แมุ้กวันนี้สื่ออย่าง "วรรณกรรม" จะเป็นสื่ออันดับท้ายๆ ที่จนไทยจะให้ความสำคัญ เพราะสื่ออื่นๆ อย่างอินเทอร์เนตและโทรทัศน์ดูจะเป็นสื่อที่เข้าถึงได้ง่ายกว่า แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าสื่อวรรณกรรมคือสื่อที่มอิทธิพลและสามารถสื่อสารใจความสำคัญไปสู่วงกว้างได้อย่างมีประสิทธิภาพ

อุทยานการเรียนรู้ TK Park จัด นิทรรศการพิพิธอาเซียน ตอน หลากความเหมือนหลายความต่าง ที่เป็ิดประตูสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้และเข้าใจมุมมองความแตกต่างที่เป็นหน่งเดี่ยวของประเทศสมาชิก ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้หลากหลายรูปแบบ ซึ่งส่นหนึงของ
นิทรรศการในครั้งนี้ เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคมที่ผ่านมา ก็เป็นการเสวนดีๆ ทีชือว่า "อินสไปร บาย ไอดอล วรรณกรรมสร้างความเป็หนึ่ง" โดยวิทยากร คุณหญิงลักษณาจันทร เลาหพันธุ์ นายกสมาคมอาเซียน - ประเทศไทย และ คุณประภัสสร เสวิกุล นักเขียนชื่อดังและศิลปินแห่งชาติสาขา วรรณศิลป์ ดำเนินการเสวนาโดย คุณวิภาว์ บูรพาเตชะ บรณาธิการนิตยสาร แฮปเปนนิ่งส์

ทางคุณประภันสเอง เมื่อสมัยที่ยังเป็นนายกสมาคมนักเขียน ก็เคยได้ร่วมโครงการวรรณกรรรมสัมพันธ์ ซึ่งมีการรวมวรรณกรรมของไทยและกัมพูชารวมไว้ในเล่มเดียวกัน และต่อมาก็ขยายไปยังเวียดนามและลาว คุณประภัสสจึงมีความคุ้นเคยกับนักประพันธของเพื่อบ้านและความเป็นมาต่างๆ ได้ดีขึ้น ผมได้เดินทางไปยังประเทศเหล่านี้เพื่อไปสัมผัสชีวิตจริงๆ ทงการทูตต่่างประเทศก็ช่วยเหลือติดต่อประสานงานให้ มีโอกาสพบปะพูดคุยกับคนทั้งประชาชนทั่วไป นักวิชาการ นักประวัติศาสตร์ ผู้นำทางศาสนา ผุ้นำทางสังคมต่างๆ ซึ่งเป็นประโยขน์ในการเขียนหนังสือมาก" คุณประภัสสรเล่าถึงการทำงานในโครงการนี้

การสร้างประชาคมอาเซียนนั้น ไม่ได้มีแต่ใแงเศาฐกิจอย่างเดียว ยังมีด้านอื่นๆ อีกด้วย การสร้างความเข้าใจผ่านงานวรรณกรรมทั้งในแง่วิถีชีวิตและวัฒนธรรม จึงเป็นส่งิที่จำเป็นอย่างยิ่ง "เราอาจจะลืมไปว่าที่จริงเราอยู่กันใกล้มาก แต่เราไม่รู้จักกันเลย ในความนึกคิดอย่างของคนอินโดนีเซียนหรือฟิลปปินส์ก็ดี เขาภูมิใจที่ได้ต่อสู้เพือเกา ประเทศไทยอาจจะโชคดีที่ไมต้องผ่านสิ่งเหล่านี้ ซึ่งทำให้เราไม่เห็น ซึ่งวรรณกรรมสามารถทำลายกำแพงเหล่านี้ลงได้ และอีกเหตุผลหนึงี่ทำให้เราไม่รู้จักประเทศเพื่อบ้านเลย นั่นคือเรื่องของภาษา "ภาษาเป็นอุปสรรคท่ชัดเจน เราไม่ร้ภาษาเพื่อบ้านและเราไม่รู้ภาษาอังกฤษเพียงพอที่จะเขียนนวนิยายเป็นภาษาอังกฤษ น่าเสียดายมากๆ ที่ภูมิภาคเรามีรางวัลซีไรต์ แต่คนไทยกลับไม่รู้จัเท่าที่คว กลับไปรู้ักนกเขียนต่างชาติมากกว่า


แตกต่างกันอยู่มากก็ตาม "เราต้องยอมรับว่าประเทศในอาเซียนมีความแตกต่าง แต่ในความแตกต่างนั้นก็มีความเหมือนกันอยู่ อยา่งนิทานพื้นบ้านของแต่ละประเทศก็มตัวละครเหมือนกันเยอะ หรือแม้แต่ภาษาก็มีรากของภาษาที่มาจากที่เดียวกัน อีกทั้งประเพณีต่างๆ ก็มีความคล้ายคลึงกัน เราต้องกลับมาอ่านงานวรณกรมของภุมิภาคเรา เพื่อจะได้เชื่อมโยงและเข้าใจว่าความมีอัตลักษณ์เดียวกันเป็นอย่างไร" คุณหญิงลักษาจันทรแสดงทัศนะ
แน่นอนว่าโครงการนี้จะไม่สำเร็จ หากหนังสือวรรณกรรมดีๆ เหล่านี้ไปไม่ถึงผู้อ่าน โดยเฉพาะอยางยิ่งเยาวชน คุณหญิงลักษณาจันทรจึงมี
ความคาดหวงต่อไปว่า "สถาบันกรศึกษาควรจะรับหนังสือเหล่านี้เข้าำปเป็นส่วนหนึ่งของหนังสืออ่านอกเวลาเรียนของเยาวชนอย่าลือมว่การศึกษาของปะเทศเราก็เป็นปัญหาหนึ่งที่กำลังหาทางออก แต่การให้เด็อ่านหนังสือดีๆ และให้เขยนสิ่งที่ได้จากกรก่า ซึ่งไม่จำเป็นต้องเห็นมุมเดียวกัน อาจจะมีมุมมองที่ต่างกัน ซึ่งเป็นส่ิงที่เราอยางเห็น"
และท้ายที่สุดจุดประสค์ของโครงการนี้ ก็คือการรวมประเทศทั้งหมดในอาเซียนให้เป็นหนึ่งเดี่ยวกัน รวมไปถึงลดควมขัดแย้งที่เคยเกิดขึ้น เช่นเดียวกันจุดประสงค์ของประชาคมอาเซียน "เราอยยู่ในความเกลียดชัและไม่เข้าใจกันมานานพอสมควร เราอยู่ในประชาคมอาเซียนแล้ว ถ้ายังมีอคติต่อกันจะอยู่ด้วยกันลำบาก ผมคิดว่าเป็นหน้าที่ของนักเขียนที่ต้องช่วยสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศเพื่อบ้าน เราไม่สามารถอยู่ลำพังประเทศเดียวได้ เราต้องอยู่ร่วมกันเป็นประชาคม ซึ่งวิธีการอยู่่ร่วมกันที่ดีคือทำความรู้จักและเข้าใจกัน" คุณประภัสสรทิ้งท้าย
วรรณกรรมอาจจเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยให้เรารู้จักและเข้าใจประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียนได้มากขึ้น แต่สิ่งที่สำคัญกว่านั้นคือการสร้างทัศนคติที่ดีต่อกัน ความเป็ประชาคมอาเซียนจึงจะเกิดขึ้นโดยสมบูรณ์..
- http//www.tkpark.or.th/...มองอาเซียนผ่านวรรณกรรม, วิชญ์พล พลพิทักษ์ชัย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น