สิงคโปร์ คนสิงคโปร์ชอบดำเนินชีวิตอยู่ในระเบียบกฎเกณฑ์ ชอบความเป็นระบบ มีการศึกษา มีรายได้สูง จึงมีกำลังซื้อค่อนข้างสูงไปด้วยนิยมสินค้าแบรนด์เนม ได้รับอิทธิพลเรื่องวัฒนธรรมและวิถีชีวิตจกตะวันตกค่อนข้างมาก โดยเฉพาะในกลุ่มวันรุ่น สนใจติดตามกระแสและแฟชั่นในตลาดโลกมาก กระแสนิยมในโลกมีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าสูง
ชาวสิงคโปร์ให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพค่อนข้ามาก นิยมทางอาหารเสริมเพื่อบำรุงร่างกาย ผุ้มีรายได้แลมีระดับการศึกษาสูงนิยมบริโภคอาหารออร์แกนิคมากขึ้ ผุ้หญิงสิงคโปร์มีความเป็นวัตถุนิยม และให้ความสำคัญเรื่องเงินมาก..("ไลฟ์สไตล์ รสนิยม และวัฒนธรรมของคนประเทศต่างๆ ในอาเซียน")
ร้านอาหารในสิงคโปร์มีมากมายที่สามารถเลือกได้ ตั้งแต่อาหารท้องถ่ินไปถึงอาหารนานาชาติ มีทั้งร้อนและเย็นให้เลือกทานได้ตลอดทั่วทั้งเกาะ อาหารและของใช้ต่างๆ สามารถหาได้อย่างง่ายดายในสิงคโปร์ อาหารประเภทเนื้อง ไก่ ปลา และอาหารทะเล ก็สามารถหาซื้อได้สะดวก นอกเหนือจากนั้นยังมีกาหารกระป๋องและอาหารแช่แข็งไว้คอยบริการ รวมทั้งผักและผลไม่ที่นำเข้าจากประเทศอื่นซึ่งอาจจะมีราคาสู๔งหว่าอาหารที่ผลิตขึ้นในประเทศในตลาดสดจะมีขาย อาหารนานาชนิด ซึ่งราคาไม่แพงนักราคาสินค้าบางอบ่างที่สิงคโปร์จะใกล้เคียง กับในประเทศไทย แต่บางอย่างอาจมีราคาที่่สูงกว่า เครื่องด่มประเภทแอลกอฮอล์ และบุหรี่ขยเช่นกันในสิงคโปร์ ตลอดจนเบียร์ที่ผลิตในประเทศเองและที่นำเข้าซุปเปอร์มาร์เกตส่วนใหญ่เปิดทำการถึง 21.00 น. ทุกวัน
อาหารสิงคโปร์นั้นราคาประหยัดและหาทานง่าย ราคาอาหารตามศูนย์อาหารและฟู้ดคอร์ทเริ่มต้นที่ 3 เหรียญ และมีอาหารให้เลือกมากมาย อาทิเช่น หลักซา ก๋วยเตี๋ยวผัดซีอิ๋ว สะเต๊ะ และข้าวมันไก่ รวมไปถึงภูเขาน้ำแข็งราดน้ำหวานหลากสีสันอย่าง ร้านอาหารที่ตนสิงคโปร์นิยมในศูนย์อาหารและร้านอาหารทั่วไป เช่น ศูนย์อาหารในย่าน บูกิส สตรีท, เลา ปา สาท, ไชน่าทาวด์ ฟูดส์สตรีท และตลาดย่าน
แมคเวลล์ โรดส์ มาร์เก็ตท์ แต่ยังมีสูนย์อาหารอร่อยขึ้นชื่อีกหลากหลายที่กระจายออยุ่ในชุมชนต่างๆ
แต่หากต้องการหลบอากาศร้อน ก็สามารถเลือกานตามศูนยอาหารติดเครื่องปรับอากาศ หรือที่ชาวสิงคโปร์เรียกว่า ฟู้ดคอร์ท ส่วนใหญ่จะอยู่ในห้างสรรพสินค้า ซึ่งจะเป็นแหล่งรวมอาหารที่หลากหลายการตกแต่งที่ทันสมัย แต่อาจจะมีปัญหาเรื่องของที่นั่งลางแห่งค่อนข้าองแน่น วิธีที่ดีที่สุดคือ มองหาแล้วนั่งจองที่นั่งกันก่อน ผลัดกันไปเลือกซื้ออาหาร ฟู้ดคอร์ทที่นิยมกันได้แก่ บูกิส จัทชั่น, คร้าค เคียว,สก็อต ฟินิค ฟู้ด คอร์ท, ทาคาชิมายา ฟู้ด วิลเลจ, โกปิเทียมและไชน่า สแควร์ ฟู้ด เซนเตอร์
สิงคโปร์เป็นประเทศที่มีความหลากหลายางเชื้อชาติ และมีนักท่องเที่ยวนิยมเดินทางมาท่องเที่ยว จึงมีอาหารที่หลากหลายให้เลือก ทั้ง อาหารจีน อิตาเลียน แอฟริกัน อินโดนีเซีย เวียดนาม เกาหลี รวมทั้งอาหารไทย และอื่นๆ อีกมากมายให้ลิ้มลอง
ไซเบอร์คาเฟ่ เป็นหนึ่งในความชื่นชอบของคนสิงคโปร์รุ่นใหม่ นอกจากมีการจำหน่ายกาแฟแล้วยังเป็นสถานที่ให้บริการทางด้านอินเตอร์เนต และเกมส์ออนไลน์ โดยทั่วไปอัตราค่าบริการอินเตอร์เนท 2 ดอลล่าสิงคโปร์ ต่อ 15 นาที และค่าบริการเกมส์ออนไลน์ 3 ดอลลาร์ ต่อ 30 นาที...(http//sites.google.com .. อาหารการกิน)
กีฬาในสิงคโปร์ ที่ชาวสิงคโปร์ชืนชอบได้แก่ ฟุตบอล คริกเก็ต แดมินตัน บาสเก็ตบอล รักบี้ ปิงปอง และวอลเลย์บอล ปกติแล้วในแถบย่านที่อยู่อาศัยของประชากรจะมีสิ่งอำนวยด้านสันทนาการจัดไว้ให้แล้ว กีฬาทางน้ำ เช่น ดำน้ำ สกีน้ำ เรือคายัก และว่ายน้ำ เป็นที่นิยมกันบนเกาะนี้ สนามกีฬาแห่ง
ชาติของสิงคโปร์เปิดให้บริการเมืองปี 1973และถูกใช้เป็นสถานที่แสดงทาง วัฒนธรรม แาารกีฬาและความยันเทิงต่างๆ และถูกปิดลงในปี 2007 หลังจากศูนย์กลางการกีฬาของสิงคโปร์ถูกสร้งขึ้นในพื้ที่ เดียวกัน นั้นในปี 2011 ชาวสิงคด)ร์สร้างผลงานได้ดีในด้านการกีฬาแลสันทนการการจนได้รับชื่อเสียงไปทัวโลก ด้วยการผสมผสานของวัฒนธรรม และความทั้นสมัย สิงคโปร์ได้มอบโครงสร้างทางศิลปะที่ดีที่สุดให้กับประชากรและนักท่องเทียว..(http//sites.google.com .. กีฬาประจำชาติของประเทศอเซยน)
ไนท์ไลฟ์ในสิงคโปร์ บาร์ชั้นนำไม่ว่าจะต้องการชิลล์เอาท์สบายๆ ที่บาร์ทันสมัย หรือร้องเพลงคลอไปกับวงดนตรีสด ที่นี่เต็มไปด้วยสภานบันเทิงหลากรูปแบบ อาทิ
เฮาส์ ออฟ แคนดี (House of Dandy) เฮาศื ออฟ แดนดี บาร์ที่อยุ่นใจใครหลายคน ซึ่งมีบรรยากาศที่อบอวนไปด้วยความหรูหราแห่งศตวรรษที่ยี่สิบสะ้อนผ่านการตกแต่างาย่ในที่งามง่าสมบุรรืแบบ ผนังกำแพงเต็มไปด้วยคำพูดของออสการ ไวลด์, ภายในตกแต่งด้วยโคมไฟของอีไซเนอร์ชื่อดัง และเกาอี้ที่ได้แรงบันดาลใจจากเครืองบินสองที่นั่งของกองทัพอังกฤษ และเมนูวิสกี้ที่ยาวเป็นหางว่าว หากคุณไม่ใช่นักดื่ม ทางร้านยังมีเมนูหลากหลายของเครื่องอื่มแอลดอฮาล์แบบบูทีค ค็อกเทลแลบบคลาสสิค และซิการ์ที่คุณจะต้องพึงพอใจ
เดอะบีสต์ The Beast วอฟเฟอร์กับเนื้อไก่ หมูบดปรุงรส ขนมปังข้าวโพดอบใหม่ แมคขชีสเบอร์เการ์ รายการอาหารเหล่านี้เป็นเพียงเมนูบางส่วนของอาหารทางใต้ที่น่าสนใจให้คุณได้ลิ้มลองที่ เตเตอะบีสต์ บาร์วิสกี้บูร์บงที่ตั้งอยุ่ในเขตฮิปๆ อย่างกัมโปงกลาม นอกจากนี้ ยังมีบริการอาหารเช้าควบกลางวันในทุกวันอาทิตย์อีกด้วย ห้ามพลาดโดนัทเบค่อนราดน้ำเชื่อมเมเปิ้ลและชาหอมหวานที่เป็นซิกเนเจอร์ของทางร้าน
ซุมอี๋ไท๋ Sum Yi Tai บาร์และภัตตาคารแห่งนี้ตั้งอยู่ในตึกแถวโบราณ โดยใช้ะีมย้อนอดีตสะท้อนภาพฮ่องกงในทศวรรษ 1980 ทาปาสแบบจีน เช่น หมูกรอบและขนมผักกาดซอส xo มีให้บริการที่ชั้นลางของร้าน ส่วนห้องอาหาร (มีห้องรับประทานอาหารแบบส่วนตัว) อยุ่ี่ช้นองของอาคาร และที่ชั้นสาม จะเป็นบาร์ส่วนตัวที่อยู่บนหลังคา ซึ่งจะเข้าใช้บริการได้ก็ต่อเมื่อได้รับเชิญหรือจองล่วงหน้าเท่านั้น
เดอะ ไลบราลี่ เฉพาะคนที่รู้รหัผ่านประจำสัปดาร์เท่านั้น ที่จะได้รับอนุญาตให้เดินผ่านประตูแห่งความลับของบาร์แห่งที่พรางตัวด้วยชั้นงางหนังสือใบใหญ่ เมื่อเข้าไปแล้วคุณจะได้พบกับแสงไฟสลัวๆ และเคาน์เตอร์ทองแดงที่ดุเป็นประกาย เครื่องดื่มรสนุ่มไม่บาดคอจะมาเสิร์ฟคุณในแก้วรูปทรงพิเศา เช่น ถ้าคุณสั่งค็อกเทล ชรับ อะ ดับ ดับ แก้วจะมีลัษณะเหมือนอ่างอาบน้ำเล็กๆ
วัน อัลทิจูด พาตัวคุณทะยานสุ่ท้องฟ้าเพื่อให้ห่างไกลจากศูนย์กลางทางธุรกิจอันวุ่นวาย สู่บาร์ที่สูงที่สุดในประเทศสิงคโปร์ สภานที่แบบทรีอินวันที่อยุ่สูงจากระดับน้ำทะล 282 เมตรนี้มีทั้งบาร์แบบโอเพ่นแอร์ (ซึ่งก็คือ 1-Altitude), Stellar ภัตตาคารระดับชนะเลิศรางวัล และแดนซ์คลับอย่าง Altimate มุ่งหน้าสู้ปาร์ตี้ยามเย็นที่สนุกสุดเหวี่ยง ในสถานที่ที่สุงที่สุดแห่งนี้ได้ในช่วงเวลา 18.00-20.00 น. ที่นั่นคุณจะได้พบกับเครื่องดื่มค็อกเทลสำหรับฤดูร้อน ดนตรีแจ๊สเพราะๆ และวิวทิวทัีศน์ที่สวยงามตระการตา
นีออน พีเจี้ยน Neon Pigeon ทุกอย่างในสภานที่พักผ่านสไตล์ญี่ป่นุสมัยใหม่แห่งนี้ คือนิยามของคำว่า ฮิป ตั้งแต่ภาพกราฟิตีบนกำแพงไปจนถึงแก้วค็อกเทลแบบนินจาที่ดุแปลกตา ในเมนู คุณจะได้พบกัยอาหารสไตล์เอเชียอย่างเบอร์เกอร์ลูกชิ้นไก่ ข้าวฟักทองอบมิโสะและซุปข้าวสั่งค็อกเทล เช่น ฮาราจูกุเกิร์ล ซึ่งเป็นสวนผสมระหวางฟอร์ดส์ จิน ความขมจากฟรีบราเธอร์ส พลัม บิทเทอร์ และใบชิโสะ..( m.suvarnabhumiairport.com./..ไนท์ไลฟ์ในสิงคโปร์ บาร์ชั้นนำ 6 แห่งที่าคุณต้องไม่พลาด)
วันพุธที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2560
วันอังคารที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2560
A journey through ASEAN
มองอาเซียนผ่านวรรณกรรม
แมุ้กวันนี้สื่ออย่าง "วรรณกรรม" จะเป็นสื่ออันดับท้ายๆ ที่จนไทยจะให้ความสำคัญ เพราะสื่ออื่นๆ อย่างอินเทอร์เนตและโทรทัศน์ดูจะเป็นสื่อที่เข้าถึงได้ง่ายกว่า แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าสื่อวรรณกรรมคือสื่อที่มอิทธิพลและสามารถสื่อสารใจความสำคัญไปสู่วงกว้างได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และในโอกาสที่ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน หลายภาคส่วนกำลังประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรู้จักประเทศเพือนบ้านมากขึ้นผ่านหลายๆ สื่อ ซึ่งสื่อ "วรรณกรรม"ก็เป็นสื่อหนึ่งที่ได้รับการหยิบยกขึ้นมาใช้ในโอกาสนี้ด้วย จึงเกิดเป็น โครงการวรรณกรรมอาเซียน ที่มีจุดระสงค์เพือใช้สื่อวรรณกรรมในการสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจในประเทศเพือนบ้าน
อุทยานการเรียนรู้ TK Park จัด นิทรรศการพิพิธอาเซียน ตอน หลากความเหมือนหลายความต่าง ที่เป็ิดประตูสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้และเข้าใจมุมมองความแตกต่างที่เป็นหน่งเดี่ยวของประเทศสมาชิก ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้หลากหลายรูปแบบ ซึ่งส่นหนึงของ
นิทรรศการในครั้งนี้ เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคมที่ผ่านมา ก็เป็นการเสวนดีๆ ทีชือว่า "อินสไปร บาย ไอดอล วรรณกรรมสร้างความเป็หนึ่ง" โดยวิทยากร คุณหญิงลักษณาจันทร เลาหพันธุ์ นายกสมาคมอาเซียน - ประเทศไทย และ คุณประภัสสร เสวิกุล นักเขียนชื่อดังและศิลปินแห่งชาติสาขา วรรณศิลป์ ดำเนินการเสวนาโดย คุณวิภาว์ บูรพาเตชะ บรณาธิการนิตยสาร แฮปเปนนิ่งส์
ต้องยอมรับว่าคนไทยรุ้จักประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียนน้อยมาก สมาคมอาเซียน-ประเทศไทยจึงจัด โครงการวรรณกรรมอาเซียนขึ้นมา โดยมีคุณหญิงลักษณาจันทรเป็นผู้คิริเร่ิมโครงการนี้ และได้นักเขียนคุณภาพอย่างคุณประภัสสร เสวีกุล เป็นนักเขียนท่านแรกที่เขียนวรรณกรรมที่เกี่ยวกับอาเซยนขึ้นมา "โชคดีที่วงการนักเขียนมีคุณประภัสร ท่านเป้นสิลปินแห่งชาติและนกเขียนวรรณกรรมที่คนไทยื่นชมหลยเรื่อง จึงให้คุณประภัสรเข้ามาช่วย ดดยกรให้ท่านเดินทางไปหาข้อมูลเกี่ยวกับอาเซียนมานำเสนอในรูปแบบนวนิยาย ทำให้คนอ่านได้รู้จักวิถีชีวิต ความนึกคอด ประวัติศตร์ และวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้านมาขึ้น" คุณหญิงลักษณาจันทรกล่าวถึงจุดเริ่มต้นของโครงการนี้
ทางคุณประภันสเอง เมื่อสมัยที่ยังเป็นนายกสมาคมนักเขียน ก็เคยได้ร่วมโครงการวรรณกรรรมสัมพันธ์ ซึ่งมีการรวมวรรณกรรมของไทยและกัมพูชารวมไว้ในเล่มเดียวกัน และต่อมาก็ขยายไปยังเวียดนามและลาว คุณประภัสสจึงมีความคุ้นเคยกับนักประพันธของเพื่อบ้านและความเป็นมาต่างๆ ได้ดีขึ้น ผมได้เดินทางไปยังประเทศเหล่านี้เพื่อไปสัมผัสชีวิตจริงๆ ทงการทูตต่่างประเทศก็ช่วยเหลือติดต่อประสานงานให้ มีโอกาสพบปะพูดคุยกับคนทั้งประชาชนทั่วไป นักวิชาการ นักประวัติศาสตร์ ผู้นำทางศาสนา ผุ้นำทางสังคมต่างๆ ซึ่งเป็นประโยขน์ในการเขียนหนังสือมาก" คุณประภัสสรเล่าถึงการทำงานในโครงการนี้
หนังสือเล่มแรกในโครงการนี้ เป็นวรณกรรมที่เกี่ยวกับประเทศอินโดนีเซยที่ชื่อว่า จะผันถึงเธอทุกคือที่มีแสงดาว เล่าถึงมิตรภาพและความสัมพันธ์ในวัยเยาว์ของเพื่อชาวไทยและอินโดนีเซีน ที่ไม่ได้เปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา โดยมีพื้นหลังเป็นประวัติช่วงสั้นๆ ของอินโดนีเซียที่ต่อสุ้เพื่อเอกราช และการเผชิญความทุกข์ยากของชาวเวียดนาม จนถึงความเปลี่ยนแปลงทางเศาบกิจของ ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และมาเลเซีย โดยในแต่ละเรื่องคุณประภัสจะประพันธ์ใหไม่มีความเชื่อมโยงกัน มีวิธีการนำเสนอที่ต่างกัน ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของประเทศนั้นๆ เพื่อให้เกิดความน่าสนใจ
การสร้างประชาคมอาเซียนนั้น ไม่ได้มีแต่ใแงเศาฐกิจอย่างเดียว ยังมีด้านอื่นๆ อีกด้วย การสร้างความเข้าใจผ่านงานวรรณกรรมทั้งในแง่วิถีชีวิตและวัฒนธรรม จึงเป็นส่งิที่จำเป็นอย่างยิ่ง "เราอาจจะลืมไปว่าที่จริงเราอยู่กันใกล้มาก แต่เราไม่รู้จักกันเลย ในความนึกคิดอย่างของคนอินโดนีเซียนหรือฟิลปปินส์ก็ดี เขาภูมิใจที่ได้ต่อสู้เพือเกา ประเทศไทยอาจจะโชคดีที่ไมต้องผ่านสิ่งเหล่านี้ ซึ่งทำให้เราไม่เห็น ซึ่งวรรณกรรมสามารถทำลายกำแพงเหล่านี้ลงได้ และอีกเหตุผลหนึงี่ทำให้เราไม่รู้จักประเทศเพื่อบ้านเลย นั่นคือเรื่องของภาษา "ภาษาเป็นอุปสรรคท่ชัดเจน เราไม่ร้ภาษาเพื่อบ้านและเราไม่รู้ภาษาอังกฤษเพียงพอที่จะเขียนนวนิยายเป็นภาษาอังกฤษ น่าเสียดายมากๆ ที่ภูมิภาคเรามีรางวัลซีไรต์ แต่คนไทยกลับไม่รู้จัเท่าที่คว กลับไปรู้ักนกเขียนต่างชาติมากกว่า
คำถามหนึ่งที่หลายคนสงสัยว่า การศึกษาประเทศเพื่อบ้านผ่านวรรณกรรม จะดีกว่าการศึกษาประวัติศาสตร์อยางไร ซึ่งประวัติศาสตร์ก็น่าจะให้ข้อเท็จจริงได้มากกว่า คุณหญิงลักษณาจันทรจึงให้คำตอบว่า ไอย่ากจะเรียนว่า เราไม่ได้มจุดประสงค์ใการเขียนประวัติศาสตร์ จึงเป็นเหตุผลว่าทำไมจึงเป็นนวนิยาย เรารู้อยู่แล้วว่าประวัติศาสตร์มีปัญหาค่อนข้างเยอะ ก็รอให้ผู้ท่เชี่ยวชาญมาจัดการในเรื่องนั้นด้วยตนเอง แต่อย่างน้อยเราสามารถสร้างความรู้สึกร่วมในคนไทยกับประเทศเพือบ้านได้ ผ่านข้อมูลเชิงบวกของแต่ละประเทศ ซึ่งคุณประภัสสเข้าไปสัมผัสมาและนำเสนอ ตัวอย่างเรื่อง รักในม่านฝน ที่เป็นเรื่องราวของเวียดนาม อ่านแล้วก็เกิดความรู้สึกทีดีต่อคนเวียดนาม ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่สุด นวนิยยสามารถเปลี่ยนแนวคิดของผู้อ่านได้ สอนให้เราคิดกับประเทศเพื่อบ้านในเชิงบวก ราเหล้าของวรรณกรรมเป็นสื่อที่ชัดเจนและง่าย ที่จะช่วยสร้างมูลค่าและเป็นสะพานสร้างสมพันธ์ภาพทีดีระหว่างกัน" คุณประภัสสรจงช่วยเสริมว่า "ผมอยากเห็นคนไทยภูมิภาคนี้อ่านหนังสือเล่มเดียวกัน คนเราพูดกันคนละอย่างเพราะอ่านหนังสือคนละเล่ม"
จุดประสงค์หลักของประชาคมอาเซียน คือการทำให้ประเทศทั้งหมดในอาเซียนเป็นหนึ่งเดียวกัน ซึ่งพลังของวรรณกรรมก็ป็ส่วนหนึ่งในกรสร้างอัตลักษณ์นี้ขึ้นมาได้ แม้แต่ละประเทศจะมีความ
แตกต่างกันอยู่มากก็ตาม "เราต้องยอมรับว่าประเทศในอาเซียนมีความแตกต่าง แต่ในความแตกต่างนั้นก็มีความเหมือนกันอยู่ อยา่งนิทานพื้นบ้านของแต่ละประเทศก็มตัวละครเหมือนกันเยอะ หรือแม้แต่ภาษาก็มีรากของภาษาที่มาจากที่เดียวกัน อีกทั้งประเพณีต่างๆ ก็มีความคล้ายคลึงกัน เราต้องกลับมาอ่านงานวรณกรมของภุมิภาคเรา เพื่อจะได้เชื่อมโยงและเข้าใจว่าความมีอัตลักษณ์เดียวกันเป็นอย่างไร" คุณหญิงลักษาจันทรแสดงทัศนะ
แน่นอนว่าโครงการนี้จะไม่สำเร็จ หากหนังสือวรรณกรรมดีๆ เหล่านี้ไปไม่ถึงผู้อ่าน โดยเฉพาะอยางยิ่งเยาวชน คุณหญิงลักษณาจันทรจึงมี
ความคาดหวงต่อไปว่า "สถาบันกรศึกษาควรจะรับหนังสือเหล่านี้เข้าำปเป็นส่วนหนึ่งของหนังสืออ่านอกเวลาเรียนของเยาวชนอย่าลือมว่การศึกษาของปะเทศเราก็เป็นปัญหาหนึ่งที่กำลังหาทางออก แต่การให้เด็อ่านหนังสือดีๆ และให้เขยนสิ่งที่ได้จากกรก่า ซึ่งไม่จำเป็นต้องเห็นมุมเดียวกัน อาจจะมีมุมมองที่ต่างกัน ซึ่งเป็นส่ิงที่เราอยางเห็น"
และท้ายที่สุดจุดประสค์ของโครงการนี้ ก็คือการรวมประเทศทั้งหมดในอาเซียนให้เป็นหนึ่งเดี่ยวกัน รวมไปถึงลดควมขัดแย้งที่เคยเกิดขึ้น เช่นเดียวกันจุดประสงค์ของประชาคมอาเซียน "เราอยยู่ในความเกลียดชัและไม่เข้าใจกันมานานพอสมควร เราอยู่ในประชาคมอาเซียนแล้ว ถ้ายังมีอคติต่อกันจะอยู่ด้วยกันลำบาก ผมคิดว่าเป็นหน้าที่ของนักเขียนที่ต้องช่วยสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศเพื่อบ้าน เราไม่สามารถอยู่ลำพังประเทศเดียวได้ เราต้องอยู่ร่วมกันเป็นประชาคม ซึ่งวิธีการอยู่่ร่วมกันที่ดีคือทำความรู้จักและเข้าใจกัน" คุณประภัสสรทิ้งท้าย
วรรณกรรมอาจจเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยให้เรารู้จักและเข้าใจประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียนได้มากขึ้น แต่สิ่งที่สำคัญกว่านั้นคือการสร้างทัศนคติที่ดีต่อกัน ความเป็ประชาคมอาเซียนจึงจะเกิดขึ้นโดยสมบูรณ์..
- http//www.tkpark.or.th/...มองอาเซียนผ่านวรรณกรรม, วิชญ์พล พลพิทักษ์ชัย
แมุ้กวันนี้สื่ออย่าง "วรรณกรรม" จะเป็นสื่ออันดับท้ายๆ ที่จนไทยจะให้ความสำคัญ เพราะสื่ออื่นๆ อย่างอินเทอร์เนตและโทรทัศน์ดูจะเป็นสื่อที่เข้าถึงได้ง่ายกว่า แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าสื่อวรรณกรรมคือสื่อที่มอิทธิพลและสามารถสื่อสารใจความสำคัญไปสู่วงกว้างได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และในโอกาสที่ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน หลายภาคส่วนกำลังประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรู้จักประเทศเพือนบ้านมากขึ้นผ่านหลายๆ สื่อ ซึ่งสื่อ "วรรณกรรม"ก็เป็นสื่อหนึ่งที่ได้รับการหยิบยกขึ้นมาใช้ในโอกาสนี้ด้วย จึงเกิดเป็น โครงการวรรณกรรมอาเซียน ที่มีจุดระสงค์เพือใช้สื่อวรรณกรรมในการสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจในประเทศเพือนบ้าน
อุทยานการเรียนรู้ TK Park จัด นิทรรศการพิพิธอาเซียน ตอน หลากความเหมือนหลายความต่าง ที่เป็ิดประตูสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้และเข้าใจมุมมองความแตกต่างที่เป็นหน่งเดี่ยวของประเทศสมาชิก ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้หลากหลายรูปแบบ ซึ่งส่นหนึงของ
นิทรรศการในครั้งนี้ เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคมที่ผ่านมา ก็เป็นการเสวนดีๆ ทีชือว่า "อินสไปร บาย ไอดอล วรรณกรรมสร้างความเป็หนึ่ง" โดยวิทยากร คุณหญิงลักษณาจันทร เลาหพันธุ์ นายกสมาคมอาเซียน - ประเทศไทย และ คุณประภัสสร เสวิกุล นักเขียนชื่อดังและศิลปินแห่งชาติสาขา วรรณศิลป์ ดำเนินการเสวนาโดย คุณวิภาว์ บูรพาเตชะ บรณาธิการนิตยสาร แฮปเปนนิ่งส์
ต้องยอมรับว่าคนไทยรุ้จักประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียนน้อยมาก สมาคมอาเซียน-ประเทศไทยจึงจัด โครงการวรรณกรรมอาเซียนขึ้นมา โดยมีคุณหญิงลักษณาจันทรเป็นผู้คิริเร่ิมโครงการนี้ และได้นักเขียนคุณภาพอย่างคุณประภัสสร เสวีกุล เป็นนักเขียนท่านแรกที่เขียนวรรณกรรมที่เกี่ยวกับอาเซยนขึ้นมา "โชคดีที่วงการนักเขียนมีคุณประภัสร ท่านเป้นสิลปินแห่งชาติและนกเขียนวรรณกรรมที่คนไทยื่นชมหลยเรื่อง จึงให้คุณประภัสรเข้ามาช่วย ดดยกรให้ท่านเดินทางไปหาข้อมูลเกี่ยวกับอาเซียนมานำเสนอในรูปแบบนวนิยาย ทำให้คนอ่านได้รู้จักวิถีชีวิต ความนึกคอด ประวัติศตร์ และวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้านมาขึ้น" คุณหญิงลักษณาจันทรกล่าวถึงจุดเริ่มต้นของโครงการนี้
ทางคุณประภันสเอง เมื่อสมัยที่ยังเป็นนายกสมาคมนักเขียน ก็เคยได้ร่วมโครงการวรรณกรรรมสัมพันธ์ ซึ่งมีการรวมวรรณกรรมของไทยและกัมพูชารวมไว้ในเล่มเดียวกัน และต่อมาก็ขยายไปยังเวียดนามและลาว คุณประภัสสจึงมีความคุ้นเคยกับนักประพันธของเพื่อบ้านและความเป็นมาต่างๆ ได้ดีขึ้น ผมได้เดินทางไปยังประเทศเหล่านี้เพื่อไปสัมผัสชีวิตจริงๆ ทงการทูตต่่างประเทศก็ช่วยเหลือติดต่อประสานงานให้ มีโอกาสพบปะพูดคุยกับคนทั้งประชาชนทั่วไป นักวิชาการ นักประวัติศาสตร์ ผู้นำทางศาสนา ผุ้นำทางสังคมต่างๆ ซึ่งเป็นประโยขน์ในการเขียนหนังสือมาก" คุณประภัสสรเล่าถึงการทำงานในโครงการนี้
หนังสือเล่มแรกในโครงการนี้ เป็นวรณกรรมที่เกี่ยวกับประเทศอินโดนีเซยที่ชื่อว่า จะผันถึงเธอทุกคือที่มีแสงดาว เล่าถึงมิตรภาพและความสัมพันธ์ในวัยเยาว์ของเพื่อชาวไทยและอินโดนีเซีน ที่ไม่ได้เปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา โดยมีพื้นหลังเป็นประวัติช่วงสั้นๆ ของอินโดนีเซียที่ต่อสุ้เพื่อเอกราช และการเผชิญความทุกข์ยากของชาวเวียดนาม จนถึงความเปลี่ยนแปลงทางเศาบกิจของ ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และมาเลเซีย โดยในแต่ละเรื่องคุณประภัสจะประพันธ์ใหไม่มีความเชื่อมโยงกัน มีวิธีการนำเสนอที่ต่างกัน ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของประเทศนั้นๆ เพื่อให้เกิดความน่าสนใจ
การสร้างประชาคมอาเซียนนั้น ไม่ได้มีแต่ใแงเศาฐกิจอย่างเดียว ยังมีด้านอื่นๆ อีกด้วย การสร้างความเข้าใจผ่านงานวรรณกรรมทั้งในแง่วิถีชีวิตและวัฒนธรรม จึงเป็นส่งิที่จำเป็นอย่างยิ่ง "เราอาจจะลืมไปว่าที่จริงเราอยู่กันใกล้มาก แต่เราไม่รู้จักกันเลย ในความนึกคิดอย่างของคนอินโดนีเซียนหรือฟิลปปินส์ก็ดี เขาภูมิใจที่ได้ต่อสู้เพือเกา ประเทศไทยอาจจะโชคดีที่ไมต้องผ่านสิ่งเหล่านี้ ซึ่งทำให้เราไม่เห็น ซึ่งวรรณกรรมสามารถทำลายกำแพงเหล่านี้ลงได้ และอีกเหตุผลหนึงี่ทำให้เราไม่รู้จักประเทศเพื่อบ้านเลย นั่นคือเรื่องของภาษา "ภาษาเป็นอุปสรรคท่ชัดเจน เราไม่ร้ภาษาเพื่อบ้านและเราไม่รู้ภาษาอังกฤษเพียงพอที่จะเขียนนวนิยายเป็นภาษาอังกฤษ น่าเสียดายมากๆ ที่ภูมิภาคเรามีรางวัลซีไรต์ แต่คนไทยกลับไม่รู้จัเท่าที่คว กลับไปรู้ักนกเขียนต่างชาติมากกว่า
คำถามหนึ่งที่หลายคนสงสัยว่า การศึกษาประเทศเพื่อบ้านผ่านวรรณกรรม จะดีกว่าการศึกษาประวัติศาสตร์อยางไร ซึ่งประวัติศาสตร์ก็น่าจะให้ข้อเท็จจริงได้มากกว่า คุณหญิงลักษณาจันทรจึงให้คำตอบว่า ไอย่ากจะเรียนว่า เราไม่ได้มจุดประสงค์ใการเขียนประวัติศาสตร์ จึงเป็นเหตุผลว่าทำไมจึงเป็นนวนิยาย เรารู้อยู่แล้วว่าประวัติศาสตร์มีปัญหาค่อนข้างเยอะ ก็รอให้ผู้ท่เชี่ยวชาญมาจัดการในเรื่องนั้นด้วยตนเอง แต่อย่างน้อยเราสามารถสร้างความรู้สึกร่วมในคนไทยกับประเทศเพือบ้านได้ ผ่านข้อมูลเชิงบวกของแต่ละประเทศ ซึ่งคุณประภัสสเข้าไปสัมผัสมาและนำเสนอ ตัวอย่างเรื่อง รักในม่านฝน ที่เป็นเรื่องราวของเวียดนาม อ่านแล้วก็เกิดความรู้สึกทีดีต่อคนเวียดนาม ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่สุด นวนิยยสามารถเปลี่ยนแนวคิดของผู้อ่านได้ สอนให้เราคิดกับประเทศเพื่อบ้านในเชิงบวก ราเหล้าของวรรณกรรมเป็นสื่อที่ชัดเจนและง่าย ที่จะช่วยสร้างมูลค่าและเป็นสะพานสร้างสมพันธ์ภาพทีดีระหว่างกัน" คุณประภัสสรจงช่วยเสริมว่า "ผมอยากเห็นคนไทยภูมิภาคนี้อ่านหนังสือเล่มเดียวกัน คนเราพูดกันคนละอย่างเพราะอ่านหนังสือคนละเล่ม"
จุดประสงค์หลักของประชาคมอาเซียน คือการทำให้ประเทศทั้งหมดในอาเซียนเป็นหนึ่งเดียวกัน ซึ่งพลังของวรรณกรรมก็ป็ส่วนหนึ่งในกรสร้างอัตลักษณ์นี้ขึ้นมาได้ แม้แต่ละประเทศจะมีความ
แตกต่างกันอยู่มากก็ตาม "เราต้องยอมรับว่าประเทศในอาเซียนมีความแตกต่าง แต่ในความแตกต่างนั้นก็มีความเหมือนกันอยู่ อยา่งนิทานพื้นบ้านของแต่ละประเทศก็มตัวละครเหมือนกันเยอะ หรือแม้แต่ภาษาก็มีรากของภาษาที่มาจากที่เดียวกัน อีกทั้งประเพณีต่างๆ ก็มีความคล้ายคลึงกัน เราต้องกลับมาอ่านงานวรณกรมของภุมิภาคเรา เพื่อจะได้เชื่อมโยงและเข้าใจว่าความมีอัตลักษณ์เดียวกันเป็นอย่างไร" คุณหญิงลักษาจันทรแสดงทัศนะ
แน่นอนว่าโครงการนี้จะไม่สำเร็จ หากหนังสือวรรณกรรมดีๆ เหล่านี้ไปไม่ถึงผู้อ่าน โดยเฉพาะอยางยิ่งเยาวชน คุณหญิงลักษณาจันทรจึงมี
ความคาดหวงต่อไปว่า "สถาบันกรศึกษาควรจะรับหนังสือเหล่านี้เข้าำปเป็นส่วนหนึ่งของหนังสืออ่านอกเวลาเรียนของเยาวชนอย่าลือมว่การศึกษาของปะเทศเราก็เป็นปัญหาหนึ่งที่กำลังหาทางออก แต่การให้เด็อ่านหนังสือดีๆ และให้เขยนสิ่งที่ได้จากกรก่า ซึ่งไม่จำเป็นต้องเห็นมุมเดียวกัน อาจจะมีมุมมองที่ต่างกัน ซึ่งเป็นส่ิงที่เราอยางเห็น"
และท้ายที่สุดจุดประสค์ของโครงการนี้ ก็คือการรวมประเทศทั้งหมดในอาเซียนให้เป็นหนึ่งเดี่ยวกัน รวมไปถึงลดควมขัดแย้งที่เคยเกิดขึ้น เช่นเดียวกันจุดประสงค์ของประชาคมอาเซียน "เราอยยู่ในความเกลียดชัและไม่เข้าใจกันมานานพอสมควร เราอยู่ในประชาคมอาเซียนแล้ว ถ้ายังมีอคติต่อกันจะอยู่ด้วยกันลำบาก ผมคิดว่าเป็นหน้าที่ของนักเขียนที่ต้องช่วยสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศเพื่อบ้าน เราไม่สามารถอยู่ลำพังประเทศเดียวได้ เราต้องอยู่ร่วมกันเป็นประชาคม ซึ่งวิธีการอยู่่ร่วมกันที่ดีคือทำความรู้จักและเข้าใจกัน" คุณประภัสสรทิ้งท้าย
วรรณกรรมอาจจเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยให้เรารู้จักและเข้าใจประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียนได้มากขึ้น แต่สิ่งที่สำคัญกว่านั้นคือการสร้างทัศนคติที่ดีต่อกัน ความเป็ประชาคมอาเซียนจึงจะเกิดขึ้นโดยสมบูรณ์..
- http//www.tkpark.or.th/...มองอาเซียนผ่านวรรณกรรม, วิชญ์พล พลพิทักษ์ชัย
วันจันทร์ที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2560
ASEAN Cultural
ศิปลวัฒนธรรมและประเพณีอาเซียน 10 ประเทศ
- ประเทศไทย ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของไทย ได้รับอิทธิพลจากมอญ ขอม อินเดีย จีนและชาติตะวันตก แต่มเอกลักษณ์ในด้านความงดงาม ประณีต และผูกพันอยู่กับพระพุทธศาสนา
การไหว้ เป็นประเพณีการทักทายที่ถือเป็นเอกลักษณ์โดดเด่นของไทย โดยเป็นกรแสดงถึงควมีสัมมาคารวะและให้เกี่ยรติกันและกัน นอกจากการทักทาย การไหว้ยังมความหมายเพื่อการขอบคุณ ขอโทษ หรือกล่าวลาด้วย
โขน เป็นนาฎศิลป์เก่าแก่ของไทย มีลักษณะสำคัญที่ผู้แสดงต้องสวมหัวโขนทั้งหมด ยกเว้น ตัวนาง พระ และเทวดา ซึ่งแสดงโดยใช้ท่ารำและท่าทางประกอบทำนองเพลงดำเนินเรื่องอ้วยบทพากย์และบทเจรจาส่วนเรื่องที่นิยมแสดงคือ รามเกียรติ์
สงกรานต์ ประเพณีเก่าแก่ ซึ่งถือเป็นการเฉลิมฉลองวันขึ้นปีใหม่ของไทยทที่ยึดถือปฏิบัติกัน โดยจะมีการ รดน้ำ ขอพรผู้ใหญ่ สรงน้ำพระ ทำบุญตักบาตร ปล่อยนกปล่อยปลา ขนทรายเข้าวัดและก่อเจดีย์ทราย รวมทั้งมีการเล่น สาดน้ำเพื่อความสนุกสนานด้วย
- สาธารณะประชาธิปไตยประชาชนลาว วัฒนธรรมของลาวจะมีความคล้ายคลึงกับวัฒนธรรมทางภาคอีสาน ของไทยมาก
ด้านดนตรีแคน ถือเป็นเครื่องดนตรีประจำชาติ โดยมี วงดนตรีคือ วงหมอลำ และมีรำวงบัดสลบ ซึ่งเป็นการเต้นท่มีท่าตามจังหวะเพลง โดยจะเต้นพร้อมกันไปอย่างเป็นระเบียบถือเป็นการรวมสนุกกันของชาวลาวในงนมงคลต่างๆ
การตักบาตรข้าวเหลี่ยว ถือเป็นจุดเด่นของเมืองหลวงพระบาง ซึ่งโดยปกติแล้วนิยมใส่บาตรด้วยข้าวเหนียวเพียงอย่างเดียว เพราะเมื่อ ถึงเวลาฉัน ชาวบ้านจะยกสำรับกับข้าวไปถวายที่วัด เรียกว่า "ถวายจังหัน" โดยเวลาใส่บาตรจะนั่งคุกเข่าและผู้หญิง ต้องนุ่งซิ่น ส่วนผู้ชยนุ่งกางเกงขายาว และมีผ้าพาดไหล่ไว้สำหรับเป็นผ้ากรอบพระเหมือนกัน
- ประเทศมาเลเซีย ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของมาเลเซียนั้น ด้วยเหตุที่มีหลยชนชาติอยู่รวมกันทำให้ดินแดนแห่งนี้เต็มไปด้วยวัมนธรรมท่แตกต่างหลากหลายผสมผสนกัน ซึ่งม ทั้งการผสานวัฒนธรรมกชนชาติอื่นๆ และการรักษาวัฒนธรมประเพณีของชนแต่ละกลุ่มใแ่ละพื้ที่
การรำซาบิน เป็นการแสดงการฟ้อนรำหมู่ ซึ่งเป็นศิลปะพื้นเมืองของชาวมาเลเซียโดยเป็นการฟ้อนรำที่ได้รับอิทธิพลมาจากอินแดนอาระเบีย โดยมผู้แสดงเป็นหญิงชายจำนวน 6 คู่เต้นตามจังหวะของกีตาร์ แบบอาระเบียนและกลองเล็กสองหน้าที่บรรเลงจากช้าไปเร็ว
เทศกาลทาเดา คาอามาดัน ป็นเทศกาลประจำปีในรัฐซาบาห์ จัดในช่วงสิ้นเดือน พฤษภาคม ซึ่งเป็นช่วงสิ้นสุดของฤดูการเก็บเกี่ยวข้าและเร่มต้นฤดูกาลให่ โดยจะมีพิธีกรรมตามความเชื่อในการ ทำเกษตร และีการแสดงระบำพื้นเมือง และขับร้องบทเพลงท้องถิ่นเพื่อเฉลิมฉลงด้วย
- ประเทศสิงคโปร์ ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของสิงคโปร์ เนื่องจากสิงคโปร์เป็นประเทศที่มีประชากรหลกหลายเชื้อชาิหลากหลายศาสนาทำให้ประเทศนี้มีศิลปวัฒนธรมที่หลากหลาย สำหรับเทศกาลที่สำัญของสิงคโปร์ก็จะเป็นเทศกาลเกี่ยวข้องกับความเชื่อทางศาสนาเช่น
เทศกาลตรุษจีน เทศกาลขึ้นปีใหม่ของชาวจีนที่จัดขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์, เทศกาลวิสาขบูชา จัดขึ้นเพื่อระลักถึงการะประสูติ ตรัสู้ และปรินิพพานของพระพุทธเจ้าของชาวพุทธในเดือพฤษภาคม, เทศการ Hari Raya Puasa เทศกาลการเฉลิมฉลองของขาวมุสลิมที่จัดขึ้นเมื่อสิ้นสุดพิธีถือศิลอดหรือ อมฎอนในเดือนตุลาคม. เทศกาล Deepavali เทศกาลแห่งแสงสว่างและเป็นงานขึ้นปีใหม่ของชาวฮินดู ที่จัดขึ้นเดือน พฤศจิกายน
- ประเทศอินโดนีเซีย ศิลปวัฒนธรรมอินโดนีเซีย มีชนพื้นบ้านหลายชาติพนธุ์กระจายกันอยู่ตามเกาะ ทำให้วัฒนธรรมประเพณีในแต่ละท้องที่แตกต่างกันไป
ระบำบางรอง ละครพื้นเมืองดั้งเดิมของเกาะบาหลี มีการใช้หน้ากากและเชิดหุ่นเป็นตัวละคร โดยมีการเลนดนตรีสดประกอบการแสดง เรื่องราวเป็นการตอสู้กันของ บารอง คนครึ่งสิงห์ ซึ่งเป็นตัวแทนฝ่ายความดี กับรังดา พ่อดหมอผีตัวแทนฝ่ายอธรม ดดยฝ่ายธรรมะได้รับชัยชนะในที่สุด
ผ้าบาติก หรือ ผ้าปาเต๊ะ เป็นผ้าพื้นเมืองของอินโดนีเซียที่มีวิธีการทำโดยใช้เทียนปิดสวนที่ไมต้องการให้ติดสี และใช้วธีการเเต้มระบาย หรือ ย้อมในส่วนที่ต้องการให้ติดสี ผ้าบาติกนิยมใช้เป็นเครื่องแต่งการของหนุ่มสาว โดยใช้เป็นผ้าโพกศรีษะชาย ผ้าคลุม ศรีษะหญิง ผ้าับกางเกงชาย และโสร่ง หรือผ้าที่ใช้นุ่งโดยการพันอบตัว ซึ่งส่วนที่เรียกว่า "ปาเต๊ะ" คือสวนที่ต้องนุ่งใหรงกับสะโพก โดยมีลวดลายสีสันต่างไปจากส่วนอื่นๆ ใผ้าผืนเดี่ยวกันนั่นเอง
- ประเทศเวียนดนาม ศิปลวัฒนธรรมและประเพณีของเวียดนาม ส่วนใหญ่จะได้รัอชบอิทธิพลจากจนและฝรั่งเศส เวียนดนามมีเทศกาลที่สำคัญ คือ
เทศกาลเต็ด หรือ "เต็ดเหวียนดาน" หมายถึง เทศกาลแห่งรุ่งอรุณแรกของปี ถือเป็น เทศกาลทางศาสนาที่สำคัญที่สุดมีขึ้นในช่วงปลายเดือนมกราคมถึงต้นเดือนกุมภาพันธืเป็นการเฉลิมฉลองคามเชื่อ ในเทพเจ้า ลัทธิเต๋า ขงจื้อ และศาสนาพุทธ รวมทั้งเป็นการแสดงความเคารพต่อบรรพบุรุษด้วย
เทศกาลกลางฤดูใบไม่ร่วง จัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 ของทุกปี ชาวบ้านจะประกวดทำขนมเปี๊ยะโก๋ญวนหรือบันตรังทู ที่มีรูปร่างกลม มีใส้ถั่วและไส้ผลไม่ และมีการจัดขบวนเชิดมังกร เพื่อแสดงความเคารพต่อพระจันทร์ จะมีการเฉลิมฉลองกับขนมเค้กสำหรับเด็กและครอบครัวของพวกเขาที่ดุดวงจันทร์ ขบวนของโคมๆฟและโคมๆฟ ดวงจันทร์จะถูกใช้เป็นสัญลักษณ์สำหรับความเจริญรุ่งเรืองในช่วงเศกาลจะมีกล่องเค้กในรูปร่างของดวงจันทร์ เพื่อเพื่อนและครอครัว ในเวลกลางคือนเด็กจะเดินขบวนใถนนร้องเพลงในขณะที่ส่งมอบโคมไฟจีนสีในมือ โคมไฟเหล่านี้จีนมีเที่ยนที่ส่องสว่างสวยงามตามท้องถนน
- ประเทศพม่า ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของพม่า พม่าได้รับอิทธิพลจกจีน อินเดีย และไทยมานาน จึงมีมีการผสานวัฒนธรมเหล่นี้เข้ากับวัฒนธรรมของตนจนเป็นเอกลักษณ์ นอกจากนี้ยังได้รับอิทธิพลจกพุทธศาสนา จึงเกิดประเพณี สำคัญ เช่น
ประเพณีปอยส่างลอง หรืองารบวชบูกแด้ว เป็นงารบวชเณรที่สืบทอดกันมานาน และชาวเมียนมาร์ให้ความสำคัญมา เพราะถือเป็นบุญอันยิ่งใหญ่ของครอบครัว
งานไหว้พุทธเจดีย์ประำปี ซึ่งแต่ละที่มักนิยมจัดในเดือนหลังออกพรรษาถือเป็นงานเฉลิมฉลองที่สนุกสนา และได้ทำบุญสร้างกุศลด้วย
- ประเทศฟิลิปปินส์ ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของประเทศฟิลิปปินส์ วัฒนธรรมของฟิลิปปินส์เป็นวัฒนธรรมผสมผสานกันระหว่างตะวันตกและตะวันออก ซ่งสวนใหญ่จะได้รับอิทธิพลจก สเปน จีน และอเมริกัน ฟิลิปปินส์มีเทศกาลที่สำคัญ คือ
อาติหาน จัดขึ้นเพื่อรำลึกและแสดงความเคารพต่อ "เอดาส" ชนเผ่าแรกที่มาตั้งรกรากอยู่บนเกาะแห่งหนึ่งน ฟิลิปปินส์ และรำลึกถึงพระเยซูคริส์ในวัยเด็ก โดยจะแต่งตัวเลียนแบบเทศกาลอติ ขนเผ่า เอดาส แล้วออกมารำร่อนเริงบนท้องถนนในเมืองคาลิบู
เทศกาลชินูล็อก งานนี้จัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 3 ของเดือน มกราคมทุกปี เป็นงานที่จัดขึ้นเพื่อรำลึกถึงนักบุญซานโตนินอย โดยจะจัดแสดงดนตรีและมีขบวนพาเหรดแฟนซี ทั่วเือ เซบู
เทศกาลดินาญัง งานนี้จัดขึ้นเพื่อรำลึกถึงนักบุญซานโต นินิย เชนเดี่ยวกับเทศกาลซิบูล้อก แต่จะจัดขึ้นในสัปดาห์ที่ 4 ของเดือนมกราคม ที่เมือง อิโลอิโย
- ประเทศบูรไน ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของประทเศบรูไน บรุไนมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับมาเลเซียและอินโดนีเซียมาก มีวัฒนธรรม ประเพณี ภาษา และการแต่งกายที่คล้ายคลึงกัน รวมทั้งยังมีวัฒนธรที่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาอิสลามด้วย เช่น
สตรีชาวบรูไนจะแต่งกายมิดชิด นุ่งกระโปรงยาว สื้อแขนยาว และมีผ้าโพกศีรษะ คนต่างชาติ จึงไม่ควรนุ่ง กระโปรงสั้น และใส่เสื้อไม่มีแขน ความหลีกเลี่ยงเสื้อผ้าสีเหลือง เพราะถือเป็นสีของพระมหากษัตรยิ์ การทักทาย จะจับมือกันเบาๆ และสตรีจะไม่ยื่นมือให้บุรุษจับ การชั้นิ้วไปที่คนหรือส่ิงของถือว่าไม่สถภาพ แต่ จะใช้หัวแม่มือชี้แทน และจะไม่ใช้มือซ้ายในการส่งของให้ผู้อ่น สตรีเวลานั่งจะไม่ให้เท้าชี้ไปทางผู้ชย และไม่ ส่งเสียงหรือหัวเราะดัง
การรับประทานอาหารร่วมกับชาวบรูไน โดยเฉพาคู่เจรจาที่เป็นชาวมุสลิมควรระมัดระวังกาสั่งอาหาร ที่เป็นเนื้อหมูและเครื่องดื่อมที่มีแอลกอฮอล์ เนื่องจากผิดหลักปฏิบัติของศาสนาอิสลาม ไม่รับประทาเนื้อหมู และถือเป็นกฎที่ปฏิบัติกันอย่างเคร่งคัดในการห้ามดื่อมสุรา อาจขอให้ คู่เจรจาชาวบรูไน ช่วยเลือกร้านอาหาร ทั้งนี้บรูไนไม่มีวัมนธรมการให้ทิปในร้านอาหาร ในกณีที่เป็นร้านอาหารขนาดใหญ่จะมีการเก็บค่าบริการ เพื่มร้อยละ 10 อยู่แล้ว
- ประเทศกัมพูชา ศิปลวัฒนธรรมกัมพูชา กัมพูชาเป็ฯประเทศที่มีประวัติสาสตร์อันยาวนาน วัฒธรรมประเพณีจึงมีความเกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ ความเชื่อ และวิถีชีวิตของคนในประเทศศิลปวัฒนธรรม ที่เป็นเอกลักษณ์ได้แก่
ระบำอปสรา เป็นการแสดงนาฎศิลป์ที่โดดเด่นของกัมพูชา ซึ่งถอดแบบการ แต่างกายและท่าร่ายรำมาากภาพำหลักรูปนางอปสรที่ปราสาทนครวัด นางอัปสราตัวเอกองค์แรก คือ เจ้าหญิงบุพผาเทวี พระราชธิดาใเจ้าสีหนุ เป็นระบำทีกำเนินขึ้นเพื่อ เข้าฉากภาพยนตร์เกี่ยวกับนครวัดซึ่งกำกับโดยผู้กำกับชาวฝรั่งเศส หลังจากนั้น ระบำอัปสรา ก็เป็นระบำขวัญใชาวกัมพูชา ใครได้ เป็นตัวเอกในระบำ
อัปสรนั้นเชื่อได้ว่า เป็นตัวนาชั้นยอดแห่งยุคสมัยนครวัด เป็นอุมคติแห่งชาติกัมพูชา นางอปสราในนครวัดก็เป็นอุดมคติแห่งสตรีเขมร ดังนันการชุบชีวิตนางอัปสราออกมาเป็ ระบำระดับชาตินั้นมีความหมายในเชิงชาติพันธุ์นิยม เพื่อให้เข้าถึงสัญลักษณ์สูงสุดแห่งสตรีเเขมร์ ระบำอัปสรมีชื่อเสียง ขึนมาด้วยกางอิงบทความยิ่งใหญ่ของนครวัต ดอกไม้เหนือเศียรนางอปสราสวน ใหญ่ใใปราสาทนครวัดคือ ดอกฉัตรพระอินทร์ เนื่องจากรูปทรงของดอกชนิดนี้พ้องกันกับภาพสลัก เขมรเรียกดอกไม้ชนิดนี้ ว่า "ดอกเสนียดสก" คือส่ิงที่เอามาเสียนดและสกคือผมชือของดอกไม้บ่งบอกว่าเป็นดอกสำหรับเสียดผมเข้าใจว่าสมัยโบราณสตรีขั้นสูง ของเขมรคงประดับ ศรีษะด้วยดอกไม้หลายชนิด หนึ่งในนั้นคือดอกฉัตรพระอินทร์ ดังหลักฐนภาพสลักนางอปสรา ที่พบในปราสาทหินขอม ซึ่งเป็นแรงบันดาลใจของช่างสลักจากที่ได้เห็นของจริง
เทศกาลน้ำ หรือ "บอน อม ตุก" เทศกาลประจำปีที่ย่ิงหใญ่ของกัมพูชา จัดขึ้นในเดือนพฤศจิกายน เพื่อเป็นการแสดงความสำนึกใพระคุณของ แม่น้ำที่นำความอุดมสมบูรืมาให้ โดยจะมีการแข่งเรือยาว แสดงพลุดอกไม่ไฟ การแสดงขบวนเรือประดับไฟ และขบวนพาเหรดบริเวณทะเลสาบ "โตนเลสาบ" ที่จัดขึ้น ทุกปีตั้งแต่ วันขึ้น 14 ค่ำ 15 ค่ำ จนถึงแรม 1 ค่ำ เดือนพฤศจิกายน ซึ่งทางการกัมพูชา ประกาศให้เป็นวันหยุด 3 วัน เพราะน้ำในแม่น้ำโขงเมื่อสุง จะไหลไปที่ทะลเสบ เนื่องจากในช่วปลาย ฤดูผนในเดือนพฤศจิกายน น้ำในทะเลสบลดต่ำลง ทไให้น้ำไหลลง กลับสู่ลำน้ำโขงอีกครั้ง ชาวกัมพูชาะร่วมกันลอยทุนที่ปะดับด้วยดวงไฟไปตาม แม่น้ำโขง ขณะที่การแข่งเรือ เป็นการำลึก ถึงเหตุการณ์ใประวัติศาสตร์สมัยพระเจ้า ชัยวรมันที่ 7 ช่วงศตวรรษที่ 12 ในยุคเมืองพระนคร อาณาจักรเขมรที่กำลังรุ่งเรืองมีชัย เหนือาณาจักรจาม ในการสู้รบทางเรือ
- https//blkp201.wordpress.com ..ประชาคมอาเซียน ศิลปวัฒนธรรมแลประเพณีอาเซียน 10 ประเทศ
- ประเทศไทย ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของไทย ได้รับอิทธิพลจากมอญ ขอม อินเดีย จีนและชาติตะวันตก แต่มเอกลักษณ์ในด้านความงดงาม ประณีต และผูกพันอยู่กับพระพุทธศาสนา
การไหว้ เป็นประเพณีการทักทายที่ถือเป็นเอกลักษณ์โดดเด่นของไทย โดยเป็นกรแสดงถึงควมีสัมมาคารวะและให้เกี่ยรติกันและกัน นอกจากการทักทาย การไหว้ยังมความหมายเพื่อการขอบคุณ ขอโทษ หรือกล่าวลาด้วย
โขน เป็นนาฎศิลป์เก่าแก่ของไทย มีลักษณะสำคัญที่ผู้แสดงต้องสวมหัวโขนทั้งหมด ยกเว้น ตัวนาง พระ และเทวดา ซึ่งแสดงโดยใช้ท่ารำและท่าทางประกอบทำนองเพลงดำเนินเรื่องอ้วยบทพากย์และบทเจรจาส่วนเรื่องที่นิยมแสดงคือ รามเกียรติ์
สงกรานต์ ประเพณีเก่าแก่ ซึ่งถือเป็นการเฉลิมฉลองวันขึ้นปีใหม่ของไทยทที่ยึดถือปฏิบัติกัน โดยจะมีการ รดน้ำ ขอพรผู้ใหญ่ สรงน้ำพระ ทำบุญตักบาตร ปล่อยนกปล่อยปลา ขนทรายเข้าวัดและก่อเจดีย์ทราย รวมทั้งมีการเล่น สาดน้ำเพื่อความสนุกสนานด้วย
- สาธารณะประชาธิปไตยประชาชนลาว วัฒนธรรมของลาวจะมีความคล้ายคลึงกับวัฒนธรรมทางภาคอีสาน ของไทยมาก
ด้านดนตรีแคน ถือเป็นเครื่องดนตรีประจำชาติ โดยมี วงดนตรีคือ วงหมอลำ และมีรำวงบัดสลบ ซึ่งเป็นการเต้นท่มีท่าตามจังหวะเพลง โดยจะเต้นพร้อมกันไปอย่างเป็นระเบียบถือเป็นการรวมสนุกกันของชาวลาวในงนมงคลต่างๆ
การตักบาตรข้าวเหลี่ยว ถือเป็นจุดเด่นของเมืองหลวงพระบาง ซึ่งโดยปกติแล้วนิยมใส่บาตรด้วยข้าวเหนียวเพียงอย่างเดียว เพราะเมื่อ ถึงเวลาฉัน ชาวบ้านจะยกสำรับกับข้าวไปถวายที่วัด เรียกว่า "ถวายจังหัน" โดยเวลาใส่บาตรจะนั่งคุกเข่าและผู้หญิง ต้องนุ่งซิ่น ส่วนผู้ชยนุ่งกางเกงขายาว และมีผ้าพาดไหล่ไว้สำหรับเป็นผ้ากรอบพระเหมือนกัน
- ประเทศมาเลเซีย ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของมาเลเซียนั้น ด้วยเหตุที่มีหลยชนชาติอยู่รวมกันทำให้ดินแดนแห่งนี้เต็มไปด้วยวัมนธรรมท่แตกต่างหลากหลายผสมผสนกัน ซึ่งม ทั้งการผสานวัฒนธรรมกชนชาติอื่นๆ และการรักษาวัฒนธรมประเพณีของชนแต่ละกลุ่มใแ่ละพื้ที่
เทศกาลทาเดา คาอามาดัน ป็นเทศกาลประจำปีในรัฐซาบาห์ จัดในช่วงสิ้นเดือน พฤษภาคม ซึ่งเป็นช่วงสิ้นสุดของฤดูการเก็บเกี่ยวข้าและเร่มต้นฤดูกาลให่ โดยจะมีพิธีกรรมตามความเชื่อในการ ทำเกษตร และีการแสดงระบำพื้นเมือง และขับร้องบทเพลงท้องถิ่นเพื่อเฉลิมฉลงด้วย
- ประเทศสิงคโปร์ ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของสิงคโปร์ เนื่องจากสิงคโปร์เป็นประเทศที่มีประชากรหลกหลายเชื้อชาิหลากหลายศาสนาทำให้ประเทศนี้มีศิลปวัฒนธรมที่หลากหลาย สำหรับเทศกาลที่สำัญของสิงคโปร์ก็จะเป็นเทศกาลเกี่ยวข้องกับความเชื่อทางศาสนาเช่น
เทศกาลตรุษจีน เทศกาลขึ้นปีใหม่ของชาวจีนที่จัดขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์, เทศกาลวิสาขบูชา จัดขึ้นเพื่อระลักถึงการะประสูติ ตรัสู้ และปรินิพพานของพระพุทธเจ้าของชาวพุทธในเดือพฤษภาคม, เทศการ Hari Raya Puasa เทศกาลการเฉลิมฉลองของขาวมุสลิมที่จัดขึ้นเมื่อสิ้นสุดพิธีถือศิลอดหรือ อมฎอนในเดือนตุลาคม. เทศกาล Deepavali เทศกาลแห่งแสงสว่างและเป็นงานขึ้นปีใหม่ของชาวฮินดู ที่จัดขึ้นเดือน พฤศจิกายน
- ประเทศอินโดนีเซีย ศิลปวัฒนธรรมอินโดนีเซีย มีชนพื้นบ้านหลายชาติพนธุ์กระจายกันอยู่ตามเกาะ ทำให้วัฒนธรรมประเพณีในแต่ละท้องที่แตกต่างกันไป
ระบำบางรอง ละครพื้นเมืองดั้งเดิมของเกาะบาหลี มีการใช้หน้ากากและเชิดหุ่นเป็นตัวละคร โดยมีการเลนดนตรีสดประกอบการแสดง เรื่องราวเป็นการตอสู้กันของ บารอง คนครึ่งสิงห์ ซึ่งเป็นตัวแทนฝ่ายความดี กับรังดา พ่อดหมอผีตัวแทนฝ่ายอธรม ดดยฝ่ายธรรมะได้รับชัยชนะในที่สุด
ผ้าบาติก หรือ ผ้าปาเต๊ะ เป็นผ้าพื้นเมืองของอินโดนีเซียที่มีวิธีการทำโดยใช้เทียนปิดสวนที่ไมต้องการให้ติดสี และใช้วธีการเเต้มระบาย หรือ ย้อมในส่วนที่ต้องการให้ติดสี ผ้าบาติกนิยมใช้เป็นเครื่องแต่งการของหนุ่มสาว โดยใช้เป็นผ้าโพกศรีษะชาย ผ้าคลุม ศรีษะหญิง ผ้าับกางเกงชาย และโสร่ง หรือผ้าที่ใช้นุ่งโดยการพันอบตัว ซึ่งส่วนที่เรียกว่า "ปาเต๊ะ" คือสวนที่ต้องนุ่งใหรงกับสะโพก โดยมีลวดลายสีสันต่างไปจากส่วนอื่นๆ ใผ้าผืนเดี่ยวกันนั่นเอง
- ประเทศเวียนดนาม ศิปลวัฒนธรรมและประเพณีของเวียดนาม ส่วนใหญ่จะได้รัอชบอิทธิพลจากจนและฝรั่งเศส เวียนดนามมีเทศกาลที่สำคัญ คือ
เทศกาลเต็ด หรือ "เต็ดเหวียนดาน" หมายถึง เทศกาลแห่งรุ่งอรุณแรกของปี ถือเป็น เทศกาลทางศาสนาที่สำคัญที่สุดมีขึ้นในช่วงปลายเดือนมกราคมถึงต้นเดือนกุมภาพันธืเป็นการเฉลิมฉลองคามเชื่อ ในเทพเจ้า ลัทธิเต๋า ขงจื้อ และศาสนาพุทธ รวมทั้งเป็นการแสดงความเคารพต่อบรรพบุรุษด้วย
เทศกาลกลางฤดูใบไม่ร่วง จัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 ของทุกปี ชาวบ้านจะประกวดทำขนมเปี๊ยะโก๋ญวนหรือบันตรังทู ที่มีรูปร่างกลม มีใส้ถั่วและไส้ผลไม่ และมีการจัดขบวนเชิดมังกร เพื่อแสดงความเคารพต่อพระจันทร์ จะมีการเฉลิมฉลองกับขนมเค้กสำหรับเด็กและครอบครัวของพวกเขาที่ดุดวงจันทร์ ขบวนของโคมๆฟและโคมๆฟ ดวงจันทร์จะถูกใช้เป็นสัญลักษณ์สำหรับความเจริญรุ่งเรืองในช่วงเศกาลจะมีกล่องเค้กในรูปร่างของดวงจันทร์ เพื่อเพื่อนและครอครัว ในเวลกลางคือนเด็กจะเดินขบวนใถนนร้องเพลงในขณะที่ส่งมอบโคมไฟจีนสีในมือ โคมไฟเหล่านี้จีนมีเที่ยนที่ส่องสว่างสวยงามตามท้องถนน
- ประเทศพม่า ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของพม่า พม่าได้รับอิทธิพลจกจีน อินเดีย และไทยมานาน จึงมีมีการผสานวัฒนธรมเหล่นี้เข้ากับวัฒนธรรมของตนจนเป็นเอกลักษณ์ นอกจากนี้ยังได้รับอิทธิพลจกพุทธศาสนา จึงเกิดประเพณี สำคัญ เช่น
ประเพณีปอยส่างลอง หรืองารบวชบูกแด้ว เป็นงารบวชเณรที่สืบทอดกันมานาน และชาวเมียนมาร์ให้ความสำคัญมา เพราะถือเป็นบุญอันยิ่งใหญ่ของครอบครัว
งานไหว้พุทธเจดีย์ประำปี ซึ่งแต่ละที่มักนิยมจัดในเดือนหลังออกพรรษาถือเป็นงานเฉลิมฉลองที่สนุกสนา และได้ทำบุญสร้างกุศลด้วย
- ประเทศฟิลิปปินส์ ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของประเทศฟิลิปปินส์ วัฒนธรรมของฟิลิปปินส์เป็นวัฒนธรรมผสมผสานกันระหว่างตะวันตกและตะวันออก ซ่งสวนใหญ่จะได้รับอิทธิพลจก สเปน จีน และอเมริกัน ฟิลิปปินส์มีเทศกาลที่สำคัญ คือ
อาติหาน จัดขึ้นเพื่อรำลึกและแสดงความเคารพต่อ "เอดาส" ชนเผ่าแรกที่มาตั้งรกรากอยู่บนเกาะแห่งหนึ่งน ฟิลิปปินส์ และรำลึกถึงพระเยซูคริส์ในวัยเด็ก โดยจะแต่งตัวเลียนแบบเทศกาลอติ ขนเผ่า เอดาส แล้วออกมารำร่อนเริงบนท้องถนนในเมืองคาลิบู
เทศกาลชินูล็อก งานนี้จัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 3 ของเดือน มกราคมทุกปี เป็นงานที่จัดขึ้นเพื่อรำลึกถึงนักบุญซานโตนินอย โดยจะจัดแสดงดนตรีและมีขบวนพาเหรดแฟนซี ทั่วเือ เซบู
เทศกาลดินาญัง งานนี้จัดขึ้นเพื่อรำลึกถึงนักบุญซานโต นินิย เชนเดี่ยวกับเทศกาลซิบูล้อก แต่จะจัดขึ้นในสัปดาห์ที่ 4 ของเดือนมกราคม ที่เมือง อิโลอิโย
- ประเทศบูรไน ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของประทเศบรูไน บรุไนมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับมาเลเซียและอินโดนีเซียมาก มีวัฒนธรรม ประเพณี ภาษา และการแต่งกายที่คล้ายคลึงกัน รวมทั้งยังมีวัฒนธรที่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาอิสลามด้วย เช่น
สตรีชาวบรูไนจะแต่งกายมิดชิด นุ่งกระโปรงยาว สื้อแขนยาว และมีผ้าโพกศีรษะ คนต่างชาติ จึงไม่ควรนุ่ง กระโปรงสั้น และใส่เสื้อไม่มีแขน ความหลีกเลี่ยงเสื้อผ้าสีเหลือง เพราะถือเป็นสีของพระมหากษัตรยิ์ การทักทาย จะจับมือกันเบาๆ และสตรีจะไม่ยื่นมือให้บุรุษจับ การชั้นิ้วไปที่คนหรือส่ิงของถือว่าไม่สถภาพ แต่ จะใช้หัวแม่มือชี้แทน และจะไม่ใช้มือซ้ายในการส่งของให้ผู้อ่น สตรีเวลานั่งจะไม่ให้เท้าชี้ไปทางผู้ชย และไม่ ส่งเสียงหรือหัวเราะดัง
การรับประทานอาหารร่วมกับชาวบรูไน โดยเฉพาคู่เจรจาที่เป็นชาวมุสลิมควรระมัดระวังกาสั่งอาหาร ที่เป็นเนื้อหมูและเครื่องดื่อมที่มีแอลกอฮอล์ เนื่องจากผิดหลักปฏิบัติของศาสนาอิสลาม ไม่รับประทาเนื้อหมู และถือเป็นกฎที่ปฏิบัติกันอย่างเคร่งคัดในการห้ามดื่อมสุรา อาจขอให้ คู่เจรจาชาวบรูไน ช่วยเลือกร้านอาหาร ทั้งนี้บรูไนไม่มีวัมนธรมการให้ทิปในร้านอาหาร ในกณีที่เป็นร้านอาหารขนาดใหญ่จะมีการเก็บค่าบริการ เพื่มร้อยละ 10 อยู่แล้ว
- ประเทศกัมพูชา ศิปลวัฒนธรรมกัมพูชา กัมพูชาเป็ฯประเทศที่มีประวัติสาสตร์อันยาวนาน วัฒธรรมประเพณีจึงมีความเกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ ความเชื่อ และวิถีชีวิตของคนในประเทศศิลปวัฒนธรรม ที่เป็นเอกลักษณ์ได้แก่
ระบำอปสรา เป็นการแสดงนาฎศิลป์ที่โดดเด่นของกัมพูชา ซึ่งถอดแบบการ แต่างกายและท่าร่ายรำมาากภาพำหลักรูปนางอปสรที่ปราสาทนครวัด นางอัปสราตัวเอกองค์แรก คือ เจ้าหญิงบุพผาเทวี พระราชธิดาใเจ้าสีหนุ เป็นระบำทีกำเนินขึ้นเพื่อ เข้าฉากภาพยนตร์เกี่ยวกับนครวัดซึ่งกำกับโดยผู้กำกับชาวฝรั่งเศส หลังจากนั้น ระบำอัปสรา ก็เป็นระบำขวัญใชาวกัมพูชา ใครได้ เป็นตัวเอกในระบำ
อัปสรนั้นเชื่อได้ว่า เป็นตัวนาชั้นยอดแห่งยุคสมัยนครวัด เป็นอุมคติแห่งชาติกัมพูชา นางอปสราในนครวัดก็เป็นอุดมคติแห่งสตรีเขมร ดังนันการชุบชีวิตนางอัปสราออกมาเป็ ระบำระดับชาตินั้นมีความหมายในเชิงชาติพันธุ์นิยม เพื่อให้เข้าถึงสัญลักษณ์สูงสุดแห่งสตรีเเขมร์ ระบำอัปสรมีชื่อเสียง ขึนมาด้วยกางอิงบทความยิ่งใหญ่ของนครวัต ดอกไม้เหนือเศียรนางอปสราสวน ใหญ่ใใปราสาทนครวัดคือ ดอกฉัตรพระอินทร์ เนื่องจากรูปทรงของดอกชนิดนี้พ้องกันกับภาพสลัก เขมรเรียกดอกไม้ชนิดนี้ ว่า "ดอกเสนียดสก" คือส่ิงที่เอามาเสียนดและสกคือผมชือของดอกไม้บ่งบอกว่าเป็นดอกสำหรับเสียดผมเข้าใจว่าสมัยโบราณสตรีขั้นสูง ของเขมรคงประดับ ศรีษะด้วยดอกไม้หลายชนิด หนึ่งในนั้นคือดอกฉัตรพระอินทร์ ดังหลักฐนภาพสลักนางอปสรา ที่พบในปราสาทหินขอม ซึ่งเป็นแรงบันดาลใจของช่างสลักจากที่ได้เห็นของจริง
เทศกาลน้ำ หรือ "บอน อม ตุก" เทศกาลประจำปีที่ย่ิงหใญ่ของกัมพูชา จัดขึ้นในเดือนพฤศจิกายน เพื่อเป็นการแสดงความสำนึกใพระคุณของ แม่น้ำที่นำความอุดมสมบูรืมาให้ โดยจะมีการแข่งเรือยาว แสดงพลุดอกไม่ไฟ การแสดงขบวนเรือประดับไฟ และขบวนพาเหรดบริเวณทะเลสาบ "โตนเลสาบ" ที่จัดขึ้น ทุกปีตั้งแต่ วันขึ้น 14 ค่ำ 15 ค่ำ จนถึงแรม 1 ค่ำ เดือนพฤศจิกายน ซึ่งทางการกัมพูชา ประกาศให้เป็นวันหยุด 3 วัน เพราะน้ำในแม่น้ำโขงเมื่อสุง จะไหลไปที่ทะลเสบ เนื่องจากในช่วปลาย ฤดูผนในเดือนพฤศจิกายน น้ำในทะเลสบลดต่ำลง ทไให้น้ำไหลลง กลับสู่ลำน้ำโขงอีกครั้ง ชาวกัมพูชาะร่วมกันลอยทุนที่ปะดับด้วยดวงไฟไปตาม แม่น้ำโขง ขณะที่การแข่งเรือ เป็นการำลึก ถึงเหตุการณ์ใประวัติศาสตร์สมัยพระเจ้า ชัยวรมันที่ 7 ช่วงศตวรรษที่ 12 ในยุคเมืองพระนคร อาณาจักรเขมรที่กำลังรุ่งเรืองมีชัย เหนือาณาจักรจาม ในการสู้รบทางเรือ
- https//blkp201.wordpress.com ..ประชาคมอาเซียน ศิลปวัฒนธรรมแลประเพณีอาเซียน 10 ประเทศ
วันอาทิตย์ที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2560
Cross Cultural heritage II
อียูเป็นตัวอย่างที่แสดงให้เห็นว่าการสร้างเขตการค้าเสรีไม่เป็นเรื่องเศรษฐกิจเท่านั้น การบูรณาการที่เร่ิมจากทางเศาฐกิจนั้น ต่อมาพัฒนาการจะเกี่ยวพันกับภาคส่วนอื่นๆ ของสังคมอย่งหลีกเลี่ยงไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นร้านสังคม ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรม ด้วยกระบวนการทีเรยกว่า spill - over และการเกิดเขตการค้าเสรีนี้เองจะทำให้เขตแดนและปัญหาทีเกี่ยวเนื่องกับเขตแดน รวมทั้งปัญหาเกี่ยวกับวัฒนธรรมด้วย
สร้างองค์ความรู้ด้านต่างๆ ให้มีลักษระข้ามพรมแดน
- มรดกโลกและมรวัฒนธรม คือ วิถะของกรสร้างความร่วมมือข้ามพรมแดนทุกระดับ
นักวิชาการด้านมรกดวัฒนธรรมและมรดกโลกชี้ให้เห็นว่าการเสนอชื่อขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกของประเทศกำลังพัฒนา เป็นเพียงการทำเพื่อผลประโยชน์ภายในหรือของประเทสนั้นๆ แต่ กลุ่มประเทศอียูสามารถสร้างมรดกวัฒนธรมและสร้างอุตหกรรมมดกวัฒนธรรมเพื่อกระตุ้นการท่องเที่ยและศรษฐกิจได้ โดยการท่อียูดำเนินนโยบยหลายอย่างที่กระตุ้มให้เกิดทิศทางดงกลาวด้วยกระบวนการที่เรียกว่า "Europeanization of Heritage" ที่ทำให้มรดกวัฒนธรรมที่ติดกับกรอบประวัติศาสตร์ชาติและความเป้นมรดกแห่งชาติ ให้มีความหมายและความสำคัญใฐนะมรดกยุโรป และมรดกโลก
- เขตแดน พรมแดน โอกาสหรือความขัดแย้ง การก้าวไปสู่เขตเศราฐกิจเสรีอาเซียนต้องเกี่ยวพันกับเรื่องเขตแดนพรมแดน และการไร้พรมแดนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จกกรณีของอียูชี้ให้เห้นว่า
1. การที่ประเทศสมาชิกมีเขตแดนที่ชัดเจนและมหลาหลยวิธีใการกำหนดเขตแดน และมีการัดการดูแลเกี่่ยวกับเขตแดนที่เป็นระบบด้วยการมีคณะกรรมการที่เกิดจากการร่วมมือกับประเทศเพื่อบ้านในการปักปันและดูแลเรื่องเขตแดน ที่มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในหลยด้านทำงนอย่างบูรณาการ โดยไม่ได้เน้นเรื่องความมันคงเหนือควมร่วมมือทางเศราฐกิจและการอยู่รวมกันอย่างสัติ และปราศจกอคติชาตินิยม ช่วยส่งเสริมการดำเนินงานเพื่อสร้างเขตการต้าเสรี และตลดร่วมยุโรปแบบไร้พรมแดน
2. การส่งเสริมให้เห็นควมสำคัญของพรมแดนในฐานะที่เป้นที่มาแห่งโอกาสทั้งทางเศาฐกิจ และการศึกษา วัฒนธรมเหนือมของอียู ชี้ให้เห็นว่าองค์การที่เป้นการบูรณาการระดับภูมิภาคนั้นมีความสำคัญยอย่างย่ิงในการนำควมเปลี่ยนแปลงในเชิงบวกมาสู่ภูมิภาค ดังนั้นอาเซียนซึ่งเป็นกระบวนการบูรณาการภูมิภาคเช่น กันคงต้องให้ความสำคัญกับประเด็นนี้
3. ปัจจุบันในสหภาพยุโรปมีหน่วยงานสองหน่วยงานที่พยายามสร้างฐนข้อมูลอิเลดทรอนิกส์เกี่ยวกับเขตแดน พรมแดนในสหภาพยุโรปทั้งส่วนที่เกี่ยวกับความเป็นมาในประวัติศาตร์ กฎหมาย และอื่นๆ เพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงหากเกิดความสับสนในกาบริหารงาของหน่วยงานรัฐบาลในประเทศต่างๆ และามบริเวณชาแดน รวมทั้งเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับช่วยในกรวงแผนสร้างความร่วมมือข้ามพรมแดน ไม่ว่าจะเป็นด้าสาธารณสุขหรือการช่วยเหลือเกี่ยวกับสาธารณภัย
การสร้างฐนข้อมูลที่มีความโปร่งใส รวมทั้งการทำให้ฐานข้อมูลด้านต่างๆ เกี่ยวกับเขตแดนและเนื้อที่เปิดเผยต่อสธารณชนอย่างกว้างขวงเป็นอีกหนทางหน่งที่ทำให้เขตแดนไม่ใช่เรื่องศักดิ์สิทธิ์และไม่ถูกนำไปใช้เพื่อผลประโยชน์ทางการเมืองของนักการเมือง
- ภาษา ความทรงจำ ประวัติศาสตร์และการสร้างคนรุ่นใหม่สำหรับอาเซียน
คนรุ่นสงครามโลกครั้งี่ 2 ในยุโรปเป็นคนรุ่นที่ต้องการให้เกิดการบูรณาการทางการเมืองและเศรษฐกิจที่เกิดการข้ามพรมแดนใภาคส่วนต่างๆ ของสังคม เพื่อให้เกิดสันติภาพที่ถาวร ครุ่นต่อๆ มาได้รับการสร้างให้มความเป็นยุโรปด้วยการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมของเพือ้าน ด้วยการที่อียูสร้างโรงเรียนและสร้างโครงการแลกเปลี่ยน ที่ทำให้นักเรียนนกศึกษาทั่วยุโรปเดินทางไปศกึกษาและเรียนภาษาของประเทศเพื่อนบ้าน นอกจากนี้มีการสร้างสภาบันการศึกาาวิจัยะดับสูง ที่ฟลอเรซื อิตาลี สร้าง่มาตรฐานทางการศึกษาของสหภาพยุโรปที่ทำให้เกิดการสร้างการวิจัยแลการศึกษาที่เข้แข็ง นักเรียน นิสิตนักศึกษาสามารถย้ายไปเรียนตามสถานศึกษาในประเทศเพือบ้านในอียูได้ะดวกขึ้น
อียูจริงจังกับการสร้้างมาตรฐาความรู้ทางภาษาภายใอียูเอง ซึ่งสิ่งเหล่านี้ยังไม่เกิดใอาเซียน ส่วนประเทศไทยการสอนภาษาไทยเป็นภษาต่างประเทศ เกิดขึ้นอย่างไม่เป็นระบบนัก มีโรงเรียนเอกชนหน่วยงาสังกัดอฝค์กรคริสตจักรในประเทศไทย โรเรียนเอกชน ละคณะมุษยศาสร์ ม.ศรีนครินทรวิโรฒ รวมทั้งที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ เร่ิมทำไปบ้างแล้ว รวมทั้งสร้งมาตรฐานการวัดความรู้ภาษาไทยของชาวต่างชาติ แต่โดยภาพรวมยังเป็นแขนงการเรียนภาที่ยังไม่เป็นระบบเนื่องจากขาดพจนานุกรมที่มีคุณภาพ ขาดการพัฒนาการเรียนการสอนท่เป้นระบบ และขาดตำราเรียน
บาดแผลที่ฝังในความทรงจำทางสังคมและทางประวัติศาสตร์เป็นสิ่งที่ประเทศสมาชิกอียูดูเหมือนจะก้าวข้าไปได้ แต่ใอาเวียนเองเรื่องนี้ยังเป็นเรื่งอที่ต้องสร้างองค์ความรู้ใหม่ โดยเฉพาะในประเทศไทยที่การสอประวัติศาต์ไทยยังคงมีลักษณะปิดตัวเอง ไม่มองพัฒนการสังคมว่าไทยเป็สวนหนึ่งของสังคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และสังคมโลก การเปิดประเด็นการศึกษาประวัติศาตร์ไทยนอกเหนือประวัติศาสตร์ชาติและการักชาติยังอยู่นสภาวะที่ต้องบุกเิกต่อไป แลสภาพสงคมที่เสรีภาพทางวิชกรและเสรีภาพทางการแสดงความคิดเห็นไม่เปิดกว้างการสร้างความรู้ประวัติศสตร์อืนๆ นอกเหนือจกประวัติศาสตร์บาดแผนเป็นเรื่องที่ยังท้าทายประเทไทยและอาเซียนไปพร้อมๆ กัน
การเตรียมความพร้อมในการสร้างความร่วมมือ
- ด้านมรกดวัฒนธรมและความร่วมมือข้ามพรมแดนอื่นๆ
ประสบการณ์จากอียูชีว่าการสร้างความร่วมือด้านพรมแดนในเชิงปฏิบัตินั้นเกี่ยวพันกับสองเรื่องใหญ่ คือ การประสางาและทำงานร่วมกันของหย่วยงาของรฐบาลระหว่างประเทศและมใช้เวลานาน ประเทศในสหภาพยุโรปบางประเทศมีท้งที่เป็แบบกระจายอำนาจให้กับรัฐบาลท้องถ่ิน เช่น เยอรมนี และมีทั้งที่เป็นลักษณะแบบรวมศูนย์ เช่น โปแลนด์ การมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของหน่วยงานรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับความร่วมมือข้ามพรมแดนที่ต้องการทำั้นเป็นส่ิงสำคัญเนหื่องจกช่ยลดระยะยเวลในการดำเนินงาร และสามารถสร้างความเขาใจใการทำงานร่วมกันได้ดียิ่งขึน
อีกประการหนึ่งคือ การ่วมมือข้ามพรมแดนที่เกิดภายใต้กรอบโครงของการบูรณาการระดับภูมิภาอย่างอียูนั้น การปกครองที่มีลักษณะกระจาอำนาการตัดินใจเกี่ยวกับกิจการท้องถ่นให้กับรัฐบาลท้องถ่ินนัถือเป็นหัจจัยเชิงบวกที่ทำให้ควาทร่วมือเกิดขึ้นได้และมีความรวดเร้ซ รวมทั้ตอบสนองต่อความต้องการของผู้คนในท้องถ่ินมากกว่าการปกครองที่มีการรวมศูนย์ แตประเทศที่มีการปกครองแบบรวมศูนย์นี้สามารถเป็นปัจจัยเชิงบวกได้เช่นกัน หากรัฐบาของประเทศนั้นมีวิสัยทัศน์และมีความจริงใจในการสร้างความรวมมือข้ามพมแดนเพื่อให้ประเทศของตนได้รับประโยชน์อย่งเต็มที่จากากรบูรณาการภุมิภาค
มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดน ข้อคิดจกสหภาพยุโรปถึงอาเซียน, มรกต เจวจินดา ไมยเออร์, คณะสังคมศาตร์ ม.ศรีนครินทรวิโรฒ.
สร้างองค์ความรู้ด้านต่างๆ ให้มีลักษระข้ามพรมแดน
- มรดกโลกและมรวัฒนธรม คือ วิถะของกรสร้างความร่วมมือข้ามพรมแดนทุกระดับ
นักวิชาการด้านมรกดวัฒนธรรมและมรดกโลกชี้ให้เห็นว่าการเสนอชื่อขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกของประเทศกำลังพัฒนา เป็นเพียงการทำเพื่อผลประโยชน์ภายในหรือของประเทสนั้นๆ แต่ กลุ่มประเทศอียูสามารถสร้างมรดกวัฒนธรมและสร้างอุตหกรรมมดกวัฒนธรรมเพื่อกระตุ้นการท่องเที่ยและศรษฐกิจได้ โดยการท่อียูดำเนินนโยบยหลายอย่างที่กระตุ้มให้เกิดทิศทางดงกลาวด้วยกระบวนการที่เรียกว่า "Europeanization of Heritage" ที่ทำให้มรดกวัฒนธรรมที่ติดกับกรอบประวัติศาสตร์ชาติและความเป้นมรดกแห่งชาติ ให้มีความหมายและความสำคัญใฐนะมรดกยุโรป และมรดกโลก
- เขตแดน พรมแดน โอกาสหรือความขัดแย้ง การก้าวไปสู่เขตเศราฐกิจเสรีอาเซียนต้องเกี่ยวพันกับเรื่องเขตแดนพรมแดน และการไร้พรมแดนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จกกรณีของอียูชี้ให้เห้นว่า
1. การที่ประเทศสมาชิกมีเขตแดนที่ชัดเจนและมหลาหลยวิธีใการกำหนดเขตแดน และมีการัดการดูแลเกี่่ยวกับเขตแดนที่เป็นระบบด้วยการมีคณะกรรมการที่เกิดจากการร่วมมือกับประเทศเพื่อบ้านในการปักปันและดูแลเรื่องเขตแดน ที่มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในหลยด้านทำงนอย่างบูรณาการ โดยไม่ได้เน้นเรื่องความมันคงเหนือควมร่วมมือทางเศราฐกิจและการอยู่รวมกันอย่างสัติ และปราศจกอคติชาตินิยม ช่วยส่งเสริมการดำเนินงานเพื่อสร้างเขตการต้าเสรี และตลดร่วมยุโรปแบบไร้พรมแดน
2. การส่งเสริมให้เห็นควมสำคัญของพรมแดนในฐานะที่เป้นที่มาแห่งโอกาสทั้งทางเศาฐกิจ และการศึกษา วัฒนธรมเหนือมของอียู ชี้ให้เห็นว่าองค์การที่เป้นการบูรณาการระดับภูมิภาคนั้นมีความสำคัญยอย่างย่ิงในการนำควมเปลี่ยนแปลงในเชิงบวกมาสู่ภูมิภาค ดังนั้นอาเซียนซึ่งเป็นกระบวนการบูรณาการภูมิภาคเช่น กันคงต้องให้ความสำคัญกับประเด็นนี้
3. ปัจจุบันในสหภาพยุโรปมีหน่วยงานสองหน่วยงานที่พยายามสร้างฐนข้อมูลอิเลดทรอนิกส์เกี่ยวกับเขตแดน พรมแดนในสหภาพยุโรปทั้งส่วนที่เกี่ยวกับความเป็นมาในประวัติศาตร์ กฎหมาย และอื่นๆ เพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงหากเกิดความสับสนในกาบริหารงาของหน่วยงานรัฐบาลในประเทศต่างๆ และามบริเวณชาแดน รวมทั้งเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับช่วยในกรวงแผนสร้างความร่วมมือข้ามพรมแดน ไม่ว่าจะเป็นด้าสาธารณสุขหรือการช่วยเหลือเกี่ยวกับสาธารณภัย
การสร้างฐนข้อมูลที่มีความโปร่งใส รวมทั้งการทำให้ฐานข้อมูลด้านต่างๆ เกี่ยวกับเขตแดนและเนื้อที่เปิดเผยต่อสธารณชนอย่างกว้างขวงเป็นอีกหนทางหน่งที่ทำให้เขตแดนไม่ใช่เรื่องศักดิ์สิทธิ์และไม่ถูกนำไปใช้เพื่อผลประโยชน์ทางการเมืองของนักการเมือง
- ภาษา ความทรงจำ ประวัติศาสตร์และการสร้างคนรุ่นใหม่สำหรับอาเซียน
คนรุ่นสงครามโลกครั้งี่ 2 ในยุโรปเป็นคนรุ่นที่ต้องการให้เกิดการบูรณาการทางการเมืองและเศรษฐกิจที่เกิดการข้ามพรมแดนใภาคส่วนต่างๆ ของสังคม เพื่อให้เกิดสันติภาพที่ถาวร ครุ่นต่อๆ มาได้รับการสร้างให้มความเป็นยุโรปด้วยการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมของเพือ้าน ด้วยการที่อียูสร้างโรงเรียนและสร้างโครงการแลกเปลี่ยน ที่ทำให้นักเรียนนกศึกษาทั่วยุโรปเดินทางไปศกึกษาและเรียนภาษาของประเทศเพื่อนบ้าน นอกจากนี้มีการสร้างสภาบันการศึกาาวิจัยะดับสูง ที่ฟลอเรซื อิตาลี สร้าง่มาตรฐานทางการศึกษาของสหภาพยุโรปที่ทำให้เกิดการสร้างการวิจัยแลการศึกษาที่เข้แข็ง นักเรียน นิสิตนักศึกษาสามารถย้ายไปเรียนตามสถานศึกษาในประเทศเพือบ้านในอียูได้ะดวกขึ้น
อียูจริงจังกับการสร้้างมาตรฐาความรู้ทางภาษาภายใอียูเอง ซึ่งสิ่งเหล่านี้ยังไม่เกิดใอาเซียน ส่วนประเทศไทยการสอนภาษาไทยเป็นภษาต่างประเทศ เกิดขึ้นอย่างไม่เป็นระบบนัก มีโรงเรียนเอกชนหน่วยงาสังกัดอฝค์กรคริสตจักรในประเทศไทย โรเรียนเอกชน ละคณะมุษยศาสร์ ม.ศรีนครินทรวิโรฒ รวมทั้งที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ เร่ิมทำไปบ้างแล้ว รวมทั้งสร้งมาตรฐานการวัดความรู้ภาษาไทยของชาวต่างชาติ แต่โดยภาพรวมยังเป็นแขนงการเรียนภาที่ยังไม่เป็นระบบเนื่องจากขาดพจนานุกรมที่มีคุณภาพ ขาดการพัฒนาการเรียนการสอนท่เป้นระบบ และขาดตำราเรียน
บาดแผลที่ฝังในความทรงจำทางสังคมและทางประวัติศาสตร์เป็นสิ่งที่ประเทศสมาชิกอียูดูเหมือนจะก้าวข้าไปได้ แต่ใอาเวียนเองเรื่องนี้ยังเป็นเรื่งอที่ต้องสร้างองค์ความรู้ใหม่ โดยเฉพาะในประเทศไทยที่การสอประวัติศาต์ไทยยังคงมีลักษณะปิดตัวเอง ไม่มองพัฒนการสังคมว่าไทยเป็สวนหนึ่งของสังคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และสังคมโลก การเปิดประเด็นการศึกษาประวัติศาตร์ไทยนอกเหนือประวัติศาสตร์ชาติและการักชาติยังอยู่นสภาวะที่ต้องบุกเิกต่อไป แลสภาพสงคมที่เสรีภาพทางวิชกรและเสรีภาพทางการแสดงความคิดเห็นไม่เปิดกว้างการสร้างความรู้ประวัติศสตร์อืนๆ นอกเหนือจกประวัติศาสตร์บาดแผนเป็นเรื่องที่ยังท้าทายประเทไทยและอาเซียนไปพร้อมๆ กัน
การเตรียมความพร้อมในการสร้างความร่วมมือ
- ด้านมรกดวัฒนธรมและความร่วมมือข้ามพรมแดนอื่นๆ
ประสบการณ์จากอียูชีว่าการสร้างความร่วมือด้านพรมแดนในเชิงปฏิบัตินั้นเกี่ยวพันกับสองเรื่องใหญ่ คือ การประสางาและทำงานร่วมกันของหย่วยงาของรฐบาลระหว่างประเทศและมใช้เวลานาน ประเทศในสหภาพยุโรปบางประเทศมีท้งที่เป็แบบกระจายอำนาจให้กับรัฐบาลท้องถ่ิน เช่น เยอรมนี และมีทั้งที่เป็นลักษณะแบบรวมศูนย์ เช่น โปแลนด์ การมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของหน่วยงานรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับความร่วมมือข้ามพรมแดนที่ต้องการทำั้นเป็นส่ิงสำคัญเนหื่องจกช่ยลดระยะยเวลในการดำเนินงาร และสามารถสร้างความเขาใจใการทำงานร่วมกันได้ดียิ่งขึน
อีกประการหนึ่งคือ การ่วมมือข้ามพรมแดนที่เกิดภายใต้กรอบโครงของการบูรณาการระดับภูมิภาอย่างอียูนั้น การปกครองที่มีลักษณะกระจาอำนาการตัดินใจเกี่ยวกับกิจการท้องถ่นให้กับรัฐบาลท้องถ่ินนัถือเป็นหัจจัยเชิงบวกที่ทำให้ควาทร่วมือเกิดขึ้นได้และมีความรวดเร้ซ รวมทั้ตอบสนองต่อความต้องการของผู้คนในท้องถ่ินมากกว่าการปกครองที่มีการรวมศูนย์ แตประเทศที่มีการปกครองแบบรวมศูนย์นี้สามารถเป็นปัจจัยเชิงบวกได้เช่นกัน หากรัฐบาของประเทศนั้นมีวิสัยทัศน์และมีความจริงใจในการสร้างความรวมมือข้ามพมแดนเพื่อให้ประเทศของตนได้รับประโยชน์อย่งเต็มที่จากากรบูรณาการภุมิภาค
มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดน ข้อคิดจกสหภาพยุโรปถึงอาเซียน, มรกต เจวจินดา ไมยเออร์, คณะสังคมศาตร์ ม.ศรีนครินทรวิโรฒ.
วันเสาร์ที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2560
Cross Cultural heritage
ผมแปลแบบกำปั่นทุบดินว่า มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดน ผู้รู้ท่านใดมีความรู้ทางด้านภาษาช่วยท้วงติงมาด้วยครับ
ปัจจุบันอาเซียนตั้งเป้าหมายว่าจะบรรลุการเป็นขตการต้าเสรีอาเซียนในปี ค.ศ. 2015 นอกจาปัญหาการขาดเสถียรภาพทางการเืองปละการขาดความเป็นประชาธิปไตยในประเทศสมาชิก และปัญหาเศรษฐกิจระดับโลกที่รุมเร้าแล้ว ปัญหาใหญ่ที่อาเซียนต้องกล่าวถึงและใส่ใอย่างจริงจังคือ เรื่องของพรมแดนและวัฒนธรรม
การสร้างเขตการต้าเสรีไม่ได้เป็นเรื่องของเสราฐกิจเท่านั้น อียุเป็นตัวอย่างที่แสดงให้เห็นว่าการบูรณาการที่เร่ิมจากทางเสาฐกิจนั้น ต่อมาพัฒนาไปเกี่ยวพันกับภาส่วนอื่นๆ ของสังคมอย่งหลักเลี่ยงไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นต้านสังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ด้วยกระบวนการที่เรียกกันว่าspill-over ตามที่ซองค์ โมเน่ต์ และโรเบิร์ต ชูมาน นัการเมืองฝรั่งเศสที่กลายมาเป็นนัการเมืองของ "ยุโรปใหม่" เชื่อเช่นนั้น นอกจากนี้การเกิดและพัฒนาการของเขตการต้าเสรีนี้เองจะทำให้เขตแดนและปัญหาท่เกี่ยวเนื่องกับเขตแดน รวมทั้งปัญหาเกี่ยวกับวัฒนธรรมมีมากขึ้นในที่นี้ขอกล่าวถึงบางประเด็นที่อาเซียนน่าจะให้ความใส่ใจเบื้องต้น
- สงครามวัฒนธรรมตามมายาคติของความรักชาติ(แบบไม่สร้างสรรค์) ปัญหารการขาดความชอบธรรมของการบูรณาการระดับภูมิภาคเป็นปัญหาที่ทั้งอียูและอาเซียนต้องเผชิญอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ยิ่งกระบวนการบุรณาการพัฒนาในระดับลึกมากขึ้นเท่าใดปัญหาดังกล่าวย่ิงเพิ่มมากขึ้นเป็นเงาตามตัว อียูพยายามแก้ปัญหาดังกล่าวด้วยการทำให้ชาวยุโรปเห็นว่าการบูรณาการทางเศราฐกิจและการเมืองนั้นเป็ฯผลประโยชน์ของตนโดยตรงและเห็นได้ชัดเจนจากสิ่งต่างๆ ในการใช้ชีวิตประจำวัน นอกจากนี้อียูโชคดีทตงท่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ความคิดชาตินิยมและความรักชาติอย่า้องการสร้างความเป็นหนึ่งให้กับชาติของตนด้วยการทำสงครามและทำลยล้างได้แสดงพิษสงเอาไว้จนผุ้คนเอือมระอา
กรณีของประเทศสมาชิกอาเวียนไมได้เป็นเช่นนั้น ความคิดชาตินิยมและความรักชาินั้นเป็นทั้งการต่อสู้กับประเทศเจ้าอาณานิคมตะวันตกที่ทำให้ประเทศเหล่านี้มีความเป้นตัวตนและเป็นประเทศชาติ และที่สำคัญคือเป็นแหล่งที่มาของอำนา ของกลุ่มทางเศาฐกิจการเมืองของแต่ละประเทศจนไม่สามารถสละเครื่องมือสำคัญนี้ไปได้ ย่ิงไปกว่านั้นความรักชาตินี้ได้รับการปลูกฝังด้วยการเกลียดชังประเทศเพื่อบ้านผ่านความทรงจำร่วใในสังคมและแบบเรียน สงครามเย็นที่เกิดขึ้นตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 1950 จนถึงปลายทศวรรษ 1980 ที่ทำให้ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งขั้วระหว่างคอมมิวนิสต์กับเสรีนิยมย่ิงทำให้บางประเทศ เช่น ไทย เชื่อเข้าไปใหญ่ว่าประเทศเพื่อบ้านล้าหลังตเองนั้นเป็นพี่เบิ้มเจรญกว่าประเทศเพื่อนบ้าน และรับเอาวะธีคิดแบบเจ้าอาณานิคมมาใข้ ด้วยการทำตัวเป็นเจ้าอาณานิคม้อยในกาติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้านอีกด้วย เช่น กรณีปราสาทพระวิหารเป็นสงครามวัฒนธรรมที่ถูกใช้เพื่อประโยชน์ทางการเมืองภายใของทั้งไทยและกัมพูชา แต่ส่วนกรณีของไทยนั้นเป็นชตินิยมไร้คลาสกว่าของกัมพูชาตรงที่ยังยึดมั่นถื่อมั่นว่าปราสามพระวิหารและดินแดนที่ตั้งนั้นเป็นของไทยในวาทกรรมชาตินิยมทั้งๆ ที่ปราสามแท่งนี้สมควรเรียกว่า "เปรี๊ยะวิฌฮีย" ตามชาวกัมพูชานับตั้งแต่ศาลโลกตัดสินให้เป็นของกัมพูชาตั้งแต่ พ.ศ. 2505 แล้ว..
กรณีอียู เรื่องการสร้างเขตเศรษฐกิจเสรีและตลดร่วมยุโรปที่ทำให้เกิดการข้ามพรมแดนของทุน เรงงาน การบริการ และการค้า โดยเแพาะในส่วนที่ต้องการบูรณาการประเทสสมาชิกในยุโรปตะวนันออก เช่น โปแลนด์ให้เป็นส่วนหนึ่งของอียูนั้น อียูในฐานะองค์กรบูรณาการภูมิภาคกลายเป็นเอเย่นต์ของความเปลี่ยนแปลงด้วยการให้ทุนผ่านนโยบายภูมิภาค ที่ทำให้ประเทศสมาชิกดั้งเดิมอย่างเยอรมนีซึ่งมฐานะทางเศรษฐกิจดีกว่าต้องรอิร่ิมสร้างโครงการร่วมมือข้ามพรมแดน
ในแง่นี้ สันติภาพและความก้าวหน้าของอาเวียนเป็นส่ิงที่ประเทสสมาชิกของอาเซียนต้องใส่ใมากว่าการใช้ชื่ออาเซียนเพื่อผลประทโยชน์และการยอมรับในประเทศด้วยการใช้ศิลป์วาทะแต่เพียงอย่งเดียวประเทศที่มีเศรษฐกิจดีกว่าและมีปัญหาชายแดนกับประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ประเทศไทย อาต้องพิจารณาว่าจะเป็นเอเย่นต์ของความเปลี่ยนแปลงในการสร้างความร่วมมือข้ามพรมแดนกับประเทศเพื่อบ้านในด้านต่างๆ เพิ่มขึ้นอย่างไร
นักวิชาการด้านมรดกวัฒนธรรมและมดกโลกเสนอสิ่งที่น่าสนใจว่า แรงจูงใและผลประโยชน์ที่ประเทสต่างๆ ได้รับจากการเสนอชื่อมรดกวัฒนธรรมเพื่อกระต้นการท่องเที่ยวและเศรากิจได้น้นเนื่องจกอียุเองดำเนินนโยบายหลายอย่างที่กระตุ้นให้เกิดทิศทางดังกล่าวด้วยกระบวนการที่ทำให้มรดกวัฒนธรรมที่ติดกับกรอบของประวัติศาสตร์ชาติและความเป็นมรดกแห่งชาติ ให้มีความหมายและความสำคัญในฐานะมรดกยุโรปและมรดกโลก ซึ่งเป็นการท้าทายอาเซียนให้เร่งปรับตัวในการลงมือสร้างการบูรณาการอาเวียนบนพื้นฐานของวัฒนธรรมอย่างแท้จริง... (บทความ "มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดนข้อคิดจากสหภาพยุโรปถึงอาเซียน, มรกต เจวินดา ไมรเออร์, คณะสังคมศาสตร์ ม.ศรีนคริทร์วิโรฒ)
ปัจจุบันอาเซียนตั้งเป้าหมายว่าจะบรรลุการเป็นขตการต้าเสรีอาเซียนในปี ค.ศ. 2015 นอกจาปัญหาการขาดเสถียรภาพทางการเืองปละการขาดความเป็นประชาธิปไตยในประเทศสมาชิก และปัญหาเศรษฐกิจระดับโลกที่รุมเร้าแล้ว ปัญหาใหญ่ที่อาเซียนต้องกล่าวถึงและใส่ใอย่างจริงจังคือ เรื่องของพรมแดนและวัฒนธรรม
การสร้างเขตการต้าเสรีไม่ได้เป็นเรื่องของเสราฐกิจเท่านั้น อียุเป็นตัวอย่างที่แสดงให้เห็นว่าการบูรณาการที่เร่ิมจากทางเสาฐกิจนั้น ต่อมาพัฒนาไปเกี่ยวพันกับภาส่วนอื่นๆ ของสังคมอย่งหลักเลี่ยงไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นต้านสังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ด้วยกระบวนการที่เรียกกันว่าspill-over ตามที่ซองค์ โมเน่ต์ และโรเบิร์ต ชูมาน นัการเมืองฝรั่งเศสที่กลายมาเป็นนัการเมืองของ "ยุโรปใหม่" เชื่อเช่นนั้น นอกจากนี้การเกิดและพัฒนาการของเขตการต้าเสรีนี้เองจะทำให้เขตแดนและปัญหาท่เกี่ยวเนื่องกับเขตแดน รวมทั้งปัญหาเกี่ยวกับวัฒนธรรมมีมากขึ้นในที่นี้ขอกล่าวถึงบางประเด็นที่อาเซียนน่าจะให้ความใส่ใจเบื้องต้น
- สงครามวัฒนธรรมตามมายาคติของความรักชาติ(แบบไม่สร้างสรรค์) ปัญหารการขาดความชอบธรรมของการบูรณาการระดับภูมิภาคเป็นปัญหาที่ทั้งอียูและอาเซียนต้องเผชิญอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ยิ่งกระบวนการบุรณาการพัฒนาในระดับลึกมากขึ้นเท่าใดปัญหาดังกล่าวย่ิงเพิ่มมากขึ้นเป็นเงาตามตัว อียูพยายามแก้ปัญหาดังกล่าวด้วยการทำให้ชาวยุโรปเห็นว่าการบูรณาการทางเศราฐกิจและการเมืองนั้นเป็ฯผลประโยชน์ของตนโดยตรงและเห็นได้ชัดเจนจากสิ่งต่างๆ ในการใช้ชีวิตประจำวัน นอกจากนี้อียูโชคดีทตงท่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ความคิดชาตินิยมและความรักชาติอย่า้องการสร้างความเป็นหนึ่งให้กับชาติของตนด้วยการทำสงครามและทำลยล้างได้แสดงพิษสงเอาไว้จนผุ้คนเอือมระอา
กรณีของประเทศสมาชิกอาเวียนไมได้เป็นเช่นนั้น ความคิดชาตินิยมและความรักชาินั้นเป็นทั้งการต่อสู้กับประเทศเจ้าอาณานิคมตะวันตกที่ทำให้ประเทศเหล่านี้มีความเป้นตัวตนและเป็นประเทศชาติ และที่สำคัญคือเป็นแหล่งที่มาของอำนา ของกลุ่มทางเศาฐกิจการเมืองของแต่ละประเทศจนไม่สามารถสละเครื่องมือสำคัญนี้ไปได้ ย่ิงไปกว่านั้นความรักชาตินี้ได้รับการปลูกฝังด้วยการเกลียดชังประเทศเพื่อบ้านผ่านความทรงจำร่วใในสังคมและแบบเรียน สงครามเย็นที่เกิดขึ้นตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 1950 จนถึงปลายทศวรรษ 1980 ที่ทำให้ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งขั้วระหว่างคอมมิวนิสต์กับเสรีนิยมย่ิงทำให้บางประเทศ เช่น ไทย เชื่อเข้าไปใหญ่ว่าประเทศเพื่อบ้านล้าหลังตเองนั้นเป็นพี่เบิ้มเจรญกว่าประเทศเพื่อนบ้าน และรับเอาวะธีคิดแบบเจ้าอาณานิคมมาใข้ ด้วยการทำตัวเป็นเจ้าอาณานิคม้อยในกาติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้านอีกด้วย เช่น กรณีปราสาทพระวิหารเป็นสงครามวัฒนธรรมที่ถูกใช้เพื่อประโยชน์ทางการเมืองภายใของทั้งไทยและกัมพูชา แต่ส่วนกรณีของไทยนั้นเป็นชตินิยมไร้คลาสกว่าของกัมพูชาตรงที่ยังยึดมั่นถื่อมั่นว่าปราสามพระวิหารและดินแดนที่ตั้งนั้นเป็นของไทยในวาทกรรมชาตินิยมทั้งๆ ที่ปราสามแท่งนี้สมควรเรียกว่า "เปรี๊ยะวิฌฮีย" ตามชาวกัมพูชานับตั้งแต่ศาลโลกตัดสินให้เป็นของกัมพูชาตั้งแต่ พ.ศ. 2505 แล้ว..
กรณีอียู เรื่องการสร้างเขตเศรษฐกิจเสรีและตลดร่วมยุโรปที่ทำให้เกิดการข้ามพรมแดนของทุน เรงงาน การบริการ และการค้า โดยเแพาะในส่วนที่ต้องการบูรณาการประเทสสมาชิกในยุโรปตะวนันออก เช่น โปแลนด์ให้เป็นส่วนหนึ่งของอียูนั้น อียูในฐานะองค์กรบูรณาการภูมิภาคกลายเป็นเอเย่นต์ของความเปลี่ยนแปลงด้วยการให้ทุนผ่านนโยบายภูมิภาค ที่ทำให้ประเทศสมาชิกดั้งเดิมอย่างเยอรมนีซึ่งมฐานะทางเศรษฐกิจดีกว่าต้องรอิร่ิมสร้างโครงการร่วมมือข้ามพรมแดน
ในแง่นี้ สันติภาพและความก้าวหน้าของอาเวียนเป็นส่ิงที่ประเทสสมาชิกของอาเซียนต้องใส่ใมากว่าการใช้ชื่ออาเซียนเพื่อผลประทโยชน์และการยอมรับในประเทศด้วยการใช้ศิลป์วาทะแต่เพียงอย่งเดียวประเทศที่มีเศรษฐกิจดีกว่าและมีปัญหาชายแดนกับประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ประเทศไทย อาต้องพิจารณาว่าจะเป็นเอเย่นต์ของความเปลี่ยนแปลงในการสร้างความร่วมมือข้ามพรมแดนกับประเทศเพื่อบ้านในด้านต่างๆ เพิ่มขึ้นอย่างไร
นักวิชาการด้านมรดกวัฒนธรรมและมดกโลกเสนอสิ่งที่น่าสนใจว่า แรงจูงใและผลประโยชน์ที่ประเทสต่างๆ ได้รับจากการเสนอชื่อมรดกวัฒนธรรมเพื่อกระต้นการท่องเที่ยวและเศรากิจได้น้นเนื่องจกอียุเองดำเนินนโยบายหลายอย่างที่กระตุ้นให้เกิดทิศทางดังกล่าวด้วยกระบวนการที่ทำให้มรดกวัฒนธรรมที่ติดกับกรอบของประวัติศาสตร์ชาติและความเป็นมรดกแห่งชาติ ให้มีความหมายและความสำคัญในฐานะมรดกยุโรปและมรดกโลก ซึ่งเป็นการท้าทายอาเซียนให้เร่งปรับตัวในการลงมือสร้างการบูรณาการอาเวียนบนพื้นฐานของวัฒนธรรมอย่างแท้จริง... (บทความ "มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดนข้อคิดจากสหภาพยุโรปถึงอาเซียน, มรกต เจวินดา ไมรเออร์, คณะสังคมศาสตร์ ม.ศรีนคริทร์วิโรฒ)
วันศุกร์ที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2560
ASEAN & Disaster
- สึนามิ แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547 เป็นแผ่นดินไหวใต้ทะเลเกิดขึ้นเมื่อเวลา 7.58 น. ตามเวลาในประเทศไทย เมื่อวันที่ 26 ธันวาม พ.ศ. 2547 ศูนย์กลางอยู่ลึกลงไปในมหาสมุทรอินเดียใกล้ด้านตะวันตกของตอนเหนือเกาะสุมาตร ประเทศอินโดนีเซีย แรงสันสะเทือนจากแผ่นดินไหว ทำให้เกิดความเสียหายบนเกาะสุมาตรา และยังรับรู้ได้ในภาคใต้ของประเทศไทย
แผ่นดินไหวเกิดจากการยุบตัวของเปลือกโลกได้มหาสมุทรอินเดีย กระตุ้นให้เกิดคลื่อนสึนามิสูงราว 30 เมตร เข้าทาวทำลายบ้านเรื่อนตามแนวชาวฝังดดยรอบมหาสุทรอินเดีย ประมาณการว่าีผู้เสียชีวิตจากแผ่นดินไหวครั้งนี้ใน 14 ประเทสมากว่า 230,000 คน นับเป็นหนึงในภัยพิบัติทางธรรมชาิครั้งร้ายแรทีสุดในประวัติศาสตร์ ประเทศที่ได้รับความเสียหายมากที่สุดได้แก่ประเทศอินโดนีเซย รองลงมาคือ ประเทศศรีลังกา ประเทศอินเดีย และประเทศไทย ตามลำดับ
ความรุนแรงของแผ่นดินไหวอยู่ระหว่งแมกนิจูด 9.1-9.3 ตามมาตราโมเมต์ ทำให้แผ่นดินไหวครั้งนี้นับเป็นแผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงเป็นอันดับที่สามตามที่เคยวัดได้จากเครื่องัดแผ่นดินไหว นอกากนี้ยังถือว่าเป็นแผ่นดินไหวที่มีคาบเวลายาวนานที่สุด โดยการสังเกตคางเวลาอยู่ที่ประมาณ 8.3-10 นาที ส่งผลให้แผ่นดินทั่วทั้งผืนโลกเคลื่อนตัวไปถึง 1 เซนติเมตร แลุยังเป็นตัวกะุร้ให้เกิดแผ่นดินไหวในจุดอื่นๆ ของโลกอีกด้วย
- พายุนาร์กิส หรือพายุหมุนนาร์กิสอันมีความรุนแรงระดับสูง ระดับความรุนแรง : 01B. กำหนดโดยศูนย์ความร่วมมือระหว่างกองทัพเรือและกองทัพอากาสแห่งสหรัฐอเมริกาเพื่อการเตือนภัยไต้ฝุ่น เป็นพายุหมุนเขตร้อนที่มีความรุนแรงระดับสูง ซึ่งกระทำให้เกิดภาวะแผ่นดินถล่ม และภาวะมหันตภัย ในประเทศพม่า เมื่อวันที่ 2 พฤษภาค 2551 ส่งผลให้ชาวพม่าเสียชีวิตมากกว่า 130,000 คน ทั้งนี้ เมื่อ พ.ศ. 2549 พายุหมุนมาชา ก็ได้ก่อให้เกิดภาวะเช่นเดียวกันในประเทศพม่า
พายุหมุนนาร์กิสเป็นพายุที่อุบัติขึ้นเป็นลูกแรกในบรรดาที่จะบังเกิดในฤดูพายุกระหน่ำมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ ประจำปี 2551
พายุหมุนนาร์กิสเร่ิมตั้งเค้าเมื่อวันที่ 27 เมษายน 2551 ณ อ่าวเบงกอล ตอนกลาง ในระยะเริ่มแรกพายุหมุนนาร์กิสเคลื่อนตัวไปททางตะวันตกเฉียงเหนือโดยช้า สภาพเกื้อหนุนในบริเวณดังกล่าวส่งผลให้พายุมีกำลังรุนแรงขึ้นอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ดี บรรยากาศแห้งแล้งใวันที่ 29 เมษายน 2551 เป็นเหตุให้พายุอ่อนกำลังลง และเปลี่ยนทิศทางไปยังภาตะวันออกของโลก ซึ่งพายุได้ทวีความรุนแรงโดยมีความรเร็วลมสูงสุดอย่างน้อย 165 กิโลเมตรต่อหนึ่งชั่วโมง และต่อมาศูนย์ความร่วมมือระหวางกองทัพเรือและกองทัพอากาศแห่งสหรัฐอเมริกาเพื่อการเตือนภัยใต้ฝุ่นแถลงว่า ความเร็วสูงสุดของพายุหมุนนี้จะทวีเป็นสองร้อยสิบห้ากิโลเมตรต่อหนึ่งชั่วโมง
หลังจากที่พายุหมุนนาร์กิสขึ้นฝั่งที่เขตอิรวดี ประเทศพม่า โดยมีกำลังลมใกล้เคียงกับความเร็วลมสูงสุด และพัดผ่านนครย่างกุ้งแล้ง ก็ได้อ่อนตัวลงตามลำดับและสลายตัวไป ณ บริเวณขายแดนไทยกับพม่า
- วิกฤตมหาอุทกภัย 2554 ภัยพิบัติในครั้งนั้นส่งผลกระทบต่อประทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้มากถึง 6 ประเทศ และยังมีความร้ายแรงทากที่สุดในรอบ 50 ปี ของไทย วิกฤติครั้งนี้ก็แสดงให้เห็นถึงความร่วมมือและการช่วยเหลือวึ่งกันและกันของสมาชิกอาเซียน ดังจะเห็นได้จากการที่สาชิกอาเซียนส่งความช่วยเหลือห้กันและกัน ทั้งทีบางประเทศก็ตกอยู่ในฐนะผู้ประสบภัย แต่ก็ยังส่งความช่วยเหลือให้แก่ประเทศอื่น เช่น ลาวและพม่าที่มระดับการพัฒนาทางเศราฐกิจช้ากว่าไทยและตกอยุ่ในาสถานะผู้ประสบภัยก็ยังให้ความช่วยเหลือแก่ไทย นอกจากนี้อาเซียนยังมีบทบามในการบรรเทาสถานการณ์ดดยส่งทีมประเมินสถานการณเคลื่อนที่เร็วฉุกเฉินอาเซียน ลงพื้นที่เพื่อประเมินสถานการณ์ภัยพิบัติน้ำท่วมในไทย เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2011 ซึ่งประกอบด้วยสมาชิก 5 คน จากบรูไน อินโดนีเซียน มาเลเซีย และสิงคโปร์ทำงานร่วมกับฝ่ายไทย 3 คน พร้อมกบมอบชาวสารผ่านองค์กรสำรองข่าวฉุกเฉินของอาเวยนบวกสาม อย่างไรก็ตาม หกยังไม่มีการร่วมมือเพื่อแก้ไขปัญหาน้ำท่วมให้ครอบคลุมมากว่านี้ ปัญหาอุทกภัยก็จะกลายเป็นอุปสรรคตอการพัฒนาของสมาชิกอาเวียน โดยเฉพาะกัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม และจะกลายเป็นอุปสรรต่อการสร้างประชาคมอาเซียนตอไป
- http//th.wikipedia.org/..แผ่นดินไหวและคลื่อนซึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547
- http//th.wikipedia.org/..เหตุการณ์พายุหมุนนาร์กิส_ พ.ศ.2551
- aseanwatch.org/.. อาเซียนกับวิกฤตมหาอุทกภัย 2554
แผ่นดินไหวเกิดจากการยุบตัวของเปลือกโลกได้มหาสมุทรอินเดีย กระตุ้นให้เกิดคลื่อนสึนามิสูงราว 30 เมตร เข้าทาวทำลายบ้านเรื่อนตามแนวชาวฝังดดยรอบมหาสุทรอินเดีย ประมาณการว่าีผู้เสียชีวิตจากแผ่นดินไหวครั้งนี้ใน 14 ประเทสมากว่า 230,000 คน นับเป็นหนึงในภัยพิบัติทางธรรมชาิครั้งร้ายแรทีสุดในประวัติศาสตร์ ประเทศที่ได้รับความเสียหายมากที่สุดได้แก่ประเทศอินโดนีเซย รองลงมาคือ ประเทศศรีลังกา ประเทศอินเดีย และประเทศไทย ตามลำดับ
ความรุนแรงของแผ่นดินไหวอยู่ระหว่งแมกนิจูด 9.1-9.3 ตามมาตราโมเมต์ ทำให้แผ่นดินไหวครั้งนี้นับเป็นแผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงเป็นอันดับที่สามตามที่เคยวัดได้จากเครื่องัดแผ่นดินไหว นอกากนี้ยังถือว่าเป็นแผ่นดินไหวที่มีคาบเวลายาวนานที่สุด โดยการสังเกตคางเวลาอยู่ที่ประมาณ 8.3-10 นาที ส่งผลให้แผ่นดินทั่วทั้งผืนโลกเคลื่อนตัวไปถึง 1 เซนติเมตร แลุยังเป็นตัวกะุร้ให้เกิดแผ่นดินไหวในจุดอื่นๆ ของโลกอีกด้วย
- พายุนาร์กิส หรือพายุหมุนนาร์กิสอันมีความรุนแรงระดับสูง ระดับความรุนแรง : 01B. กำหนดโดยศูนย์ความร่วมมือระหว่างกองทัพเรือและกองทัพอากาสแห่งสหรัฐอเมริกาเพื่อการเตือนภัยไต้ฝุ่น เป็นพายุหมุนเขตร้อนที่มีความรุนแรงระดับสูง ซึ่งกระทำให้เกิดภาวะแผ่นดินถล่ม และภาวะมหันตภัย ในประเทศพม่า เมื่อวันที่ 2 พฤษภาค 2551 ส่งผลให้ชาวพม่าเสียชีวิตมากกว่า 130,000 คน ทั้งนี้ เมื่อ พ.ศ. 2549 พายุหมุนมาชา ก็ได้ก่อให้เกิดภาวะเช่นเดียวกันในประเทศพม่า
พายุหมุนนาร์กิสเป็นพายุที่อุบัติขึ้นเป็นลูกแรกในบรรดาที่จะบังเกิดในฤดูพายุกระหน่ำมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ ประจำปี 2551
พายุหมุนนาร์กิสเร่ิมตั้งเค้าเมื่อวันที่ 27 เมษายน 2551 ณ อ่าวเบงกอล ตอนกลาง ในระยะเริ่มแรกพายุหมุนนาร์กิสเคลื่อนตัวไปททางตะวันตกเฉียงเหนือโดยช้า สภาพเกื้อหนุนในบริเวณดังกล่าวส่งผลให้พายุมีกำลังรุนแรงขึ้นอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ดี บรรยากาศแห้งแล้งใวันที่ 29 เมษายน 2551 เป็นเหตุให้พายุอ่อนกำลังลง และเปลี่ยนทิศทางไปยังภาตะวันออกของโลก ซึ่งพายุได้ทวีความรุนแรงโดยมีความรเร็วลมสูงสุดอย่างน้อย 165 กิโลเมตรต่อหนึ่งชั่วโมง และต่อมาศูนย์ความร่วมมือระหวางกองทัพเรือและกองทัพอากาศแห่งสหรัฐอเมริกาเพื่อการเตือนภัยใต้ฝุ่นแถลงว่า ความเร็วสูงสุดของพายุหมุนนี้จะทวีเป็นสองร้อยสิบห้ากิโลเมตรต่อหนึ่งชั่วโมง
หลังจากที่พายุหมุนนาร์กิสขึ้นฝั่งที่เขตอิรวดี ประเทศพม่า โดยมีกำลังลมใกล้เคียงกับความเร็วลมสูงสุด และพัดผ่านนครย่างกุ้งแล้ง ก็ได้อ่อนตัวลงตามลำดับและสลายตัวไป ณ บริเวณขายแดนไทยกับพม่า
- วิกฤตมหาอุทกภัย 2554 ภัยพิบัติในครั้งนั้นส่งผลกระทบต่อประทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้มากถึง 6 ประเทศ และยังมีความร้ายแรงทากที่สุดในรอบ 50 ปี ของไทย วิกฤติครั้งนี้ก็แสดงให้เห็นถึงความร่วมมือและการช่วยเหลือวึ่งกันและกันของสมาชิกอาเซียน ดังจะเห็นได้จากการที่สาชิกอาเซียนส่งความช่วยเหลือห้กันและกัน ทั้งทีบางประเทศก็ตกอยู่ในฐนะผู้ประสบภัย แต่ก็ยังส่งความช่วยเหลือให้แก่ประเทศอื่น เช่น ลาวและพม่าที่มระดับการพัฒนาทางเศราฐกิจช้ากว่าไทยและตกอยุ่ในาสถานะผู้ประสบภัยก็ยังให้ความช่วยเหลือแก่ไทย นอกจากนี้อาเซียนยังมีบทบามในการบรรเทาสถานการณ์ดดยส่งทีมประเมินสถานการณเคลื่อนที่เร็วฉุกเฉินอาเซียน ลงพื้นที่เพื่อประเมินสถานการณ์ภัยพิบัติน้ำท่วมในไทย เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2011 ซึ่งประกอบด้วยสมาชิก 5 คน จากบรูไน อินโดนีเซียน มาเลเซีย และสิงคโปร์ทำงานร่วมกับฝ่ายไทย 3 คน พร้อมกบมอบชาวสารผ่านองค์กรสำรองข่าวฉุกเฉินของอาเวยนบวกสาม อย่างไรก็ตาม หกยังไม่มีการร่วมมือเพื่อแก้ไขปัญหาน้ำท่วมให้ครอบคลุมมากว่านี้ ปัญหาอุทกภัยก็จะกลายเป็นอุปสรรคตอการพัฒนาของสมาชิกอาเวียน โดยเฉพาะกัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม และจะกลายเป็นอุปสรรต่อการสร้างประชาคมอาเซียนตอไป
- http//th.wikipedia.org/..แผ่นดินไหวและคลื่อนซึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547
- http//th.wikipedia.org/..เหตุการณ์พายุหมุนนาร์กิส_ พ.ศ.2551
- aseanwatch.org/.. อาเซียนกับวิกฤตมหาอุทกภัย 2554
วันพฤหัสบดีที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2560
Asian Ministerial Conference on Disaster Risk
รัฐมนตรีที่รับผิดชอบด้านการจัดการภัยพิบัติขออาเซียนเข้าประชุมร่วมกับผุ้แทนจากสำนักงานเลขาธิการอาเซียนและผู้บริหารศูนย์ประสานงานด้านมนุษยธรรมของอาเซียน ที่ประเทศอินโดนีเซียนระหว่างวันที่ 11-13 ตุลาคม 2559 โดยตั้งเป้าพัฒนาอาเซียนให้เป็นประชาคมที่พร้อมตั้งรับกับภับพิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ
ที่ประชุมได้หารือถึงแนวทางขยายความร่วมมือด้านการจัดการภัยพิบัติกับประเทศคู้เจรจาของอาเซยน นอกจากนี้ยังยืนยันจะยกระดับความพร้อมและการตอบสองต่อภัยพิบัติของอาเซียนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ที่ประชุมยังได้ลงนามในเอกสารสำคัญหลายฉบับ อาทิ แผนงานร่วมในการตอบโต้ภัยพิบัติของอาเซียน ASEAN Joint Disaster Responses Plan แนวทางการประเมินความเประบางและความเสี่ยงของอาเซียน นอกจากนี้ยังยืนยันจะยกระดับความพร้อมและการตอบสนองต่อภัยพิบัติของอาเซียนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ที่ประชุมยังได้ลงนามในเอกสารสำคัญหลายฉบับ อาทิ แผนงานร่วมในการตอบโต้ภัยพิบัติของอาเซียน ASEAN Risk and Vulnerability Assessmert Guidelines เป็นต้น
การประชุมครั้งนี้เป็นผลสืบเนื่องจากการลงนามในปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยอาเซียนร่วมใจเป็นหนึ่งเดี่ยวในการตอบโต้ภัยพิบัติ ASEAN Declaration on One ASEAN One Response ในที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 28 เมื่อเดือนกันยายน 2559 เพื่อผลักดันความร่วมมือด้านภัพิัติในระดับระหว่างภูมิภาค รัฐมนตรีอาเซียนด้านการจัดการภัยพิบัติยังรับรองแถลงการณ์ร่วในการประชุมระัระดับรัฐมนตรีแห่งเอเชียว่าด้วยการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ Asian Ministerial Conference on Disaster Risk ซึ่งจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 3-4 พฤศจิกายน 2559 ณ ประเทศอินเดีย แถลงการณ์ดังกล่วจะตอกย้ำว่าอาเซียนให้ความสนับสนุนการดำเนินงานตากรอบเซนได Sendai Framwork เพื่อลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ พ.ศ. 2558-2573...(aseanwatch/..อาเซียนมุ่งมั่นสร้างประชาคมที่พร้อมตั้งรับภัยพิบัติ)
สาระสำคัญ กรอบการดำเนินงานเซนไดเพื่อการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ พ.ศ. 2558-2573
จุดมุ่งหมาย เพื่อการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติและลดการสูญเสียชีวิต วิถีชีวิต และสุขภาพตลอดจนความสูญเสียต่อสินทรัพย์ทางเศราฐกิจ กายภาพ สังคม และสภาพแวดล้อม ของบุคคล ธุรกิจ ชุมชน และประเทศอย่างเป็นรูปธรรม
เป้าหมาย เพื่อป้องกันไม่ห้เกิดความเสี่ยงใหม่และลดควาเสี่ยงที่อยุ่เดิม ด้วยมาตรการทางเศาฐกิจ โครงสร้าง กฎหมาย สุขภาพ วัฒนธรรม การศึกษา สภาพแวดล้ม เทคโนโลยี การเมือง รวมถึงมาตรการเชิงสถาบัน ที่มีการบูรณากากรและลดความเหลือมล้ำ เพื่อป้องกัน และทำให้ควาล่อแหลมและเปราะบางต่อภัยพิบัติลดน้อยลง ตลอดจนช่วยให้มีการเตรียมความพร้อมสำหรับการเผชิญเหตุและฟื้นฟูที่ดียิ่งขึ้น อันนำไปสู่ความสามารถที่จะรับมือและฟื้นคืนกลับได้ในะยะเวลาที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
พันธกิจ
- เข้าใจความเสี่ยงจากภัยพิบัติ หมายถึง นโยบายและมาตรการในการบริหารจัดการความเาี่ยงจากภับพิบัติจะต้องจัดทำขึ้นจากฐานความเข้าใจเรื่องความเสี่ยงจากภัยพิบัติในทุกมิติของความเสี่ยง ประกอบด้วย ความเปราะบาง ศักยภาพ ความล่อแหลมของบุคคลและสินทรัพย์ ลักษณะของภัย และสภาพแวดล้อม ทังนี้ ความรู้ต่อความเสี่ยงภัยพิบัติดังกล่าวจะมผลอย่างมากในการทำการประเมินความเสี่ยงจากภัยพิบัติดังกล่าวจะมีผลอย่างมากในการทำการประเมินความเสี่ยงจากภัยพิบัติก่อนเกิดภัยพิบัติการป้องกันและลดผลกระทบจากภัยพิบัติ และในการพัฒนาและดำเนินมาตรการเตรียมความพร้อมและเผชิญเหตุภัยพิบัติให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
- เสริมสร้งศักยภาพในการบริหารและจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติ หมายถึง ศักยภาพในการบริหารและจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติในระดับชาติ ภูมภาค และโลก มีความสำคัญอย่างยิ่งยวดต่อการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังนั้น จึงจำเป็นท่จะต้องมีการกำหนดวิสัยทัศน์ แผนงาน สมรรถนะที่ต้องการ แนวทางการปฏิบัติงาน และการประสานงานทั้งภายในและระหว่างภาคส่วนต่างๆ ให้ชัดเจน ตลอดจนต้องส่งเสริมให้กลุ่มผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่วข้องเข้ามามีส่วนร่วมด้วย การเสริมสร้างศักยภาพในการบริหารและจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติเืพ่อดำเนินมาตรการป้องกัน ลดผลกระทบเตรียมความพร้อม เผชิญเหตุ ฟื้นฟู และบูณะจึงมีความจำเป็นและส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือและหุ้นสวนระหว่างกลไกและองค์กรต่างๆ ในอันท่จะขับเคลื่อนเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติและการพัฒนาที่ยั่งยืน
- ลงทุนในด้านการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติเพื้อให้พร้อมรับมือและฟื้นคืกลับได้ในระยะเวลาที่รวดเร็วและมีประสิทะิภาพ หมายถึง การลงทุนของรัฐและเอกชน การป้องกันและลดควมเสี่ยงจกถับพิบัติโดยมาตรการเชิงโครงสร้าง และไม่ใช้เชิงโครงสร้างมีควาสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนเศราฐกจ สังคม สุขภาพ และวัฒนธรรมของบุคคล ชุมชน ประเทศและสินทรัพย์ รวมทั้งสภาพแวดล้อมให้พร้อมรับมือและพื้นคืนกลับได้โดยเร็วเื่อเกิดภัยพิบัติ ทั้งนี้ การลงทุนดังกล่วยังเป็นแรงขับเคลื่อนให้ เกิดการพัฒนานวัตกรรม การเจริญเติบโต และการสร้างงานได้ ซึ่งมาตรการดังกล่าวนับได้วามีความคุ้มค่าต่อการลงทนุ และส่งผลให้การรักาชีวิต ป้องกัน และลดความสูญเสียเกิดผลเป็นรูปธรม อักทั้งยังช่วยให้การบูรณะฟื้นฟูภายหลังเกิดภัยพิบัติมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นด้วย
- พัฒนาศักยภาพในการเตียมความพร้อมเผชิญเหตุภัยพิบัติที่ีประสทิะิภาพ ตลอดจนการฟื้นสภาพและซ่อสร้างที่ดีกว่าเดิมในช่วงของการบูรณะฟื้นฟูภายหลังเหตุภัยพิบัติ หมายถึง ความเสี่ยงจากถัยพิบัิตที่เพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึงรวมถึงการที่ประชาชนและสิทรัพย์มีความล่อแหลมที่จะได้รับผลกระทบจากถัยพิบัติเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับบทเรียนจากถัยพิบัติท่เกิดขึ้นในอดีต เป็นัวบงชี้ถึงความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาความพร้อมในการเผชิญเหตุภัยพิบัติ รับมือต่อสถานกาณ์ภัยต่างๆ ที่อาเจเกิดขึ้น ผนวกมาตรการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติในการเตรียมความพร้อมรับมือภับพิลัติ ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวจะช่วยพัฒนาศักยภาพให้พร้อมสำหรับการเผชญเหตุ และการฟื้นฟูที่มีประสทิธิภาพสิ่งสำคัญอีกประการ คือ การพัฒนาภาวะผู้นำในกลุ่มสตรีและผุ้พิการให้มีส่วนร่วมในการผลักดันและส่งเสริมความสเมอภาคหญิงชาย และมาตการในการเปชิญเหตุ บูรณะฟื้นฟูที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้นอกจากนี้ ภัยพิบัติที่เกิดขึ้นได้แสดงให้เห็นว่า ในช่วงของการฟื้นฟูบูรณะที่มีการวางแนล่วงหน้ามาแล้วนั้นถือเป็นโอกาสสำคัญที่จะทำการฟื้นสภพและซ่อมสร้างให้ดีหว่เดิ ด้วยการบูรณาการมาตรการลดความเสี่ยงจากถัยพิบัติไว้ในมารการการพัฒนา เพื่อทำให้ประเทศและชุมชนมีความสามารถในการรับมือและฟื้นคืกลับได้โดยเร็วได้ทุกครั้งที่เกิดภัยพิบัติ
กลุ่มเป้าหมาย ระดับชาติ, ระดับท้องถิ่น, ระดับภูมิภาค, ระดับโลก, กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประกอบด้วย( ภาคประชาสังคม อาสาสมัคร .., ภาควิชาการ วิทยาศาสตร์ งานวิจัย, ภาคธุรกิิจ สมาคมวิชาชีพและสถาบันการเงิน, สื่อมวลชน), องค์การระหว่างประเทศ
ตัวชี้วัดระดับโลก การดำเนินงานของประเทศสมาชิกและภาคีเคื่อข่ายจะนำมาพิจารณาถึงความสำเร็จในภาพรวมการดำเนินงานของโลก ประกอบด้วบ 7 ตัวชี้วัด ดังนี้
- อัตราการเสียชีวิตจากภัยพิบัติ ของโลกลดลงอย่างเป็นรูปธรรม ภายในปี พงศ. 2573 โดยค่าเฉลี่ยการเสียชีวิตจากภัยพิบัติต่ออัตราการเสียชีวิตของประชากรโลก 1 แสนคน ระหว่างปี พ.ศ. 2563-2573 จะต้องน้อยกว่าค่าเฉลี่ยระหว่งปี 2548-2558
- จำนวนผู้ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติของโลกลดลงอย่างเป็นรูปธรรมภายในปี พ.ศ. 2573 โดยค่าเฉลี่ยของผู้ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติต่อประชากรโลก 1 แสนคน ระหว่างปี พ.ศ. 2563-2573 จะต้องน้อยกว่าาค่าเฉลี่ยระหว่างปี 2548-2558
- ความสูญเสียทางเศราฐกิจที่เกิดจาภัยพิบัติโดยตรงลดลงเมื่อเที่ยบกับผลิตภัณฑ์รวมประชาชาติของโลก ภายใปี พ.ศ. 2573
- สาธารณูปดภคที่สำคัญ และยริการสาธารณะพื้นฐาน ได้แก่สถานพยาบาลและสถานศึกษาได้รับความเสียหายจากภัยพิบัติลดลงอย่างเป็นรูปธรรม จากการพัฒนาวมพร้อมในการับมือและฟื้นกลับได้อย่างรวดเร็วเมื่อเกิดภัยพิบัติ ภายในปี พ.ศ. 2573
- จำนวนประเทศที่มียุทธศาสตร์ลดความเสี่ยงภัยพิบัติในระดบชาติและระดับ้องถ่ินเพ่ิมขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ภายในปี พ.ศ. 2563
- มีการยกระดับการให้คววาม่วยเหลือระหว่างประเทศแก่ประเทศกำลังพัฒนา ด้วยการให้การสนับสนุการดำนเนิการตากรอบนี้ในระดับชาติที่เพีงพอและยั่งยื ภายในปี พ.ศ. 2573
- ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลการแจ้งเตือนภัยล่วงหน้าและข้อมูลความเสี่ยงภัยพิบัติเพ่ิมมากขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ภายในปี พ.ศ. 2573...( pdf.Sendai Framwork for Disaster Risk Rduction 2015-2030)
ที่ประชุมได้หารือถึงแนวทางขยายความร่วมมือด้านการจัดการภัยพิบัติกับประเทศคู้เจรจาของอาเซยน นอกจากนี้ยังยืนยันจะยกระดับความพร้อมและการตอบสองต่อภัยพิบัติของอาเซียนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ที่ประชุมยังได้ลงนามในเอกสารสำคัญหลายฉบับ อาทิ แผนงานร่วมในการตอบโต้ภัยพิบัติของอาเซียน ASEAN Joint Disaster Responses Plan แนวทางการประเมินความเประบางและความเสี่ยงของอาเซียน นอกจากนี้ยังยืนยันจะยกระดับความพร้อมและการตอบสนองต่อภัยพิบัติของอาเซียนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ที่ประชุมยังได้ลงนามในเอกสารสำคัญหลายฉบับ อาทิ แผนงานร่วมในการตอบโต้ภัยพิบัติของอาเซียน ASEAN Risk and Vulnerability Assessmert Guidelines เป็นต้น
การประชุมครั้งนี้เป็นผลสืบเนื่องจากการลงนามในปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยอาเซียนร่วมใจเป็นหนึ่งเดี่ยวในการตอบโต้ภัยพิบัติ ASEAN Declaration on One ASEAN One Response ในที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 28 เมื่อเดือนกันยายน 2559 เพื่อผลักดันความร่วมมือด้านภัพิัติในระดับระหว่างภูมิภาค รัฐมนตรีอาเซียนด้านการจัดการภัยพิบัติยังรับรองแถลงการณ์ร่วในการประชุมระัระดับรัฐมนตรีแห่งเอเชียว่าด้วยการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ Asian Ministerial Conference on Disaster Risk ซึ่งจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 3-4 พฤศจิกายน 2559 ณ ประเทศอินเดีย แถลงการณ์ดังกล่วจะตอกย้ำว่าอาเซียนให้ความสนับสนุนการดำเนินงานตากรอบเซนได Sendai Framwork เพื่อลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ พ.ศ. 2558-2573...(aseanwatch/..อาเซียนมุ่งมั่นสร้างประชาคมที่พร้อมตั้งรับภัยพิบัติ)
สาระสำคัญ กรอบการดำเนินงานเซนไดเพื่อการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ พ.ศ. 2558-2573
จุดมุ่งหมาย เพื่อการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติและลดการสูญเสียชีวิต วิถีชีวิต และสุขภาพตลอดจนความสูญเสียต่อสินทรัพย์ทางเศราฐกิจ กายภาพ สังคม และสภาพแวดล้อม ของบุคคล ธุรกิจ ชุมชน และประเทศอย่างเป็นรูปธรรม
เป้าหมาย เพื่อป้องกันไม่ห้เกิดความเสี่ยงใหม่และลดควาเสี่ยงที่อยุ่เดิม ด้วยมาตรการทางเศาฐกิจ โครงสร้าง กฎหมาย สุขภาพ วัฒนธรรม การศึกษา สภาพแวดล้ม เทคโนโลยี การเมือง รวมถึงมาตรการเชิงสถาบัน ที่มีการบูรณากากรและลดความเหลือมล้ำ เพื่อป้องกัน และทำให้ควาล่อแหลมและเปราะบางต่อภัยพิบัติลดน้อยลง ตลอดจนช่วยให้มีการเตรียมความพร้อมสำหรับการเผชิญเหตุและฟื้นฟูที่ดียิ่งขึ้น อันนำไปสู่ความสามารถที่จะรับมือและฟื้นคืนกลับได้ในะยะเวลาที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
พันธกิจ
- เข้าใจความเสี่ยงจากภัยพิบัติ หมายถึง นโยบายและมาตรการในการบริหารจัดการความเาี่ยงจากภับพิบัติจะต้องจัดทำขึ้นจากฐานความเข้าใจเรื่องความเสี่ยงจากภัยพิบัติในทุกมิติของความเสี่ยง ประกอบด้วย ความเปราะบาง ศักยภาพ ความล่อแหลมของบุคคลและสินทรัพย์ ลักษณะของภัย และสภาพแวดล้อม ทังนี้ ความรู้ต่อความเสี่ยงภัยพิบัติดังกล่าวจะมผลอย่างมากในการทำการประเมินความเสี่ยงจากภัยพิบัติดังกล่าวจะมีผลอย่างมากในการทำการประเมินความเสี่ยงจากภัยพิบัติก่อนเกิดภัยพิบัติการป้องกันและลดผลกระทบจากภัยพิบัติ และในการพัฒนาและดำเนินมาตรการเตรียมความพร้อมและเผชิญเหตุภัยพิบัติให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
- เสริมสร้งศักยภาพในการบริหารและจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติ หมายถึง ศักยภาพในการบริหารและจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติในระดับชาติ ภูมภาค และโลก มีความสำคัญอย่างยิ่งยวดต่อการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังนั้น จึงจำเป็นท่จะต้องมีการกำหนดวิสัยทัศน์ แผนงาน สมรรถนะที่ต้องการ แนวทางการปฏิบัติงาน และการประสานงานทั้งภายในและระหว่างภาคส่วนต่างๆ ให้ชัดเจน ตลอดจนต้องส่งเสริมให้กลุ่มผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่วข้องเข้ามามีส่วนร่วมด้วย การเสริมสร้างศักยภาพในการบริหารและจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติเืพ่อดำเนินมาตรการป้องกัน ลดผลกระทบเตรียมความพร้อม เผชิญเหตุ ฟื้นฟู และบูณะจึงมีความจำเป็นและส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือและหุ้นสวนระหว่างกลไกและองค์กรต่างๆ ในอันท่จะขับเคลื่อนเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติและการพัฒนาที่ยั่งยืน
- ลงทุนในด้านการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติเพื้อให้พร้อมรับมือและฟื้นคืกลับได้ในระยะเวลาที่รวดเร็วและมีประสิทะิภาพ หมายถึง การลงทุนของรัฐและเอกชน การป้องกันและลดควมเสี่ยงจกถับพิบัติโดยมาตรการเชิงโครงสร้าง และไม่ใช้เชิงโครงสร้างมีควาสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนเศราฐกจ สังคม สุขภาพ และวัฒนธรรมของบุคคล ชุมชน ประเทศและสินทรัพย์ รวมทั้งสภาพแวดล้อมให้พร้อมรับมือและพื้นคืนกลับได้โดยเร็วเื่อเกิดภัยพิบัติ ทั้งนี้ การลงทุนดังกล่วยังเป็นแรงขับเคลื่อนให้ เกิดการพัฒนานวัตกรรม การเจริญเติบโต และการสร้างงานได้ ซึ่งมาตรการดังกล่าวนับได้วามีความคุ้มค่าต่อการลงทนุ และส่งผลให้การรักาชีวิต ป้องกัน และลดความสูญเสียเกิดผลเป็นรูปธรม อักทั้งยังช่วยให้การบูรณะฟื้นฟูภายหลังเกิดภัยพิบัติมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นด้วย
- พัฒนาศักยภาพในการเตียมความพร้อมเผชิญเหตุภัยพิบัติที่ีประสทิะิภาพ ตลอดจนการฟื้นสภาพและซ่อสร้างที่ดีกว่าเดิมในช่วงของการบูรณะฟื้นฟูภายหลังเหตุภัยพิบัติ หมายถึง ความเสี่ยงจากถัยพิบัิตที่เพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึงรวมถึงการที่ประชาชนและสิทรัพย์มีความล่อแหลมที่จะได้รับผลกระทบจากถัยพิบัติเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับบทเรียนจากถัยพิบัติท่เกิดขึ้นในอดีต เป็นัวบงชี้ถึงความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาความพร้อมในการเผชิญเหตุภัยพิบัติ รับมือต่อสถานกาณ์ภัยต่างๆ ที่อาเจเกิดขึ้น ผนวกมาตรการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติในการเตรียมความพร้อมรับมือภับพิลัติ ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวจะช่วยพัฒนาศักยภาพให้พร้อมสำหรับการเผชญเหตุ และการฟื้นฟูที่มีประสทิธิภาพสิ่งสำคัญอีกประการ คือ การพัฒนาภาวะผู้นำในกลุ่มสตรีและผุ้พิการให้มีส่วนร่วมในการผลักดันและส่งเสริมความสเมอภาคหญิงชาย และมาตการในการเปชิญเหตุ บูรณะฟื้นฟูที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้นอกจากนี้ ภัยพิบัติที่เกิดขึ้นได้แสดงให้เห็นว่า ในช่วงของการฟื้นฟูบูรณะที่มีการวางแนล่วงหน้ามาแล้วนั้นถือเป็นโอกาสสำคัญที่จะทำการฟื้นสภพและซ่อมสร้างให้ดีหว่เดิ ด้วยการบูรณาการมาตรการลดความเสี่ยงจากถัยพิบัติไว้ในมารการการพัฒนา เพื่อทำให้ประเทศและชุมชนมีความสามารถในการรับมือและฟื้นคืกลับได้โดยเร็วได้ทุกครั้งที่เกิดภัยพิบัติ
กลุ่มเป้าหมาย ระดับชาติ, ระดับท้องถิ่น, ระดับภูมิภาค, ระดับโลก, กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประกอบด้วย( ภาคประชาสังคม อาสาสมัคร .., ภาควิชาการ วิทยาศาสตร์ งานวิจัย, ภาคธุรกิิจ สมาคมวิชาชีพและสถาบันการเงิน, สื่อมวลชน), องค์การระหว่างประเทศ
ตัวชี้วัดระดับโลก การดำเนินงานของประเทศสมาชิกและภาคีเคื่อข่ายจะนำมาพิจารณาถึงความสำเร็จในภาพรวมการดำเนินงานของโลก ประกอบด้วบ 7 ตัวชี้วัด ดังนี้
- อัตราการเสียชีวิตจากภัยพิบัติ ของโลกลดลงอย่างเป็นรูปธรรม ภายในปี พงศ. 2573 โดยค่าเฉลี่ยการเสียชีวิตจากภัยพิบัติต่ออัตราการเสียชีวิตของประชากรโลก 1 แสนคน ระหว่างปี พ.ศ. 2563-2573 จะต้องน้อยกว่าค่าเฉลี่ยระหว่งปี 2548-2558
- จำนวนผู้ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติของโลกลดลงอย่างเป็นรูปธรรมภายในปี พ.ศ. 2573 โดยค่าเฉลี่ยของผู้ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติต่อประชากรโลก 1 แสนคน ระหว่างปี พ.ศ. 2563-2573 จะต้องน้อยกว่าาค่าเฉลี่ยระหว่างปี 2548-2558
- ความสูญเสียทางเศราฐกิจที่เกิดจาภัยพิบัติโดยตรงลดลงเมื่อเที่ยบกับผลิตภัณฑ์รวมประชาชาติของโลก ภายใปี พ.ศ. 2573
- สาธารณูปดภคที่สำคัญ และยริการสาธารณะพื้นฐาน ได้แก่สถานพยาบาลและสถานศึกษาได้รับความเสียหายจากภัยพิบัติลดลงอย่างเป็นรูปธรรม จากการพัฒนาวมพร้อมในการับมือและฟื้นกลับได้อย่างรวดเร็วเมื่อเกิดภัยพิบัติ ภายในปี พ.ศ. 2573
- จำนวนประเทศที่มียุทธศาสตร์ลดความเสี่ยงภัยพิบัติในระดบชาติและระดับ้องถ่ินเพ่ิมขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ภายในปี พ.ศ. 2563
- มีการยกระดับการให้คววาม่วยเหลือระหว่างประเทศแก่ประเทศกำลังพัฒนา ด้วยการให้การสนับสนุการดำนเนิการตากรอบนี้ในระดับชาติที่เพีงพอและยั่งยื ภายในปี พ.ศ. 2573
- ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลการแจ้งเตือนภัยล่วงหน้าและข้อมูลความเสี่ยงภัยพิบัติเพ่ิมมากขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ภายในปี พ.ศ. 2573...( pdf.Sendai Framwork for Disaster Risk Rduction 2015-2030)
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...