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศไ้กลายเป็นองค์ประกอบสำคัญของวิธีชวิตแทบทุกด้านของมนุษย์ โลกไซเปบร์ได้กลายเปรดาบองคม เพราะนอกจากจะมีประโยชน์ต่อการเจริญเติบโตทางเศราฐกิจและยกระดับคุณภาถชีวิตของประชาช ยังกลายเปฯนพื้นที่สุ่มเสียงต่อการถ๔ูกคุกคาม อันทำให้รัฐต่างๆ ต้องหันกลับมาทบทวนถึงความจำเป็นในการรับมือกับภัยคุกคามความมั่นคงที่ติดตามมาพร้อมกับความเจริฐก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
            สำหรับอาเซียน ความมั่นคงไซเบอร์เป็นสวนหนึ่งของความร่วมมือภายใต้เสาหลักประชาคมการเมือง - ความมั่นคง โดยกลไกหลักที่เป็นเวทีหารือและทบทวนความร่วมมือด้านความมั่นคงไซเบอร์ คือการประบุมระดับรัฐมนตรีอาเวียนว่าด้วยอาชญากรรมข้ามชาติ และการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนว่าด้วยอาชญากรรมข้ามชาติ เป็นตครี้งแรก สะท้อนภึงการตระหนักว่าอาชญากรรมข้ามชาติมิได้จำอยู่เพียงอาชญากรรมที่พบเห็นได้เฉพาะหน้า เช่น การก่อการร้าย การต้ามนุษย์ หรือการต้าอาวุะสงครามเท่านั้น
              แผนปฏิบัติการดังกล่าวได้ับการรับรองโดยที่ประชุม SOMTC ครั้งที่ 2 ที่ประเทศมาเลเซียนอกีหนึ่งปีให้หลัง ในหวยเอว่าด้วยคึวามมั่คงไซเบอร์ แผนปฏิบัติการฉยับนไดำแนกความร่วมมือขอประทเสสมชิกออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ความร่วมมือด้านของกฎหมาย ความรวมมือด้านการบังคับใช้กฎหมายความร่วมมือด้านการฝึกอบรมและการพัฒนาขีดความสสามารถ และความร่วมมือนอกภูมิภาค
             ในเวลาต่อมา ความร่วมมือด้านความมั่นคงไซเยอร์ของอาเซียนได้ขยายสู่การับรองกรอบการทำงานร่วในการพัฒนาขีดความสามารถเื่อต่อต้านอาชญากรรมไซเบอร์ โดยมีเป้าหมายเพื่อสนับสนุนการต้อสู่กับอาญากรรมไซเบอร์รูปแบบต่างในระดับโลก ควมถึงการคณะทำงานด้านอาชญากรรมไซเบอร์ขึ้นตามมติขจองที่ประชุม SOMTC ครั้งที่ 13 ณ กรุงเวียงจันทน์ สปป.ลาว เมื่อปี 2556
               คณะทำงานดังกล่าวมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการหาข้อสรุปให้กับโร็ดแมปว่าด้วยการต่อต้านอาชญากรรมไซเบอร์ในอาเซียน ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมความร่วมมือระดบภูมิภาคในการับมือภัยคุกคามไซเอร์ตามแยวทางทั้ง 5 ประการของแผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติ ความรวมมือด้านความมั่นงคงไซเบอร์ยังปรากฎอยุ่ในการประชุมอาเวียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความรุนแรงในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก ดดยที่ประชุมได้ออกแถลงการณืหลายฉบัยเพื่อเน้นย้ำถึงความสำคัญของการออกแบกรอบความร่วมมือด้านความมั่นคงไซเบอร์ระหว่างประเทศสมาชิก นอกจากนี้ ในปี 2555 ที่ประชุม ARF ยังได้ออกแถลงการณ์ที่ะบุอย่างชัดแจนถึงเป้ากมายภายในของอาเวียนในการับมือกับปัญหาภัยคุกคามทางไซเบอร์ อันรวมถึงการสร้างมาตรการส่งเสริมควาามไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกันอย่างเป็นรูปธรรม
               ความจริงจังของภัยคุกคามทางไซเบอร์ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา กอปรกับการตระหนักรู้ในความเชื่อโยงระหว่างความมั่นคงไซเบอร์กับความร่วมมือด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ือสาร ทำให้ที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านโทรคนและเทคโนโลยสารสนเทศ  ครั้งที่ 14 เมื่อปี 2558 ได้บรรจุประเด็นความั่นคงไวเบรอ์ลงในแปนแม่บทเทคโนโลนีสารสนเทศและการสื่อสารของอาเซียนฉยัยที่ 2 ระหว่างปี 2559-2563 แผนแม่บทดังกล่าวไดกำหนดกลุยุทธ์หลักเพิ่มเติมจากแปผนแม่บทฉบับเดิม 3 แระการ โดยหนึ่งในนั้น คือกลยุทธ์ด้านความปลอภัยและหลักประกันด้านข้อมูลข่าวสาร ซึ่งประกอบด้วยการพัฒนาหลักการด้านความปลอดภัยของข้อมูลระดับภุมิภาค และส่งเสริมความเข้ฒแข็งและประสิทะิภาพของความร่วมมือเพื่อตอบสนองต่อสภานการณ์ฉุกเฉินด้านไซเบอร์อย่างทันท่วงที่ โดยมีเป้าหมายเพื่อเสริมสร้างความเชื่อมั่นให้กับเศราฐกิจดิจิทัลของอาเวียนและปรับปรุงความร่วมมือในการับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินด้านไซเบรอ์ของภูมิภาคให้มีประสทิะิภาพยิ่งขึน
                 นอกจากความร่วมือภายในภูมิภาค อเาียนยังขยายความร่วมือด้านความมั่นคงไซเบอร์กับประเทศคู่เจรจา เช่น ญี่ป่นุทั้งสอปงประเทศได้ร่วมกันออกแถลงการณ์ร่วมเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการต่อต้านการก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติ พร้อมทั้งยืนยันว่าจะส่งเสริมความมั่นคงปลอดภัยของการใช้เทคดนโบีสานรสนเทศและการสื่อสารและต่อต้านอาชญากรรมไซเบอร์ในรูปแบบต่างๆ ร่วมั้วยังร่วมกันจัดการประชุมหารืออาเวียน- ญี่ปุ่น ว่าด้วยอาชญากรรมไซเบอร์ เพื่อเป็นเวทีหรารือกรอบความร่วมมือและส่งเสริมศักยภาพการรับมือภัยคุกคามไซเบอร์ระหว่างกัน
                 ปัจจุบันสถานการณ์ด้านความมั่นคงไซเบอร์ของขาตคิอาเวียนที่ค่อนข้างล่อแหลม ส่งผลให้ความมั่นคงไซเบอร์กลายเป็นาระเชิงนโยบายที่สำคัญของหลายประเทศ อาทิ มาเลิเซีย ซึ่งได้รับการจัดอันดับให้มีความเสี่ยงต่อการก่ออาชญากรรมทางอินเตอร์เน็ตสูงเป็ฯอันดับ 6 ของโลก ได้เร่ิมบังคับใช้มาตรการต่างๆ ตามนดยบบลายคความมั่นคงไซเบอร์แห่งชาติ อย่างจริงจังตั้งแต่ พ.ศ. 25449
                 
ก่อหน้านี้  รัฐบาลมาเลเซียไดตั้ง คณะกรรมการด้านการสื่อสารและมัลติมีเดียงแห่งมาเลเซีย เพื่อสอด่องการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ภายใต้กฎหมายกานสื่อสารและมัลติมีเดีย พ.ศ. 2541 รวมถึงมีกากรก้ไขพระราชยัญญัติว่าด้วยการยุยงปลุกปั่น เพื่อควบคุมสื่ออนำลน์ให้เข้มงวดย่ิงขึ้น ดดยให้อำนาจเจ้าหน้าที่รัีฐในการปิดกันการเข้าถึงเว็บไซด์ที่มีเนือหายุยงปลุกป่น เป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ พร้อมเพ่ิมโทษผุ้กระทำผิดเป็น 3-7 ปี
                ขณะที่สิงคโปร์ ซึ่งมุ่งมั่นพัฒนาประเทศตามดครงการ "ชาติอัจฉริยะ" โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อใช้เทคโนโลยียกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนและสงเสริมผลิตภายของประเทศ ได้ลงนามในบันทึกคยวามเข้าใจเพื่อส่งเสริมความมั่นคงไซเอยร์กับอังกฤษพร้อมทั้งร่วมมือกับบริษัทไมโครซอฟท์เพื่อจักตั้งศูนย์อาชญากรรมไซเบอร์แห่งแรกของอาเซียนเมื่อปี 2558
               ด้านฟิลิปปินส์ได้ออกกำหมายป้องปรมอาชญากรรมไซเบอร์ โดยมีจุดประสงค์เพื่อป้องกันการโจรกรรมหรือล้วงข้อมุลทางอินเทอร์เน็ต รวมถึงป้องกันไม่ให้มีการเผยแพร่อนาจารของเด็กและเยาวชน แม้หลายฝ่ายมองว่า กฎหมายฉบับดังกล่าวมีเนื่อหาลดทอนเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น เนื่องจากรัฐบาลสามารถสั่งปิดเว็บไซด์ และสอดส่องกิจกรรมออนไลน์ของประชาชนได้โดยไม่ต้องของหมายอนุญาตจากตุลาการก่อน
               ถึงแม้ชาติอาเซียนจะตระหนักถึงปัญหาความมั่นคงไซเบอร์มากขึ้นในช่วงหลัง แต่น่าังเกตุว่าการับมือกับภัยคุกคามไซเบอร์ในระดับประเทศยังเนห้นหนักไปที่การปราบปรามผุ้กระทำผิดที่ส่งผลต่อสถานะของรัฐบาลเป็นสำคัญ ดังเห็นได้จากการบังคับกฎมหายของประเทศต่างๆ ที่มุ่งเป้าเพื่อการปิดกั้นการแสดงความคิดเห็นและวิพากวิจารณ์รัฐบาล ทำให้ประเด็นความขัดแย้งระหว่งการบังคับใช้กฎหมายด้านความมั่นคงกับสิทธิเสรีภาพของประชาชนได้รับการหยิบยกขึ้นมาถกเถียงอยู่เสมอ และบดบังประเด็นเกี่ยวกับความมั่นคงไซเบอร์ในลักษณะอื่นๆ  ซึ่งยังคงไม่ีค่อยคืบหน้านัก
                ปัญหาหลักๆ เกิดจากการที่ชาติอาเซียนหลายประเทศยังคงขาดแคบนบุคลากรที่มีความรุ้ความสามารถเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและมีควมเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของภัยคุกคามความมั่นคงไซเบอร์จริงๆ แม้สมาชิกบางประเทศ เช่น สิงคโปร์และมาเลเซีย จะมีความเข้ามแข็งด้านความมั่นคงไซเบอร์เป็นลำดับต้นๆ ของโลก แต่ประเทศอื่นๆ โดยเฉพาะดกลุ่มประเทศ CLMV  ยังคงมีมาตรฐานด้านความมั่นคงไซเยอร์ที่ต่างกันอยุ่มาก
                 สิงนี้ส่งผลให้หลายประเทศยังขาดนโยบายด้านความมั่นคงไซเบอร์ที่มีประสิทะิภาพ ประเมินว่า ปี 2557 ชาติสมาชิกอาเซียนจำต้องสูญเสียเงินรวมกันกว่า 7.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในการสอดส่องและติดตามผุ้กระทำความผิดเกี่ยวกับความพิวเตอร์และอาชญากรรมไซเบอร์
                   นอกจากนี้ หลายประเทศยังคงเปราะบางต่อการโจมตีทางไซเยอร์ ทัเ้งการเข้าถึงโดยไม่ได้รบอนุญาต การรบกวนการทำงานของคอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการหลอกลวงและทำลายขอมูล รวมถึงการอดแนมข้อมูลทางการเมือง และการทหารดดยหน่วยงานที่คาดว่าได้รับการสนับสนนุจากชาติมหาอำนาจบางประเทศ
                ข้อจำกัดและความท้าทายเหล่านี้อาจเริ่มแก้ไขได้ด้วยการ่วมแลกเปลี่ยนข้อมุล ความรุ้ และเทคดนดลยีที่จำเป็นทังภายในภูมิภาคและร่วมกับประเทศคู่เจรจาแก้ไขได้ด้วยการร่วมแลกเปลี่ยนข้อมุล ความรุ้ และเทคโนโลยีที่จำเป็ฯทั้งภายในภูมิภาคและร่วมกับประเ สอฃคู่เจรจานอกภูมิภาค การวางกรอบความร่วมมือระดับภูมิภาคร่วมกันอย่างจริงจัง การพัฒนาบุคลการด้านความั่นคงไซเบอร์ตั้งแต่วัยเยา การสนับสนุนการเคลื่อนย้รายโดยเสรีของบุคลากรด้านเทคโนดลยีสารสนเทศและผุที่มีความรู้ความสามารถด้านความมั่นคงไซเบอร์ รวมถึงกาจสนับยสนุนการฝึกอบรมด้านความมั่นคงปลอดภัยของข้อมุลส่วนบุคคลและความมั่นคงไซเบอร์ให้กับนักเรียนนักศึกษาและประชาชนทั่วไป...aseanwatch/..current-issue)

วันศุกร์ที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

ASEAN Under The Attack II

               17 พฤษภาคม 2560 สื่อมาเลเซียรายงานวา ผุ้ก่อการ้ายหลายสิบคนหรือบุคคลอันตรายที่ไม่สามารถเข้าร่วมกับกลุ่มก่อการร้ายไอซิส ใประเทศซีเรียได้นั้น ขณะนี้กำลังเดินบนท้องถนนในประทเศมาเลเซียอย่างเสรีในฐานะนักท่องเที่ยว ตามรายงานเปิดเผยว่า ทางการตุรกีได้ยื่นข้อเสนอและแนะทางเลือกให้กับพวกเขา 30 คนดังกล่าว่าจะกลับไปยังประเทศของตนหรือไปยังประเทศมาเลเซีย ซึ่งพวกเขาทั้งหมดเลือกมาเลเซียเพราะมันเป็นประเทศมุสลิมและจากนั้นก็เดินทางเข้ามาในประทเศมาเลเซีย
               New Straits Times รายงานว่า บางประเทศที่คอยให้การสนับสนนุบุคคลอันตราย ซึ่งพวกเขาไม่ประสงค์จะใช้ชีวิตในประเทศของตน จึงได้จัดเตรียมเอกสารให้กับพวกเขาและจากนั้นใช้เอกสารดังกล่าวเดินทางไปประเทศมาเลเซียในฐานะนักท่องเที่ยว
               ด้วยเหตุนี้มาเลเซียจึงกลายเป็นประเทศที่คอยให้การต้อนรับแขกผุ้ก่อการร้ายต่างประทเศโยที่ไม่รู้ตัว หลังจากที่พวกเขาถูกขวางไม่ให้เข้าไปในซีเรียเพื่อร่วมต่อสุเคียงข้างกลุ่มก่อการร้ายไอซิส รายงานยังเสริมว่า บุคคลเหล่านี้ส่วนมากจะเป็นบุคคลที่อันตรายมาก เพราะก่อนหน้านี้ที่สนามบินหลายประเทศได้ทำการจับกุมตัวประเภทบุคคลที่เป็นอันตรายต่อความมั่นคงของชาติมาแล้ง ถึงตอนนี เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยของมาเลเซีย ได้มีการเผ้าระวังบุคคลอันตรายเหล่านี้มีแล้วจำนวนส 28 คน ซึ่งส่วนใหญ่มาจากดูไบ สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย ที่จะเดินทางต่อไปยังตุรกีและก็ถูกจับกุมดำเนินการ แม้ว่าไม่มีการระบุสัญชาติบุคคลอันตรายทั้ง 30 คน ที่สวมรอยเป็นนักท่องเที่ยวในประเทศมาเลเซียก็ตาม แต่เนื่องจากการเคลื่อนไหวที่มากขึ้นของลัทธิวะฮาบีย์ในมาเลเซีย ทำไใ้แวดวงการเมืองและหน่วยงานรักษาความปลอดภัยได้แจ้งเตือนถึงอิทธิพลและการแทรกซึมของบุคคลดังกล่าวในประเทศนี้เชื่อว่า รัฐบาลกัวลาลัมเปอร์ได้เปิดเวทีและสนามให้กับลัทธิวะฮาบีย์ดักฟีรีย์ และเอื้อสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ สำหรับกิจการและการเคลื่อนไหวของพวกเขาในประเทศมาเลเซียมากเกินไป ทำให้เป็นการเปิดโอกาสให้กลายเป็นแหล่งชุมนุมของผุ้ก่อการร้ายในประเทศ นั่นคือเหตุผลที่หน่วยงานระดับความมั่นคงในภูมิภาค ได้ออกตามเตือน กรณีความเป็ฯไปได้สูงที่จะมีการก่อตัวและจัดตั้งรัฐปกครองที่ถูกรู้จักในนาม รัฐอิสลาม กำมะลอ โดยผู้ก่อการร้ายไอซิสในจุดหนึ่งจุดใดของมาเลเซียหรือฟิลิปปินส์ นั่นเป็นเหตุผลทีเจ้าหน้าที่มาเลเซียจึงมีการเชื่อมโยงกรณีการปรากฎตัวที่มีตัวเลขน่าเป็นห่วงของกลุ่มก่อการร้ายเหล่านี้ในประเทศที่พวกเขาได้เบนเข็มขยายฐานใหม่ในภูมิภาคนี้หลังจากที่พ่ายแพ้และถูกโจมตีอย่างหนักในอิรักและซีเรีย
               ฮชาม มุดดีน ฮุเซ้น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมมาเลเซีย ประกาศเมื่อเร็วๆ นี้ว่า สมาชิกชาติอาเซียน ได้ประกาศจุดยืนที่แข็งกร้าวในการดำเนินการกับไอซิส แต่ทว่าการปฏิบัติการทางทหารในอิรักและซีเรียทำให้สะท้อนเหตุการณ์เช่นนี้ในภุมิภาคนี้ดังนั้นผุ้ก่อการร้ายเหล่านี้จึงเดินทางมายังมาเลเซียเพื่อจัดตั้งสาขา เครือข่ายกลุ่มก่อการร้ายไอซิส
              จเรตำรวจมาเลเซีย กล่าวว่า บรรดาผุ้ให้การสนับสนุนไอซิสในประเทศนี้ ถูกขนามนามว่า "หมาป่าที่โดดเดี่ยว"ที่เป็นภัยคุกคามต่อความมั่นคงของมาเลเซีย ด้วยเหตุนี้เจาหน้าที่รัฐบาลมาเลิเซียจึงขอความรต่วมมือจากหน่ยสืบราชการลับกับประเทศในภูมิภาครวมทั้งฟิลิปปินส์เพราะได้ตระหนักแล้วว่าหลังจากนี้ มาเลเซียอาจจะเป็นฐานหรือแหล่งชุมนุนและรวมพลของรรดากลุ่มก่อการร้ายไอซิสในภูมิภาค
              อย่างไรก็ตา บรรดานักวิเคราะห์ระดับภุมิภาคบางคนแนะว่า รัฐบาลมาเลเซีย ก่อนที่จะจัดการกับพวกหัวรุนแรงและผุ้ก่อการร้ายในประเทศ ลำดับแรกและขั้นตอนแรกที่ต้องเผชิญหน้าและกำจัดคือ ขุดรากเหง้าอุดมการณ์แห่งความคลั่งไคล้และการก่อการร้ายนั้นคือลัะิวะฮาบีเสียก่อน เพื่อที่มาเลเซียจะต้องไม่กลายเป็นรังของกลุ่มก่อการร้ายไอซิส...(www.abnewstoday.com/... มาเลเซียจะเป็น "ฐานแห่งใหม่ของไปซิสในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้" หลังบุคคลอันตราย 30 คนสวมรอยเป็นนักท่องเที่ยวเข้าประเทศ..!)
             
 22 พฤษภาคม 2560 ระเบิด รพ. พระมงกุฎฯ ผุ้บัญชากากรทหารบกระบุเหตุวางระเบิดที่ดรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าเป็นระเบิดไปป์บอมบ์เช่นเดียวกับเหตุระเบิดที่หน้ากองสลากเมื่อเดือนที่แล้ว และหน้าโรงละคร แห่งชาติเมื่อกลางเดือนที่ผ่านมา พร้อมทั้งประณามว่าเป็น "สิ่งเลวร้ายไ หวังปลถึงขั้นให้มีผุ้เสียชีวิต และต้องการปั่นป่วนการบริหารงานของรัฐบาลชุดปัจจุบัน
            เมื่อเวลา 16.00 น. วันที่ 22 พฤษภาคม ที่กองบัญชาการกองทัพบก พล.อ.เฉลิมชัย สิทธิสาท ผุ้บัญชากการทหารบก ในฐานะเลขาธิการคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) แถลงภายหลังการประชุมหน่วยความมั่นคงเกี่ยวกับเหตุระเบิดโรงพยาบาลพระมงกุฎเหล้า ว่า เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นเรื่องเลวร้ายที่สุด เพราะผุ้ได้รับบาดเจ็บเป็นผุู้งอายุ และระเบิดครั้งนี้หวังผลถึงชีวิต เนื่องจากมีตะปูจำนวนมากขณะนี้ตำรวจกำลังติดตามข้อมูล และดำเนินการตามข้อมูลที่ได้รับ
            พล.อ.เฉลิมชัย กล่าวว่าเมื่อมีเหตุการณืลักษณะนี้เกิดขึ้นมาแล้ว 2 ครั้ง จึงเรียกหน่วยงานความมั่นคงทั้งหมดมาประชุมปรับแผนการรักษาความปลอดภัยในภาพรวมของประเทศ ซึ่งทั้ง 3 คดี คือ ระเบิดหน้ากองสลากเก่า (วันที่ 5 เมษายน) ระเบิดหน้าโรงละครแห่งชาติ (15 พฤษภาคม) และระเบิดครั้งล่าสุด ทางตำรวจที่รับผิดชอบต้องดำเนินการจับกุม ผุ้ก่อเหตุมาดำเนินคดีให้ได้ เหตุระเบิดครั้งนี้มีผุ้บาดเจ็บกว่า 20 คน... (www.bbc.com/.. ระเบิด รพ. พระมงกุฎฯ : รู้อะไรแล้วบ้าง?)
               23 พฤษภาคม 2560 กองทัพฟิลิปปินส์ปะทะเดือดกองกำลังติดอาวุธ ที่เชื่อมดยงกับกลุ่มรัฐอิสลาม หรือไอเอส หลังฝ่ายหลังบุกถล่มเมืองมาราวี ทางตอนใต้ของประเทศ ล่าสุดประธานธิบดีดูเตอร์เต้ประกาศใช้กฎอัยการศึกแล้ว..

                เว็บไซต์อินดิเพนเดนท์ รายงานว่า กลุ่มคนพร้อมอาวุธครบมืออย่างน้อย 15 คน จากกลุ่มแบ่งปยกดินแดนมุสลิม "เมาท์" ที่มีสายสัมพันะ์กับไอเอส ได้บุกเข้าไปในเมืองมาราวี ทางตอนใต้ของฟิลิปปินส์ กราดยิงไปตามถนนายต่างๆ ก่อนที่จะเดิกการปะทะกับกองทัพฟิลิปปินส์ และกองกำลังตำรวจฟิลิปปินส์ ที่เดินทางเข้ามายังเมืองนี้ หลังขาวบ้านในหมุ่บ้านใกล้เคียงแจ้งเหตุเข้าไป ละร้องของความช่วยเหลือ
                นายมามินทัล อาเดียง จูเนียร์ ผุ้ว่าราชการจังหวัดลาเนาเดลซูร์ ได้เรียกร้องให้ประชาชนในเมือง หลบอยู่ภายในที่พัก ล็อกประตู และหน้าต่าง และให้หมอบลงกับพื้น หากได้ยินเสียปืน ขณะรายงานจากสื่อท้องถ่ิน ระบุว่า กลุ่มติดอาวุธ ได้บุกเข้าไปในโรงพยาบาลท้องถ่ิน พร้อมชักธงไอเอสสีดำขึค้นเหนืออาคาร และยังมีารายงานว่า มีการยิงปืนเข้าใส่บ้านเรือนประชาชน และอาคารที่ทำการรัฐบาลด้วย ล่าสุด ประธานาธิบดีโรดริโก ดูเตอร์เต้ ได้ประกาศกฎอัยการศึกในภุมิภาคมินดาเนาทางตอนใต้ของประเทศแล้ว..( www.bangkokbiznews.com/..กลุ่มก่อการร้ายบุกยึดเมืองฟิลิปปินส์)
                  24 พฤษภาคม 2560 คือวันที่ 24 กรุงจากการ์ตา เมืองหลวงของอินโดนีเซีย เผชิญกับเหตุก่อการร้าย โดยมีมือระเิบดฆ่าตัวตาย 2 คน เมื่อคืนนี้ ทำให้ตำรวจเสียชีวิต 3 นายและมีผุ้ได้รับบาดเจ็บอีก 10 นาย ส่วนกลุ่มไอเอสออกมาอ้างว่าอยุ่เบื้องหลังเหตุระเบิด เหตุเกิดที่ลานจอดรถติดกับสถานีขนส่ง "ทรานส์จากการ์ต้า" ในเขต "กัมปุง เมลายู" ทางตะวันออกของกรุงจาการ์ต้า เมื่อเวลา 21 นาฬิกาเมื่อคือวันที่ 24 โดยเกิดระเบิด 2 ครั้ง ในเวลาห่างกันเพียง 5 นาที สร้างความแตกตื่นให้กับประชุาชนดดยรอบบริเวณนั้น เนื่องจากเป็นเขตชุมชนที่มผุ้คนอาศัยอยุ่อย่างหนาแน่น
               
ตำรวจอินโดนีเซียพบว่ เป้นฝีมือของมือระเบิดฆ่าตัวตาย 2 คน และขณะนี้กำลังออกไล่ล่าผุ้ร่วมขบวนการ ขณะที่กลุ่มไอเส หรือรัฐอิสลาม ออกมาอ้างว่า อยู่เบื้องหลังการโจมตีในคร้้งนี้ ซึ่งนอกจากมือระเบิดฆ่าตัวตายแล้ว ยังมีผุ้เสียชีวิตเป็นตำรวจ 3 นายและในจำนวนผุ้บาดเจ็บ 10 ตน มีตำรวจบาดเจ็บ 5 นาย และพลเรือนอีก 5คน
                  นับเป็นครั้งที่สองในรอบ 3 วัน ที่กลุ่มไอเอสอ้างว่าเป็ฯผุ้ลงมือก่อเหตุระเบิดฆ่าตัวตาย หลังจากเมื่อคืนวันจันทร์ที่ผ่านมา พวกเขาอ้างว่าหนึ่งในสมาชิกของพวกเขาลงมือก่อเหตุระเบิดฆ่าตัวตายที่สนามกีฬา "แมนเชสเตอร์ อารีน่า" ในเมืองแมนเชสเตรอ์ ประเทศสหราชอาณาจักร
                 เหตุรุนแรงครั้งนี้เกิดขึ้นในช่วงใกล้จะถึงเือนรอมฎอน หรือเดือนแก่งกการถือศีลอดของชาวมุสบลิม ที่จะเริ่มขึ้นในวันเสาร์นี้ ขณะที่รัฐบาลอินโดนีเียกำลังเครียมเป็นเจ้าภาพจัดประชุมต่อต้านการก่อการร้ายในระดับภูมิภาคในเดือนสิงหาคมนี้ ดดยจะมีออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ฟิลิปปินส์ และมาเลเซีย เข้าร่วมประชุม...( true4u.com/.."ไอเอส" ระเบิดฆ่าตัวตายกลาง "กรุงจาการ์ต้า")
                  ช่วงเวลา 3 วันที่ผ่านมานี้เหตุการณ์ความไม่สงบใน 3 ประเทศของกลุ่มอาเซียน จะเป็นเหตุการที่เชื่อมโยงกันหรือเปล่านั้นยัวไม่ไมีพยานยืนยันในข้อนี้ รัฐบาลไทยพุ่งเป้าว่าเหตุการณืทีเกิดขึ้นเป็นเรื่องการเมืองในประเทศมากกว่าที่จะกอ่ให้เกิดการก่อการร้าย นักวิจัยชาวไทยให้ความสนใจในเรื่องนี้และให้ความเห็นว่า ขณะนี้จำเป็นต้องมีการประสานข้อมูลเพื่อรับมือกับการก่อการร้ายใหม่ๆ ที่เป็นภัยคุกคาม ประเทศในภุมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้..
               จากการที่กลุ่ม "ไอเอส"ได้รับความเสียหายในภุมิภาคตะวันออกกลาง ภูมิภาคเอเชียตะวันออกฉียงใต้เป็นสภานที่ดึงดูดความสนใจของกลุ่มนักรบหัวรุนแรง ดดยมีผุ้นับถือศาสนาอิสลามคิดเป็นร้อยละ 15 ของจำนวนชาวมุสลิม 1.57 พันล้านคนในโลก โดยเฉพาะมาเลเซีย ฟิลิปปินส์และอินโดนีเซียเป็นประเทศที่มีชามุสลิมอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก มีความเป็นไปได้ที่จะม่การขยายอิทธิพลของกลุ่มไอเอสในบางประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เนื่องจากมีนักรบหัวรุนแรงนับพันคนได้สาบานว่า จะจงรักภักดีต่อกลุ่มไอเอส
              เมื่อไม่นานมานี้ ได้มีกากรแพร่คลิปวีดีโอของกลุ่ม "ไอเอส"เป็นภาษา บาฮาซา มาเล ตากาล็อก และภาษาอังกฤษ ที่เรียกร้องให้ผุ้ที่ให้การสนับสนุนร่วมมือกับนักรบของกลุ่มนี้ในจุดร้อนต่างๆ ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะ ในภาคใต้ของประเทศฟิลิปปินส์ คาดว่า ปัจจุบัน มีชาวอินโดนีเซีย 700 คนและชาวมาเลเซีย 100 คนเข้าร่วมกลุ่มไอเอสในภูมิภาคตะวันออกกลาง ส่วนบรรดาเจ้าหน้าที่ความมั่นคงก็ได้ตรวจบพหลักฐานที่แสดงถึงความเกี่ยวข้องของกลุ่มไอเอสกับเหตุก่อการร้ายในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เมื่อเร็วๆ นี้
             ถึงขณะนี้ การต่อต้านการก่อการร้ายของพันธมิตรระหว่างประเทศที่สหรัฐเป็นผุ้นำมีขึ้นในภูมิภาคตะวันออกกลางเป็นหลักแต่กิจกรรมการก่อการร้ายไม่ได้ถูกจำกัดพื้นที่และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉีนงใต้ได้กลายเป็นจุดร้อนในการรับสมัครนักรบของกลุ่มไอเอส สถานการณ์ความไร้เสถียรภาพในฟิลิปปินส์เป็นสิ่งที่น่ากังวบเป็ฯอย่างมาก การที่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กลายเป็นเป้าหมายของกลุ่มไอเอสได้สร้างความท้าทายใหม่ต่อประเทศในภูมิภาค ซึ่งประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต้องผลักดันความร่วมมือเพื่แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวกรองอย่างจริงจังเพื่อรับมือกับภัยคุกคามนี้.... (vovworld.vn/..ประเทศฟิลิปปินส์)

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...