- เพื่อกำหนดกรอบความร่วมมือ ยุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการรวมทั้งกำหนดภารกิจและกิจกรรมเร่งด่วยตมามลำดับก่อนหลังเพื่อลดภับพิบัติ ดังนั้นภารกิจสำคัญเร่งด่วนของ ตามลำดับก่อนหลังเพื่อลดภัยพิบัติ ดังนั้นภารกิจสำคัญเร่งด้่วยของ ARPDM คือ การสร้างกรอบการทำงานบริหารจัดการภัยพิบัติในภูมิภาคอาเซียน ภายใต้กรอบการดำเนินงานนี้จะมีการพัฒนความตกลงในภูมิภาคว่าด้วยกาจัดการภัยพิบัติ และการทำงานในภาวะฉุกเฉิน พัฒนากมาตรฐานการทำงานช่วยเหลือในยามเกิดภัยพิบัติตามความตกลง เสริมสร้างประสิทธิภาพในการทำงานของคณะทำงานในแต่ละประเทศสมาชิกเพื่อช่วยเหลือแบบฉุกเฉินฉับพลันในยามเกิดภัยพิบัติ และจัดกิจกรรซ้อมรับมืภัยพิบัติในอาเซีัยนอย่างสม่ำเสมอ
การจัดทำแผนปฏิบัติการด้านการเผชิญเหตุของภูมิภาคอเาซียน
การปรับปรุงหลักสูตรและการพัฒนาผุ้เชี่ยวชาญ
การพัฒนาเวปไซด์ ACDM และเวปไซด์ของหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านการจัดการภัยพิบัติของประเทศสมาชิก และการจัดทำจดหมายข่าว ด้านการจัดการภัยพิบัติ
การแสวงหาหุ้นส่วนร่วมดำเนินการ การระดมทรัพยากรสนับยสนุด้านการเงินและทรัพยากร
การจัดงานวันจัดการภัยพิบัติของอาเซียน การดำนเนินการโครงกาารจัดพิมพ์เอกสาร การ่งเสริมการศึกษาและการเสริมสร้างจิตสำนึก
จากกรอบการดำเนินงานดังกล่าวของอาเซียน การส่งเสริมการศึกษาโดยให้คึวามรุ้แก่เยาชน และประชาชนทั่วไปในด้านการจัดการภัยพิบัติจึงจัดได้ว่าเป็นภารกิจที่สำคัญ สืบเนื่องจากทุกวันนี้ภัยธรรมชาติทีเ่กิดขึ้นทั่วโลกมีความถี่และรุนแรงมากขึ้น ซึ่งวิธีที่ดีที่สุดในการป้องกันและลดผลกระทบจากถัยพิบัติทางธรรมชาติคือการให้การศึกษา เมือคนมีความรุ้เดี่ยวกับภัยพิบัติ ก็จะสามารถตัดสินใจทำในส่ิงที่ดีกว่าในขณะที่เกิดภัย ซึ่งมีงานวิจัยยืนยันว่า กานสร้างทัศนคติและความตระหนักในการป้องกันภัยให้แก่คนในชุมชน มีผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในโรสงเรียน ดดยนักเรียนจะนำความรุ้ที่ได้รับไปเผยแพร่ให้แก่บุคคลในครอบครัวแลชุมชน ดดยเฉพาะในปี 2553 จนถึงปัจจุบันมีหลายจังกวัประสบกับภัยธรรมชาติ เช่น น้ำท่วมดินถบ่ม วาตภัย และแผ่นดนินไหว ในจำนวนจังหวัดต่างๆ ที่ประสบภัยธรรมชาติ มีดรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการกการศึกษาขึ้นพ้นฐานหลายแห่งได้รับความเสียหารและได้รับผลกระทบภัยพิบัติทางธรรมชาติทที่เดิดขคึ้น สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานหลายแห่งได้รับความเสียหายและได้รัยผลกระทบจากถับพิบัติทางธรรมชาติทีเดิกขึ้น สำนักงานคณะกรรการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงมีมาตรการจัดการภัยพิบัติ ทั้งด้านการป้องกันเพื่อความปลดภัยของนักเรียนและครู และการจัดการศึกษเพื่อตรียมความพร้อมเผชิญสถานการณภัยพิบัติที่อาจเกิดขึ้น หรือมีแนวดน้มที่จะเกิดขึ้นในสถานศึกษาซึ่งเป็นส่ิงที่จำเป็นอย่างยิ่งในภาวะวิกฤติเช่นนี สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กำหนดแนวทางเตรียมความพี้อมการจัดการภัยพิบัติไว้ 3 ขั้นตอน คือ ขั้นก่อนเกิดภัย ขั้ินขณะเกิดภัย และขั้นหลังเกิดภัย
สำหรับบทเรียนของประเทศไทยนั้น เกิดจากภัยพิบัติสึนามิครั้งย่ิงใหญ่ซึ่งมีสาเหตุมาจากแผ่นดินไหวอย่างรุแนแรงในมหาสมุทรอินเดียเมื่องันที่ 26 ธันวาคม 2547 ส่งผลให้ผุ้คนจำนวนมากกว่า 165,000 รายที่อาศัยอยูในพื้นที่หรือบริเวณที่ใกล้กับจุดเกิดแผ่นดินไหว
- นอกจากจะสูญเสียชีวิตของผุ้คนจำนวมากแล้ว ยังต้องสูญเสียทรัพย์สินจำนนมหาศาลไปพร้อมกันอีกด้วย สาเหตุการสูญเสียครั้งยิ่ใหญ่นี้เป็นเพราะประเทศในแถบมหาสมุทรอินเดียเหล่านี้ยังขาดการจัดการเรื่องการป้องกันภัยสึนามิ ที่เห็นได้ชัดเจนคือังไม่มีระบบเตือนภัยคลื่อนสึคนามิที่สมบุรณ์พอ ดังเช่นประเทศในภุมิภาคมหาสมุทรแปซิฟิก ดังนัเ้นยูเนสโกและองค์การระห่างประเทศหลายแห่งจึงออกมาเคลื่อนไหว เรียกร้องให้มีการจัดตั้งระบบเตือนภัยสึนามิโลกขึ้น เพื่อลดความสูญเสียหากจะมีการเกิดภัยพิบัติครั้งต่อไป นอกเหนือจาการจัดตั้งระบบเตือนภัยสึนามิแล้ว วิะีการป้องกันภัยอีกอย่างหนึ่งที่เป็นประโยชน์และเข้าถึงประชาชนโดยตรง ได้แก่การใหความรู้ที่ถูกต้องเดกี่ยวกับสาเหตุการเกิดภัยพิบัติ ด้วยเหตุนี้กลุ่มผุ้วิจัยจึงเห็นสมควรให้มีการพัฒนาหลักสูตรการป้องกันภัยสึนามิ
- เปิดสอนให้แก่นักเรียนระดับประุถมศึกษาตอนปลายและมัธยมศึกษาตอนต้น ในดรงเรียนที่ตั้งอยุ่ในบริเวณที่เกิดภัยพิบัติสึนามิ โดยคาดหวังว่าเมื่อได้รับความรุ้จากการเรียนในโรงเรียนแล้วนักเรียนจะนำความรุ้เหล่านี้นไปขยายสู่รอบครัวแลชุมชน เพื่อใช้ให้เป็นประโยชน์ยามที่เกิดภัยพิพบัติต่อไปได้
- dpm.nida.ac.th/..การจัดการภัยพิบัติกับอาเซียน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น