ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน เป็นตระกูลภาษาที่มีผุ้พูดกระจายไปทั่วหมู่เกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และมหาสมุทรแปซิฟิก มีจำนวนน้อยบนผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย อยู่ในระดับมาตรฐานเดียวกับตระกูลภาษาอินโด- ยูโรเปียนและตระกูลภาษายูราลิก คือสามารถสืบหาภาษาดั้งเดิมของตระกูลได้
กล่มภาษาหมู่เกาะฟอร์โมซา เป็นภาษาของชาวพื้นเมืองในไต้หวันซึ่งมีจำนวน 2% ของประชากรบนเกาะไต้หวัน แต่มีจำนวนน้อยกว่านั้นที่ยังพุดภาษาดั้งเดิมของตน จากภาษาพื้นเมืองทั้งหมด 26 ภาษา เป็นภาษาตายแล้ว 10 ภาษาที่เหลืออีก 4-5 ภาาาเป็นภาษาที่ใกล้ตาย ที่เหลือจัดเป็นภาษาที่เสี่ยงที่จะกลายเป็นภาษาตาย
ภาษาพื้นเมืองของไต้หวันมีค
วามสำคัญมากในทางภาษาศาสตร์ เพราะไต้หวันคล้ายจะเป็นจุดกำเนิดของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนทั้งหมด กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซามี 9 สาขาจากทั้งหมด 10 สาขาของตระกูลภาาาออสโตรนีเซียน โดยอีกสาขาหนึ่งคือกลุ่มภาาามาลาโย-โพลีเนีเซีย ราว 1,200 ภาษาที่พบนอกเกาะไต้หวัน แม้ว่านักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ไม่ได้ยอมรัีบรายละเอียดทั้งหมด แต่ก็ยอมรับร่วมกันว่าตระกุลภาษาออสโตรนีเซียนมีจุดกำเนิดในไต้หวัน และมีการศึกษาทางด้านพันธุศาสตร์มนุษย์ เพิ่มเติมเกี่ยวกับสมมติฐานนี้
ปัจจุบัน กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซาทั้งหมดกำลังถูกแทนที่ด้วยภาาาจันกลางหลัีงจากที่รัฐบาลชองสาธารณรัฐจีนเร่ิมจัดการศึกษาให้ชาวพื้นเมืองในไต้หวัน
การกำหนดขอบเขตของภาษาและสำเนียงโดยทัวไปทำได้ยาก และมัีกมีข้อโต้แย้งเสมอ ซึ่้งพบได้เช่นกันในการศึกษาภาษาในกลุ่มนี้ โดยเฉพาะภาษาของเผ่าที่คล้ายกัน โดยทั่วไปมีการจัดแบงดังนี้
ภาษาที่ยังมีชีวิตอยู่ ได้แก่ กลุ่มภาษาอตายัล ( ภาษาอตายัล, ภาษาซีติกหรือภาษาตรูกู, ภาษาบูนัน) กลุ่มภาษาอามิส( ภาษาอามิส, ภาษาอามิสสนาเตารัน, ภาษากาวาลัน, ภาษาไปวัน, ภาษาปาเซะห์, ภาษาไซซิยัต, ภาษาปูยูมา, ภาษารูไก, ภาษาเตา, ภาษาเทา) กลุ่มภาษาเซา (ภาษาเซา, ภาษาซาอารัว, ภาษากานากานาบู)
กลุ่มภาษาเซา (ภาษาบาบูซะห์, ภาษาบาซาย, ภาษาเกอตางาลัน, ภาษาเกอตางาลัน, มากาเตา, ภาษามากัตเตา, ปาโปรา, ภาษาโปโปรา, ภาษาซีรายา, ภาษาตริวัน, ภาษาเตากัส)
กลุ่มภาษาจาม เป็นกลุ่มภาษาจำนวน 10 ภาษาซึ่งใช้พุดในกัมพุชา เวียดนามและเกาไหหลำ อยุ่ในกลุ่มภาษามาเลย์อิก ตระกูลภาาาออสโตรนีเซียน ภาษาจารายและภาษาจาม (ทั้งตะวันตกและตะวันออก) เป็นภาษาที่มีผุ้พูดมากที่สุด ภาษาทซัตเป็นภาษาที่มีผุ้พูดน้อยที่สุด การแบ่งย่อยในกลุ่มนี้ได้แก่ กลุ่มจามเหนือ ภาษาทซัต กลุ่มจามใต้ แบ่งเป็นกลุ่มจามชายฝั่ง ( ภาษาจาม, ภาษาจรู, ภาษารอกลาย, ภาษาจักเกีย) กลุ่มจามที่ราบสูง(ภาษาฮาโรย, ภาษาจาราย, ภาษาราเด)
กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี เป็นสาขาของกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ได้แก่ภาษาที่ใช้พูดในเกาะซูลาเวซี และเกาะซุนดาใหญ่ เช่นเดียวกับในชามอโรและปาเวา โดยทั่วไป กลุ่มาษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกแบ่งเป็นสองกลุ่มคือกลุ่มตอนใน (ซุนดา-ซูลาเวซี) และกลุ่มตอนนอก(บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์) ซึ่งการแบ่งนี้ใช้หลักทางภุมิศาสตร์เป็นเกณฑ์
ภาษาในกลุ่มซุนดา-ซูลาเวซีแบ่งเป็นกลุ่มตามความใกล้ชิดได้อลายกลุ่มแต่ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มยังไม่ชัดเจน ภาษาในเกาะซูลาเวซีเหนือ 20 ภาษา รวมทั้งภาษาในเหาะทางเหนือ (กลุ่มภาษาซังฆีริก เช่น ภาษาบันติก กลุ่มภาษามีนาาฮาซัน และกลุ่มภาาาโมนโคนโคว-โคโรนตาดล) ไม่ไดอยุ่ในกลุ่มซุนดา- ซูลาเวซีแต่อยู่ในกลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ ภาษที่จัดอยู่ในกลุ่มได้แก่ กลุ่มภาษาโตมีนี, กลุ่มภาษาซาลวน, กลุ่มภาษาไกลี, กลุ่มภาษาซูลาเวซี, กลุ่มภาษาบังกู-โตกาลี,กลุ่มภาษาโวตู-โวลิโอ, กลุ่มภาษามุนา-บูโตน, ภาษากาโย, กลุ่มภาษาสุมาตรา, กลุ่มภาษามาเลย์อิก, กลุ่มภาษาลัมปูติก, ภาษาซุนดา(ในชวาตะวันตก), ภาษาชวา, ภาษามาดูรา, กลุ่มภาษาลาหลี-ซาซัก, ซุมบาวา, ภาษาปาเลาและภาาาชามอร์โรในหมู่กาะมาเรียนรวมทั้งเกาะกวม
กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ หรือกลุ่มภาษาเอสเปโรนีเซีย หรือกลุ่มภาาามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกนอก เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนมีรวมภาษาของฟิลิปปินส์ เกาะบอร์เนียว คาบสมุทรทงเหนือของเกาะซูลาเวซีและเกาะมาดากัสการ์ ภายในกลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกแบ่งได้เป็นสองกลุ่มคือกลุ่มนอก(บอร์เนียว-ฟิลปปินส์)และกลุ่มใน (ซุนดา-ซูลาเวซี) การแบ่งแบบนี้ถือเป็นการแบ่งตามภุมิศาสตร์
ภาษาในกลุ่มนี้มีจำนวนมาก แบ่งเป็นกลุ่มเล็กๆ มากมาย แต่ความสัมพันธ์ระหว่างกันยังไม่แน่นอน
กลุ่มฟิลิปปินส์เหนือ
กลุ่มภาษาบาชิอิก มี 4 ภาษาระหวางเกาะลูซอนกับเกาะฟอร์โมซา รวมทั้งภาษาอีวาตันในฟิลิปปินส์ และภาษายามิในไต้หวัน, กลุ่มภาษาลูซอนเหนือ ได้แก่ ภาษาอีโลกาโน, กลุ่มภาษาอร์ดิลเยราเหนือ มี15 ภาษาในกอร์ดิลเยราและชายฝั่งตะวันออกขอวลูซอน รวมภาษาอีบานักและภาษาอักตา, กลุ่มภาาากอร์ดิลเยรากลาง-ใต้ มี 25 ภาษาในเขตภูเขาของลูซอนเหนือ รวมทั้งภาษาปางาซินันและภาษาอีโกโรต, ภาษาอาร์ตาในบริเวณปางาซินัน,ฅ กลุ่มภาษาลูซอนกลาง มี 5 ภาษาใกล้ภูเขาไฟปีนาตูโล รวมทั้งภาษาปัมปางัน, กลุ่มภาษาซัมบาลัิก รวมภาาาซัมบัลและภาษาโบลิเนา, กลุ่มภาษามินโดโรเหนือ หรือมังยันเหนือมี 3 ภาษา
กลุ่มภาษาวิซายัสและลูซอนใต้ ได้แก่ กลุ่มภาษามังยันใต้ มี 3 ภาษาในเขตมินโดโร รวมทั้งภาษาบูฮิดและภาษาฮานูโนโอ, กลุ่มภาษากาลาเมียน มี 2 ภาษาระหว่างมินโดโรกับปาลาวัน รวมทั้งภาษาตักบันวา, กลุ่มภาษาปลาลาวาโน มี 5 ภาษาในเกาะปาลาวาโนส, กลุ่มภาาาฟิลิปปินส์กลาง ได้แก่ ภาษาตากาล็อกหรือภาษาฟิลิปิโน,กลุ่มภาาาบิกอล มี 3 ภาษาในลูซอนใต้ เรียกรวมกันว่าบิกอล,กลุ่มภาษาวิชายัน มี 20 ภาษาในและรอบๆ ทะเลวิซายันรวมทั้งมินดาเนาเหนือ ภาษาหลักได้แก่ ภาาาเซบัวโน ภาษาฮิลิกายนอน ภาษาวาราย-วาราย ภาษากินารายอา ภาษาเตาซุก ภาษามามันวา ทางเหนือของมินดาเนา กลุ่มภาษามันซากัน มี 8 ภาษาในบริเวณดาเวารวมมั้งภาษาดาวาเวนโย
กลุ่มมินดาเนา กลุ่มภาษาฟิลิปปินส์ใต้ ได้แก่ กลุ่มภาษามาโนโบ มี 15 ภาษาในมินดาเนากลาง รวมภาษาตาซาดาย, กลุ่มภาษามาโนโบ มี 15 ภาษาในมินดาเนากลาง รวมภาษาตาซาดาย, กลุ่มภาษาดาเนามี 3 ภาษาในมินดาเนาตะวันออก รวมทั้งภาาามากินดาเนา และภาษามาราเนา, กลุ่มภาษาซูบานุน มี 5 ภาษาในคาบสมุทรทงตะวันตกของมินดาเนา, กลุ่มภาษามินดาเนาใต้ มี 5 ภาษาทางชายฝั่งตอนใต้รวมทังภาษาตโบลี, กลุ่มภาษาซามา-บาเจา มี 10 ภาษาในเกาะซุลูและบีลีรัน
กลุ่มบอร์เนียว กลุ่มภาาบารีดต มี 12 ภาษาในบอร์เนียวใต้ และมาดากัสการ์รวมทั้งภาษารายู ดยัค และภาษามาลากาซี, กลุ่มภาษากายัน มี 18 ภาษาในบอรเ์เกนียวกล่าง รวมทั้งภาษากายัน, ภาษาเปนันฅ กลุ่มภาษากายัน, ภาษาเปนัน, กลุ่มภาษดยัคบก มี 12 ภาษาในบอร์เนียวตะวันตก เช่น ภาษาลารา, กลุ่มภาษาเมลาเนา-กาจัง แบ่งเป็นภาษาเมลาเนา กับภาษากาจัง, กลุ่มภาาาเบอราวัน-บารัมดต, กลุ่มนันตุลูล กลุ่มภาษาไดยัก เป็นภาาาในบริเวณชายแดนของรัฐซาบะฮ์กับกาลิมัตัน แบ่งเป็น กลุ่มภาษาเกลาบิติก มี 5 ภาษา รวมทั้งภาษาเกลาบิต, กลุ่มภาษามูรุติก มี 12 ภาษารวมทั้งภาษาโตโกล มูรุต, กลุ่มภาาาเกนยะห์ มี 11 ภาษาในบอร์เนียวกลาง เรียกเกนยะห์, กลุ่มภาษารีจัง - เวเจา, กลุ่มภาาาซาบะฮ์ แบ่งเป็น กลุ่มภาษาดูซูนิก มี 19 ภาษา รวมทังภาษากาดาซัน-ดูซุน, ภาษาอีดาอัน, กลุ่มภาษาไปตานิก มี 5 ภาษา รวมทั้งภาษาตัมบาเนา
กลุ่มภาษาซูลาเวซีเหนือ กลุ่มภาษาซัมกีริกมี 4 ภาษา ในทางเหนือสุด รวมทั้งกลุ่มภาษาบนติก, กลุ่มภาษามีนามาซัน มี 5 ภาษาเรียกภาษามีนาอาซาฅ กฃุ่มภาาาดมนโกนโดว-โกรอนตาโล มี 9 ภาษา ในโก-รนตาโรและจังหวัดซูลาเวซีเหนือ รวมภาษาโบลาอัง โมโกนโดว
กลุ่มภาษาบาตานิก เป็นกลุ่มของภาาาในกลุ่มภาาามาลาโย-โพลีเนเซีย ตระกุลภาษาออสโตรนีเซียน มี 3 กลุ่มคือ ภาษาอีวาตัน ภาษาบาบูยัน และภาษาอิตบายัต ใช้พุดในบาตานและหมุ่เกาะบลาตาเนส ซึ่งเป็นหมุ่เกาะทางตอนเหนือของฟิลิปปินส์ อยุ่ระหว่งไต้หวันกับเกาะลูซอน อีกกลุ่มหนึ่งคือ ภาษายามิ ใช้พูดบนเกาะกล้วยไม้ใกล้กับไต้หวัน
กลุ่มภาษาฟิลิปปินส์กลาง เป็นภาาาที่ใช้พุดในฟิลิปปินส์ กระจายทั่วไปในเกาลูซอนตอนใต้ หมุ่เกาะลูซอนตอนใต้ หมู่เกาะวิซายัส เกาะมินดาเนา และหมุ่เกาะซูลู ดัวอยางภาษาในกลุ่มนี้ได้แก่ ภาาาตากาล็อก ภาษาเซบัวโน ภาษาฮิลิไกนอน ภาษาบิโกล ภาษาวาไร-วาไร ภาษากินาโรอา ภาษาเตาซุกและอื่นๆ
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย เป็นกลุ่มย่อยของภาาาตระกุลออสโตรนีเซียน มีผู้พูดทั้งหมดราว 351 ล้านคน แพร่กระจายในบริเวณหมุ่เกาะตั้งแต่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปจนถึงหมู่เกาะแปซิฟิก และมีจำนวนเล็กน้อยในผืนแผ่นดินของทวีปเอเชย ภาาามาลากาซีเป็นภาษาในกลุ่มนี้ที่อยุ่ห่างไกลที่สุดใช้พุดบนเกาะมาดากัสการ์ในมหาสมุทรอินเดีย
ลักษณะเฉพาะของกลุ่มภาษานี้คือมีแนวโน้มใช้การซ้ำคำทั้งหมดหรือบางส่วนเพื่อแสดงรูปพหูพจน์ การออกเสียงเป็นแบบง่ายๆ ไม่ค่อยพบกลุ่มของพยัญชนะ เช่น str หรือ mpt ในภาษาอังกฤษ มีเสียงสระใช้น้อยส่วนมากมีห้าเสียง
หลายทศวรรษที่ผ่านมา กลุ่มภาษามาลาดย-โพลีเนเซียถูแบ่งเป็นกลุ่มตะวันตกและกลุ่มกลาง-ตะวันออกการแบ่งของกลุ่มตะวันตกเป็นการแบงดดยใช้ลักษระทงภูมิศาสตร์โดยไม่มีความเกี่ยวพันกับหน่วยทางภาษาศาสตร์ ในปัจจุบันกลุ่มตะวันตกนี้จึงแบ่งเป็นกลุ่มนอกและกลุ่มในที่กลายเป็นสาขาย่อยของกลุ่มภาษามาลาดย-โพลีเนเซียศูนย์กลาง กลุ่มในเรียกวา กลุ่มภาาาอบร์เนียว - ฟิลิปปินส์ กลุ่มนอกเรียกว่ากลุ่มภาษาซุนดา-สุลาเวสี
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียกลาง เป็นสาขาของภาษาตระกุลออสโตรนีเซียน มีผุ้พุดในหู่เกาะซุนดาน้อยและหมู่เกาะโมลุกกะในทะเลยันดา ใกล้เคียงกับจังหวัดนูซาเต็งการาตะวันออก จังหวัดมาลูกุ ประเทสอินโดนีเซีย และประเทศติมอร์-เลสเต (ยกเว้นกลุ่มภาษาปาปัวของติมอร์และเกาะใกล้เคียง) โดยมีกลุ่มภาาาบีมาที่แรพ่กระจายในจังหวัดนูซา เต็งการาตะวันตก และภาคตะวันออกของเกาะซุมบาวา และกลุ่มภาษาซูลาทางตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัดมาลูกูตอนเหนือ เกาะหลักๆ ของบริเวณนี้ได้แก่ เกาะซุมบาวา เกาะซุมบา เกาะฟลอเรส เกาะติมอร์ เกาะบูรู และเกาะเซรัม ภาษาที่สำคัญได้แก่ ภาาามัวฆาไร ของเกาะฟลอเรสตะวันตกและภาาาเตตุมที่เป็นภาษาประจำชาติของติมอร์-เลสเตร
การจำแนกแบ่งกลุ่มภาาานีมีหลักฐานอ่อน โดยเแพาะข้อด้อยที่ไม่มีลักษระร่วมของภาษาในเขตภูมิศาตร์เดียวกัน นักภาาาศาสตร์บางคนจัดให้กลุ่มนี้เป็นกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียกลาง-ตะวันออก ที่ต่างจากกลุ่มภาษามาลาดย-โพลีนีเซียตะวันออก ภาษาจำนวนมากางตะวันออกของเกาะฟลอเรสและเกาะใกล้เคยงโดยเฉพาะเกาซาวู มีศัพท์พื้นฐานที่ไม่อยุ่ในตระกูลออสโตรนีเซียนมา และอาจจะต้องพิสูจน์ต่อไปว่าเป็นภาษาในตระกูลออสโตรนีเซียนแน่นอนหรือไม่th.wikipedia.org/wiki/หมวดหมู่:ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน
วันเสาร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2560
วันศุกร์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2560
Austronesian languages
ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน เป็นตระกูลภาษาที่มีผู้พูดกระจายไปทั่วหมุ่เกาะในเอชียตะวันออกเฉียงใต้และมหาสมุทรแปซิฟิก มีจำนวนน้อยบนผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย อยุ่ในระดับมาตรฐานเดียวกับ ตระกูลภาาาอินโด-ยุโรเปียนและตระกุลภาษายูราลักคือสามารถสืบหาภาษาดั้งเดิมของตระกุลได้
คำว่าออสโตรนีเซียนมาจากภาษาละติน astro (ลมใต้ป รวมกับคำภาษาอรีก nesos ตระกูฃภษานี้ได้ชื่อนี้ เพราะสวนมากใช้พุดในบริเวณหมุ่เกาะ มีเพียงไม่กี่ภาษา เช่น ภาษามลายู และภาษาจามที่สช้พุดบนผืนแผ่นดิน สมาชิกของตระกูลนี้มีถึง 1,268 ภาษา หรือประมาณ 1 ใน 5 ของภาษาที่รู้จักกันทั่วดโลก การแพร่กระจายจากแหล่งกำเนิดของภาษาถือว่ากว้างไกล เร่ิมต้้งแต่เกาะมาดากัสการ์ ไปจนถึงเกาะทางตะวนออกของมหาสมุ รแปซิฟิก ภษาราปานูอี ภาษามาลากาซี และภาษาฮาวาย เป็นภาษาที่่ใช้พุดตามรอบนอกของขอบเขตที่มีการใช้ภาษาตระกุลนี้ ภาษาตระกุลนี้มีสาขามากมาย ส่วนมากพบในไต้หวัน ภาาากลุ่มเกาะฟอร์โมซา ในไต้หวันเป้นสาขาหลักของภาษาในตระกูลนี้ มีถึง 9 สาขา ภษาาที่ใช้พุดนอกเกาะฟอร์โมซาทั้งหมดอยู่ในภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเซยียน ซึ่งบางคร้้งเรียกวาภาษานอกเาะฟอร์โมซา
ประวัติศาสรเร่ิมต้นของกลุ่มชนที่พุดภาษาออสโตรนีเซียนย้อนกลับไปเมื่อครั้งยังเป็นภาษาออสโตรนีเซียนดั้งเดิม จุดเร่ิมต้นของภาษานี้อยู่ในไต้หวัน เพราะบนเกาะนี้มีความแตกต่่างของภาาาตระกุลนี้มา ดยมีถึง 9 จากทั้งหมด 10 สาขา ทั้งนี้นักภาษาศาสตร์ถือว่า จุดกำเนิดของภาษาจะอยุ่ในที่ๆ มีความแตกต่างของภาษากลุ่มนั้นๆ มาก
การศึกษาจุดเริ่มต้นของกลุ่มชนที่พุดภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนโดยใช้หลักฐานทางพันธุศาสตร์พบวา่จุดกำเนิดนั้นน่าจะอยู่ในผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย หลักฐานทางโบราณคดีระบุว่า ผุ้พูดภาษานี้อพยพไปจากจีนตอนใต้ ไปสู่ไต้หวันเมื่อราว 8,000 ปีมาแล้ว จากนั้นจึงอพยพออกทางเรือไปยังหมุ่เกาะต่างๆ เมื่อราว 6,000 ปีมาแล้ว กระนั้นก็ตาม ยังมีช่องว่างในช่วงเวลาดังกล่าวอยุ่เพราะนักภาาาศาสตร์พบว่าข้อมูลเกี่ยวกับภาษาออสโตรนีเซียนดังเดิมยุติแค่ชายฝั่งตะวันตกของไต้หวัน แต่ไม่มีความเช ่อมโยงกบภาาบนแผ่นดินใหญ่ยกเว้นภาษากลุ่มจาม แต่มีหลักฐานว่าเป็นภาษาของผุ้อพยพเข้าไปใหม่
ได้มีการศึกษาเพื่อเชื่อมโยงตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนเข้ากับภาษาตระกุลอืนๆ ในเอเชียตะวันออกเแียงใต้ สมมติดฐานที่ดุสอดคล้องที่สุดคือ สมมติฐานออสโตร-ไท ซึ่งเชื่อมโยงตระกูลภาษาไท-กะไดอาจเป็นสาขาของภาษากลุ่มบอร์เนียวฟิลิปปินส์ แต่ยังไม่ได้รับการสนับสนุจากนักภาษาศาสตร์มากนัก
นอกจากนนียังมีข้อเสนอว่าภาษาญี่ปุ่นอาจมีความเกี่ยวพันกับภาษาตระกูลออโตรนีเซียน โดยได้รับอิทธิพลจากภาษาตระกูลนี้ ดดยผุ้ที่เสนอทฤษฎีนี้เกล่าวว่าภาษาตระกูลออสโตรนีเซยนเคยครอบคลุมทางเหนือของเกาฟิร์โมซา (ทางตะวันตำของญี่ปุ่น เช่นหมู่เกาะริวกิว และคิวชู) เช่นเดี่ยวกับทางใต้ ไม่มีหลักฐานทางพันธุศาสตร์แสดงถึงความเกี่ยวพันระหว่างผุ้พูดภาษาญี่ป่นุโบราณกับผุ้พูดภาษาออสโตรนีเซียนดั้งเดิม ซึ่งน่่าจะเป็นการติดต่อสัมพันธ์กันธรรมดาที่ไม่มีผลต่อการหลอมรวมทางวัฒนธรร การวิเคราะห์ทางพันธุศาสตร์ของชาวริวกิว เทียบกับชาวญี่ปุ่และชาวพื้นเมืองของไต้หวัน พบว่าใกล้เคียงกับชาวญี่ป่นุมากว่า ดังนั้น หากจะมีการเาี่ยวข้องกันจริง จะต้องเกิดในจีนแผ่นดินใหญ่ก่อนที่ผุ้พูดภาษาออสโตรนีเซียนจะอพยพไปได้หวัน และผู้พูดภาษาญี่ปุ่่นจะอพยพไปญี่ปุ่น
การกำหนดลักษณะทั่วไปของตระกุลภาษาออสโตรนีเซียนทำได้ยากเพราะเป็นตระกูลทื่กว้างมาก และมีความหลากหลาย โดยทั่วไปแบ่งได้เป็นสามกลุมย่อยคือ
- ภาษาแบบฟิลิปปินส์ เรียงประโยคโดยให้คำกริยามาก่อน และมีการกำหนดจุดเน้ของกริยา
- ภาษาแบบอินโดนีเซีย
- ภาษาแบบหลัีงอินโดนีเซีย
ภาษาตระกูลนี้มีแนวโ้น้มจะใช้การซ้ำคำ เป็นภาษารูปคำติดต่อ พยางค์เป็นแบบพยัญชนะ-สระ
ภาษาหลัก ในตระกุลนี้มีผุ้พูดมากว่า 4 ล้านคนได้แก่ ภาษาชวา ภาษามลายุ ภาษาซุนดา ภาษาตากาล็อก ภาษาเซบัวดน ภาษามาลากาซี ภาษามาดูรา ภาษาอีดฃลกาโน ภาษาฮิลิกายนอน ภาาามินังกาเบา ภาษาบาตัก ภาษาบิโกล ภาษาบันจาร์ ภาษาบาหลี
ภาษาในกลุ่มนี้ที่เป็นภาษาราชการได้แก่ ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาตากาล็อก(หรือภาษาฟิลิปิโน ประเทศฟิลิปปินส์) ภาษามลายู (มาเลเซย สิงคโปร์ บรูไน) ภาษามาลากาซี (มาดากัสการ์) ภาษาเตตุม (ติมอร์-เลสเต) ภาษาฟิจิ (ฟิจิ) ภาษาซามัว (ซามัว) ภาษาตาฮีตี (เฟรนช์โปลินีเซียน) ภาษาตองกา (ตองกา) ภาษากิลเบิร์ต (คิริบาส) ภาษามาวรี (นิวซีแลนด์) ภาษาชอมอร์โร (กวมและหมู่เกาะนอร์เกาะนอร์เทิร์นมาเรียน) ภาษามาร์แชลล์ (หมู่เกาะมาร์แชลล์) ภาษานาอูฐ (นาอูฐ) ภาษาฮาวาย (รัฐฮาวาย สหรัฐอเมริกา)th.wikipedia.org/wiki/ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน
คำว่าออสโตรนีเซียนมาจากภาษาละติน astro (ลมใต้ป รวมกับคำภาษาอรีก nesos ตระกูฃภษานี้ได้ชื่อนี้ เพราะสวนมากใช้พุดในบริเวณหมุ่เกาะ มีเพียงไม่กี่ภาษา เช่น ภาษามลายู และภาษาจามที่สช้พุดบนผืนแผ่นดิน สมาชิกของตระกูลนี้มีถึง 1,268 ภาษา หรือประมาณ 1 ใน 5 ของภาษาที่รู้จักกันทั่วดโลก การแพร่กระจายจากแหล่งกำเนิดของภาษาถือว่ากว้างไกล เร่ิมต้้งแต่เกาะมาดากัสการ์ ไปจนถึงเกาะทางตะวนออกของมหาสมุ รแปซิฟิก ภษาราปานูอี ภาษามาลากาซี และภาษาฮาวาย เป็นภาษาที่่ใช้พุดตามรอบนอกของขอบเขตที่มีการใช้ภาษาตระกุลนี้ ภาษาตระกุลนี้มีสาขามากมาย ส่วนมากพบในไต้หวัน ภาาากลุ่มเกาะฟอร์โมซา ในไต้หวันเป้นสาขาหลักของภาษาในตระกูลนี้ มีถึง 9 สาขา ภษาาที่ใช้พุดนอกเกาะฟอร์โมซาทั้งหมดอยู่ในภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเซยียน ซึ่งบางคร้้งเรียกวาภาษานอกเาะฟอร์โมซา
ประวัติศาสรเร่ิมต้นของกลุ่มชนที่พุดภาษาออสโตรนีเซียนย้อนกลับไปเมื่อครั้งยังเป็นภาษาออสโตรนีเซียนดั้งเดิม จุดเร่ิมต้นของภาษานี้อยู่ในไต้หวัน เพราะบนเกาะนี้มีความแตกต่่างของภาาาตระกุลนี้มา ดยมีถึง 9 จากทั้งหมด 10 สาขา ทั้งนี้นักภาษาศาสตร์ถือว่า จุดกำเนิดของภาษาจะอยุ่ในที่ๆ มีความแตกต่างของภาษากลุ่มนั้นๆ มาก
การศึกษาจุดเริ่มต้นของกลุ่มชนที่พุดภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนโดยใช้หลักฐานทางพันธุศาสตร์พบวา่จุดกำเนิดนั้นน่าจะอยู่ในผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย หลักฐานทางโบราณคดีระบุว่า ผุ้พูดภาษานี้อพยพไปจากจีนตอนใต้ ไปสู่ไต้หวันเมื่อราว 8,000 ปีมาแล้ว จากนั้นจึงอพยพออกทางเรือไปยังหมุ่เกาะต่างๆ เมื่อราว 6,000 ปีมาแล้ว กระนั้นก็ตาม ยังมีช่องว่างในช่วงเวลาดังกล่าวอยุ่เพราะนักภาาาศาสตร์พบว่าข้อมูลเกี่ยวกับภาษาออสโตรนีเซียนดังเดิมยุติแค่ชายฝั่งตะวันตกของไต้หวัน แต่ไม่มีความเช ่อมโยงกบภาาบนแผ่นดินใหญ่ยกเว้นภาษากลุ่มจาม แต่มีหลักฐานว่าเป็นภาษาของผุ้อพยพเข้าไปใหม่
ได้มีการศึกษาเพื่อเชื่อมโยงตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนเข้ากับภาษาตระกุลอืนๆ ในเอเชียตะวันออกเแียงใต้ สมมติดฐานที่ดุสอดคล้องที่สุดคือ สมมติฐานออสโตร-ไท ซึ่งเชื่อมโยงตระกูลภาษาไท-กะไดอาจเป็นสาขาของภาษากลุ่มบอร์เนียวฟิลิปปินส์ แต่ยังไม่ได้รับการสนับสนุจากนักภาษาศาสตร์มากนัก
นอกจากนนียังมีข้อเสนอว่าภาษาญี่ปุ่นอาจมีความเกี่ยวพันกับภาษาตระกูลออโตรนีเซียน โดยได้รับอิทธิพลจากภาษาตระกูลนี้ ดดยผุ้ที่เสนอทฤษฎีนี้เกล่าวว่าภาษาตระกูลออสโตรนีเซยนเคยครอบคลุมทางเหนือของเกาฟิร์โมซา (ทางตะวันตำของญี่ปุ่น เช่นหมู่เกาะริวกิว และคิวชู) เช่นเดี่ยวกับทางใต้ ไม่มีหลักฐานทางพันธุศาสตร์แสดงถึงความเกี่ยวพันระหว่างผุ้พูดภาษาญี่ป่นุโบราณกับผุ้พูดภาษาออสโตรนีเซียนดั้งเดิม ซึ่งน่่าจะเป็นการติดต่อสัมพันธ์กันธรรมดาที่ไม่มีผลต่อการหลอมรวมทางวัฒนธรร การวิเคราะห์ทางพันธุศาสตร์ของชาวริวกิว เทียบกับชาวญี่ปุ่และชาวพื้นเมืองของไต้หวัน พบว่าใกล้เคียงกับชาวญี่ป่นุมากว่า ดังนั้น หากจะมีการเาี่ยวข้องกันจริง จะต้องเกิดในจีนแผ่นดินใหญ่ก่อนที่ผุ้พูดภาษาออสโตรนีเซียนจะอพยพไปได้หวัน และผู้พูดภาษาญี่ปุ่่นจะอพยพไปญี่ปุ่น
การกำหนดลักษณะทั่วไปของตระกุลภาษาออสโตรนีเซียนทำได้ยากเพราะเป็นตระกูลทื่กว้างมาก และมีความหลากหลาย โดยทั่วไปแบ่งได้เป็นสามกลุมย่อยคือ
- ภาษาแบบฟิลิปปินส์ เรียงประโยคโดยให้คำกริยามาก่อน และมีการกำหนดจุดเน้ของกริยา
- ภาษาแบบอินโดนีเซีย
- ภาษาแบบหลัีงอินโดนีเซีย
ภาษาตระกูลนี้มีแนวโ้น้มจะใช้การซ้ำคำ เป็นภาษารูปคำติดต่อ พยางค์เป็นแบบพยัญชนะ-สระ
ภาษาหลัก ในตระกุลนี้มีผุ้พูดมากว่า 4 ล้านคนได้แก่ ภาษาชวา ภาษามลายุ ภาษาซุนดา ภาษาตากาล็อก ภาษาเซบัวดน ภาษามาลากาซี ภาษามาดูรา ภาษาอีดฃลกาโน ภาษาฮิลิกายนอน ภาาามินังกาเบา ภาษาบาตัก ภาษาบิโกล ภาษาบันจาร์ ภาษาบาหลี
ภาษาในกลุ่มนี้ที่เป็นภาษาราชการได้แก่ ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาตากาล็อก(หรือภาษาฟิลิปิโน ประเทศฟิลิปปินส์) ภาษามลายู (มาเลเซย สิงคโปร์ บรูไน) ภาษามาลากาซี (มาดากัสการ์) ภาษาเตตุม (ติมอร์-เลสเต) ภาษาฟิจิ (ฟิจิ) ภาษาซามัว (ซามัว) ภาษาตาฮีตี (เฟรนช์โปลินีเซียน) ภาษาตองกา (ตองกา) ภาษากิลเบิร์ต (คิริบาส) ภาษามาวรี (นิวซีแลนด์) ภาษาชอมอร์โร (กวมและหมู่เกาะนอร์เกาะนอร์เทิร์นมาเรียน) ภาษามาร์แชลล์ (หมู่เกาะมาร์แชลล์) ภาษานาอูฐ (นาอูฐ) ภาษาฮาวาย (รัฐฮาวาย สหรัฐอเมริกา)th.wikipedia.org/wiki/ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน
วันพฤหัสบดีที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2560
anthropology
การศึกษากลุ่มคนตระกูลภาษามอญ-เขมร แนวคิดเกี่ยวกับชาติพันธุ์วรรณนา ชาติพันธุ์และเชื้อชาติ และวิธีแนวชาติพันธุ์วรรณา ซึ่งเป็นทฤษฎีหนึ่งที่ใช้ในการศึกษาทางมนุษยวิทยา ประกอบด้วย
- การจำแนกชาติพันธ์ ด้วยรูปลักษระที่รเาสามารถมองเห็นได้ด้วยตาอย่างชัดเจนมีการจำแนาติพันธุ์มนุษย์ออกเป็นกลุ่มๆ ตามลักษณะสีผิว โดยพอจะสรุปได้ดังนี้
ความพยายามจำแนกชาติพันู์ของมนุษย์เกิดขึ้นมานานตั้งแต่ปี 1350 ก่อนคริสต์ศักราชชาวอียิปต์โบราณแบ่งแยกคนออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ ชาวอียิปต์ มีผิวสีแดง ผิวเหลืองเป็นชาวตะวันออก ผิวขาวเป็นของคนจกทางเหนือ และทางทิศใต้ประกอบด้วยคนผิวสีดำ และจากกการประชุมขององค์การการศึกษาวิทยาศาสต์และวัฒนธรรม ของสหประชาชาติหรือยูเนสโก ได้จัดประชุมนักมานุษยวิทยากายภาพที่กรุงปารีส ในปี 1951 ได้เห็นพ้องต้องกันว่ากลุ่มชาติพันู์ของมนุษย์ในโลกนี้แบงออกเป็นกลุ่มใหญ่ 3 กลุ่ม
กลุ่มชาติพันธุ์ผิวขาว หรือพวกคอเคซอยด์ ส่วนใหญ่อาศัยอยุ่ในทวีปยุโรป ทำให้มีการกล่าวกันว่าเป็นชาวยุโรป ประกอบด้วย ชาวอารยัน เช่น พวกกรีก อินเดียตอนเหนือ, แฮมิตริก เช่น อียิปต์โบราณ, เซมิตริก เช่น บาบิโรน อาสซิเรีย อาจแบ่งย่อยเป็น กลุ่มนอร์ดิก กลุ่มแอลป์ และกลุ่มเมติเตอเรเนีย
กลุ่มชาติพันธุ์ผิวเหลือง ผิวเหนื้อของพวกนี้จะมสีเหลืองไปจนถึงคล้ำ ใบหน้าแบนกว้าง ดวงตาดำ บ้างก็มีตาสองชั้น บ้างก็ตาชั้นเดียว กลุ่มย่อยของพวกผิวเหลือง ได้แก่ มองโกลอยด์ อยู่ทางทิศตะวันออกเแียงเหนือ เช่น จีน ธิเบต มองโกเลีย, อินเดียแดง อยู่แถบทวีปอเมริกาทั้งตอนเหนือและตอใต้, เอสกิโม อยุ่แถบเหนือสุดของทวีปอเมริกา รัฐอลาสก้า และตอนเหนือของแคนาดา, มาลายัยน อยู่แถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น มลายู ไทย บาหลี
กลุ่มชาติพันธ์ผิวดำ ผิวเหนื้อของคนกลุ่มนี้มีสีน้ำตาลแก่ไปจนถึงคำคล้ำจมูกแบน ผมหยิก ริมฝีปากหนา โหนกค้ิวยื่นออกมา คางสั้น กลุ่มย่อยของพวกผิวดำ ได้แก่ แอฟริกา, ปิกมี่และคำผิวดำที่อาศัยตามเกาะต่างๆ มหาสุทรแปซิฟิก เช่น พวก ปาปัว นิวกีนีและเกาะมาเลนีเซีย
ชาติพันธ์มนุษย์ การศึกษาเกี่ยวกับชาติพันธ์ุของมนุษย์ เช่นเรื่องที่เกี่ยวกับสีผิว มีสมมติฐานมากมายอาทิ การที่คนมีสีผิวต่างกันเป็นเพราะระดับของการปกป้องจากธรรมชาติไม่เท่ากัน และเสนอว่าการศึกษาวิิคราะห์โครงสร้างรวม คือการศึกษาวัฒนธรรมของสังคมไดๆ โดยนำโครงสร้างทุกส่วนมาวิเคราะห์ร่วมกันในทางเดียวกัน เพ่อความเข้าใจวัฒนธรรม สำหรับการศึกษาเชิงเปรียบเที่ยบ ถือเป็นศาสตร์ทางด้านการปฏิบัติโดยเชื่อว่าวัฒนธรรมถูกกำหนดให้มีรูปแบบต่างๆ กัน โดยชาติพันธุ์ ภููมิประเทศ ภูมิอากาศ และระบบการทำมาหากิน หรือ ระับของสัผิวมักสัมพันธ์โดยตรงกับภุมิอากาศรอบข้าง ดังจะเห็นได้ว่า คนผิวดำมักพบว่าพวกเขาอาศัยอยู่ในเขตร้อน และเขตที่มีความช ื้นสูงหรือบริเวณรัศมี 20 องศาเหนือจากเส้นศูนย์สูตรทั้งนี้เพราะผิวสีดำสามารถดูดซับควมร้อนจากแสงอาทิตย์ได้ดีกว่าอย่างไรก็ตามยังหาข้อยุติไม่ได้เพราะมีข้อดต้แย้งมากมาย
- ชาติพันธุ์วรรณาและการวิจัยแนวชาติพันธุ์วรรณนา ชาติพันธุ์วรรณาเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับสังคม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี วิถีชีวิตของกลุ่มคนในสังคม โดยราชบัณฑิตสภาน ให้ความหมายว่า ชาติพันธุ์วรรณนา หมายถึง สาขาหนึ่งของมานุษยวิทยาวัฒนธรรม ที่มุ่งพินิจศึกษาวัฒนธรรมต่างๆ เชิงพรรณนาโดยเฉพาะอย่างยิ่งวัฒนธรรมของชนในระดับดั้งเดิม
ชาติพันธุ์วรรณนาเป็นวิธีวิจัยเชิงคุณภาพที่มุ่งการพรรณนา การตีความหมายของกลุ่มคนรวมถึงระบบางสังคม หรือทางวัฒนะรรม ที่ผู้ศึกษามีจุดมุ่งหมายเพื่อทำความเข้าใจแบบแผนพฤติกรรมทางสังคม วัฒนธรรม ขนบประเพณี รวมไปถึงวิถีชิวิตของกลุ่มคนในสังคมนั้นถ้าจะกล่าวถึงลักษระทั่วไปของการวิจัยแนวชาติพันธุ์วรรณนา วิธีการวิจัยแนวชาติพันู์วรรณนา มีจุดมุ่งหมายเพื่อทำความเข้าใจพฤติกรรมของกลุ่มคนที่สามารถนำไปใช้หลายสาขาวิชา เช่น ศึกษาศาสตร์ สังคมวิทยา สุขภาพอนามัย เศรษฐศาสตร์ ค่านิยม ความเชื่อ ชนบประเพณีต่างๆ ผู้วิจัยจะใช้ประโยชน์จากข้อมุลทางวัฒนธรรม ในการอธิบายและตีความผลของการวิจัย ใช้การสังเกตแบบมีส่วนร่วม โยมีตัวผุ้วิจัยเป็นเครื่องมือหลักสำคัญในการเก็บข้อมูลและยังสมารถเก็บข้อมุลได้หลายแบบ เพื่อสร้างความถูกต้ง ความตรงประเด็นในเรื่องที่ศึกษา และความนาเชื่อถือของผลการศึกษา..
- นิเวศวิทยาวัฒนธรรม ของ จูเลี่ยน สจ๊วต เป็นแนวคิดที่ ได้รับอิทธิพลมาจากแนวคิดของอัลเฟรด โครเบอร์ ในเรื่องเกี่ยวกับสิ่งแวดล้แมที่มีอิทธิพลต่อวิวัฒนาการของวัฒนธรรม สจ๊วต ได้ให้ความหมายของวัฒนธรรมว่า เป็นการศึกษาการปรับตัวหรือหาความสัมพันธ์ของวัฒนธรรมกัยส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาติเป็นการวิเคราะห์ระบบนิเวศวิทยากับสังคม เพ่อค้นหาลักษระเฉพาะของวัฒนธรรมแต่ละแห่งและได้เนนถึงความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมแต่ละแห่งด้วย และจากการศึกษาพบว่าสิ่งแวดล้อมมีผลต่อความแตกต่างในการปรับตัวของวัฒนธรรม วัมนธรรมจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างค่อยเป็นค่อยไปท่ามกลางปัจจัยหรือตัวแปรภายนอกมากมาย ซึ่งได้แก่สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาตินั่นเอง
และได้เสนอว่า ปัจจัยต่างๆ มีกระบวนการที่เกี่ยวข้องต่การปรับตัวทางวัฒนธรรมสภาพแวดล้อมนั้นๆ ผลจากการที่มีวิวัฒนาการทางวัฒนธรรม เป็นตัวขับเคลื่อนให้มีการปรับตัวของสิ่งแวดล้อมโดยที่สิ่งแวดล้อมจะเป็นตัวก่อรูปให้เกดวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมซึ่งหมายความว่า ส่ิงมีชีวิตทั้งหมดในโลกไม่ว่าจะเป็นพืชหรือสัตว์ชนิดต่างๆ จะมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกันถือว่าเป็นลักษระทางกายภาพที่แต่ละส่วนจะมีความสัมพันธ์ต่อกัน ลักษระหล่านี้ถือเป้นสวยของหน่วยสงคมนั้น ๆและใช้วิธีการศึกษาทางนเวศวิทยาด้วยการค้นพบการปรับตัวของวัฒนธรรมมากกว่าการจัดการของมนุษย์ต่อปัจจัยต่างๆ ที่อยุ่ในระบบนิเวศและได้ให้ความสนใจต่อมุมองที่ว่า ถ้าหากหันมาศึกษาดุว่าวัฒนธรรมเป็นผลจากการปรับตัวทงสิ่งแวดล้อมได้อย่างไรนั้นเป็นเพราะมีส่ิงที่อยุ่เหนือธรรมชาติที่มีอยุ่ในระบบนิเวศหรือไม่ที่ยังไม่ได้พิสูจน์ว่า ปรกากฎการที่เหนือธรรมชาตินั้นเป็นผลมาจากปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม ซึ่งสิ่งมีชีิวิตที่แตกต่างกันนันจะเป้นแค่ลักษณะทางกายภาพ" เขาได้อธิบายถึงปัจจัยที่อยุ่เหนือะรรมชาติในแง่ของวัฒนธรรมว่ายังมีผลต่อทุกๆ สิ่งที่มีชีวิตที่อยู่ บนโลกและมีความสัมพันธ์ต่อกันเป็นเสมือนใยข่าย และได้ขยายความถึงส่ิงมีชีวิตที่ต่างไปจากมนุษย์ว่ามีเส้นทางในการปฏิสัมพันธ์กันเป็นใยข่ายในลักาณะสำคัญอยู่ 2 ลักษะ คือ
1. มนุษย์มีการปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อม ดดยผ่านทางมิติทางวัฒนธรรมที่เป็นสิ่งเหนือะรรมชาติมากกว่าการปรับตัวผ่านทางพันธุุกรรม
2. ใยข่ายสิ่งมีชีวิตเป็นส่วนที่มนุษย์มักเป็นผุ้แผ่ขยายใยข่ายภายในระบบหรือหน่วยทางสังคม
นิเวศวิทยาวัฒนธรรมชี้ห้เห็นสองประเด็น คือ ปัญหาและวิะีการ คือปัญหาที่เกิดจากการปรับตัวของมนุษย์ในสังคม อันเป็นสวนหนึ่งทีทำให้ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมเกิดปัญหาตามมาภายหลังและเป็นตัวกำหนดพฤติกรรม หรืออาจยอมให้มีพฤติกรรมต่างๆ แสดงออกมาในลักษณะใด ลักษระหนึ่ง ปัญหาจากนิเวศวัฒนธรรมมัจะเป็นผลที่ตามมาภายหลัง ดดยที่ทุกสิ่งที่เป็นวัฒนธรรมจะแสดงหน้าที่ความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันทั้งในระดับ และชนิดของความสัมพันธ์ท่เกี่ยวโยงกันและจะไม่เป็นลักษระเดียวกันความสัมพันธ์ของสิ่งทั้งหลายจะมีความแตกต่างกันออกไปด้วย
- ประวัติศาสตร์ เป็นวิธีหนึ่งที่ใช้ในการศึกษาทางมานุษยวิทยา ดดยได้มีการศึกษาทฤษฎีวิวัฒนากาาของมนุษยวิทยา ซึ่งพัมนามาจากแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับวิวัฒนาการทางชีวภาพของมนุษย์ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งศึกษาโดย ชาร์ล ดาร์วิน เนื่องจากมีความรุ้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์มาก่อน จึงมีความสนใจที่จะศึกษาค้นหาข้อเท็จจริงและการพิสูจน์ดดยไม่มีการสรุปเป็นกฎเกณฑ์ ต่อมาโบแอส ได้ศึกษาทางมานุษยวิทยาด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์สืบย้อนหลังเป็นส่วนใหญ่ เน้นวิวัฒนการผสมผสานกับการพิสุจน์ด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์ การศึกษาจึงเป็นการศึกษาโครงสร้างเนื้อหาสัมพันธ์รวมทั้งระบที่เรียกส่า Holitic
การศึกษาวัฒนธรรมหรือพฤติกรรมของมนุษย์หลีกไม่พ้นการสืบสวนย้อนหลังไปถึงในอดีต ในทุกสมัยมนุษย์ได้ผ่านขึ้นตอนและได้ละท้องผลแห่งการกระทำไว้ในอดีต การศึกษาอดีตสามารถนำมาอธิบายพฤติกรรมของมนุษย์ในสมัยปัจจุบันได้เป็นอย่างดี การศึกษาวัฒนธรรมโดยใช้วิะีทางประวัติศาสตร์ซึ่งเป็นการมองปัญหาย้อนหลัง เกี่ยวข้องกับกาลเวลาอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยงได้ การที่จะเข้าใจเหตุการณ์ในปัจจุบันนันจำเป็นต้องสืบสาวเหตุการณ์ย้อนไปข้างหลัง ย่ิ่งสืบย้อนหลังไประยะเวลาไกลจากปัจจุบันได้มากเท่าไรยิ่งจะเข้าใจปัจจุบันมากขึ้นเท่านั้น ถ้าเข้าใจปัจจุบันได้อย่งทะลุปรุโปร่งก็จะเป็นประดยชน์ต่อการวางแผนการล่วงหน้าได้สำหรับเหตุการณ์ในอนาคต ซึ่งเป็นการศึกษาอย่างต่อเนื่องเป็นลูกโซ่ของเหตุการณ์และเวลา มิติของเวลาที่เกี่ยวข้องกับการึกษาวัฒนธรรม ได้แก่การศึกษาเหตุการณ์ในช่วงเวลาเดียวกัน และในหลายช่วงเวลา
วิธีการทางประวัติศาสตร์นั้น ศึกษาความเจริญเติบโตของวัฒนธรรมทั้งโดยตัวของมันเองประกอบกับสิ่งแวดล้อมที่มาจัดรุปแบบของวัฒนธรรมให้พัมนาและแตกต่างกันไปตามลักษระของท้องถ่ินและกาลเวลา การศึกษาประวัติศาสตร์จะทำให้รู้ว่าวัฒนธรรมของสังคมหนึ่ง เกิดมาจากในสังคมนั่นเอง หรือถูกหยิบยืมมาจากภายนอก และทำให้เข้าใจว่าวัฒนธรรมจะเป็นรูปแบบใดขึ้อยุ่กับมนุษย์และสิ่งแวดล้อมทางภูมิศาสตร์กำหนดเพียงปัจจัยเดียวไม่ถูกต้องและเห็นว่าวัฒนธรรมของคนแต่ละเผา ต่างภาษาจะทำให้วัฒนธรรมหลากหลายมากขึ้น และวิีการที่จะศึกษาความเป็นมาของวัฒนธรรมนั้นจะต้องใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์เท่านั้น
- การแพร่กระจายทางวัฒนธรรม โดยอัลเฟรดคอร์เชอร์คอเบอร์ เสนอว่า วัฒนธรรมจะแพร่กระจายจากนุดศุนยกลางไปตามพื้นที่เท่าที่มันจะเป็นไปได้ในเขตภูมิศาสตร์เดี่ยวกัน และยุคสมัยใกล้เคียงกน จากแนวคิดนี้จะเห็นภาพของเขตวัฒนะรรมเป็นกลุ่มๆ ไป และแพร่กระจายไปถึงทุกที่ที่ไม่สามารถจะเดินทางไปได้ ดังนั้นรูปแบบการแพร่กระจายของสำนักอเมริกันจึงไม่ใช้เป็นรูปแบบวงกลมหลายวง วัฒนธรรมหนึ่งๆ จะแพร่กระจายไปยังงแหล่งอื่นๆ ได้ต้องยึดหลักว่ วัฒนะรรม คือ ความคิดและพฤติกรรม(ผลของความคิด) ที่ติดตัวบุคคล บุคคลไปถึงไหนวัฒนธรรมก็
ไปถึงนั่นดังนั้นกาแพร่กระจายของวัฒนธรรมจะขึ้นอยู่กับปัจจัย ดังนี้ หลักภูมิศาสตร์ ปัจจัยทางเศราฐกิจ ปัจจัยทางสังคม การคมนาคมขนส่งที่ดี การแพร่กระจายทางวัฒนธรรมตามแนวคิดของเขา จะเป็นไปได้มากว่าเท่าที่เป็นอยุ หรือการแพร่กระจายวัฒนะรรมจะเป็นไปได้มากก็ต่อเมื่อ เกิดในพื้นที่ต่อเนื่องกัน ไม่มีอุปสรรคทางภุมิศาสตร์ขวางกั้น มีปัจจัยอื่นๆ มาสนับสนุนโดยเฉพาะอย่างยิ่งทางเศราฐกิจ เพราะวัฒนธรรมคือพฤติกรรมที่ติดอยุ่กับตัวบุคคล บุคคลที่มีกำลังทางเศราฐกิจ และบุคคลที่มีความจำเป็นหรือมีเป้าหมายทางเศราฐกิจเท่าน้นจะสามารถเดินทางจากสถานที่ที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่หนึ่งได้
จากแนวคิดดังกล่าวเราจะเห็นเขตวัฒนะรรมของโลกเป็นกลุ่มๆ เช่น เขตวัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉีีงใต้ เขตวัฒนธรรมเอเชียใต้ สรุปคือ วิะีการศึกษาการแพร่กระจายทางวัฒนธรรมของ คอเบอร์ มีดังนี้ ใช้หลักภูมิศาสตร์ สืบย้อนด้วยประวัติศาสตร์ การขุดค้นทางโบราณคดี ดูวิวัฒนการของวัฒนธรรม เป็นการศึกษาเพ่อโุว่าวัฒนธรรมเติบโตมาอย่างไร...
( "ความสุขของผู้สุงอายุในบุญประเพณี 12 เดือน ของกลุ่มคนตระกุลภาษามอญ-เขมรในราชอาณาจักรไทยและราชอาณาจักรกัมพูชา". ดวงนภา ประเสริฐเมือง, วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัฒฑิต สาขาวิชายุทะศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค(อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง), มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์, พ.ศ. 2556.)
- การจำแนกชาติพันธ์ ด้วยรูปลักษระที่รเาสามารถมองเห็นได้ด้วยตาอย่างชัดเจนมีการจำแนาติพันธุ์มนุษย์ออกเป็นกลุ่มๆ ตามลักษณะสีผิว โดยพอจะสรุปได้ดังนี้
ความพยายามจำแนกชาติพันู์ของมนุษย์เกิดขึ้นมานานตั้งแต่ปี 1350 ก่อนคริสต์ศักราชชาวอียิปต์โบราณแบ่งแยกคนออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ ชาวอียิปต์ มีผิวสีแดง ผิวเหลืองเป็นชาวตะวันออก ผิวขาวเป็นของคนจกทางเหนือ และทางทิศใต้ประกอบด้วยคนผิวสีดำ และจากกการประชุมขององค์การการศึกษาวิทยาศาสต์และวัฒนธรรม ของสหประชาชาติหรือยูเนสโก ได้จัดประชุมนักมานุษยวิทยากายภาพที่กรุงปารีส ในปี 1951 ได้เห็นพ้องต้องกันว่ากลุ่มชาติพันู์ของมนุษย์ในโลกนี้แบงออกเป็นกลุ่มใหญ่ 3 กลุ่ม
กลุ่มชาติพันธุ์ผิวขาว หรือพวกคอเคซอยด์ ส่วนใหญ่อาศัยอยุ่ในทวีปยุโรป ทำให้มีการกล่าวกันว่าเป็นชาวยุโรป ประกอบด้วย ชาวอารยัน เช่น พวกกรีก อินเดียตอนเหนือ, แฮมิตริก เช่น อียิปต์โบราณ, เซมิตริก เช่น บาบิโรน อาสซิเรีย อาจแบ่งย่อยเป็น กลุ่มนอร์ดิก กลุ่มแอลป์ และกลุ่มเมติเตอเรเนีย
กลุ่มชาติพันธุ์ผิวเหลือง ผิวเหนื้อของพวกนี้จะมสีเหลืองไปจนถึงคล้ำ ใบหน้าแบนกว้าง ดวงตาดำ บ้างก็มีตาสองชั้น บ้างก็ตาชั้นเดียว กลุ่มย่อยของพวกผิวเหลือง ได้แก่ มองโกลอยด์ อยู่ทางทิศตะวันออกเแียงเหนือ เช่น จีน ธิเบต มองโกเลีย, อินเดียแดง อยู่แถบทวีปอเมริกาทั้งตอนเหนือและตอใต้, เอสกิโม อยุ่แถบเหนือสุดของทวีปอเมริกา รัฐอลาสก้า และตอนเหนือของแคนาดา, มาลายัยน อยู่แถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น มลายู ไทย บาหลี
กลุ่มชาติพันธ์ผิวดำ ผิวเหนื้อของคนกลุ่มนี้มีสีน้ำตาลแก่ไปจนถึงคำคล้ำจมูกแบน ผมหยิก ริมฝีปากหนา โหนกค้ิวยื่นออกมา คางสั้น กลุ่มย่อยของพวกผิวดำ ได้แก่ แอฟริกา, ปิกมี่และคำผิวดำที่อาศัยตามเกาะต่างๆ มหาสุทรแปซิฟิก เช่น พวก ปาปัว นิวกีนีและเกาะมาเลนีเซีย
ชาติพันธ์มนุษย์ การศึกษาเกี่ยวกับชาติพันธ์ุของมนุษย์ เช่นเรื่องที่เกี่ยวกับสีผิว มีสมมติฐานมากมายอาทิ การที่คนมีสีผิวต่างกันเป็นเพราะระดับของการปกป้องจากธรรมชาติไม่เท่ากัน และเสนอว่าการศึกษาวิิคราะห์โครงสร้างรวม คือการศึกษาวัฒนธรรมของสังคมไดๆ โดยนำโครงสร้างทุกส่วนมาวิเคราะห์ร่วมกันในทางเดียวกัน เพ่อความเข้าใจวัฒนธรรม สำหรับการศึกษาเชิงเปรียบเที่ยบ ถือเป็นศาสตร์ทางด้านการปฏิบัติโดยเชื่อว่าวัฒนธรรมถูกกำหนดให้มีรูปแบบต่างๆ กัน โดยชาติพันธุ์ ภููมิประเทศ ภูมิอากาศ และระบบการทำมาหากิน หรือ ระับของสัผิวมักสัมพันธ์โดยตรงกับภุมิอากาศรอบข้าง ดังจะเห็นได้ว่า คนผิวดำมักพบว่าพวกเขาอาศัยอยู่ในเขตร้อน และเขตที่มีความช ื้นสูงหรือบริเวณรัศมี 20 องศาเหนือจากเส้นศูนย์สูตรทั้งนี้เพราะผิวสีดำสามารถดูดซับควมร้อนจากแสงอาทิตย์ได้ดีกว่าอย่างไรก็ตามยังหาข้อยุติไม่ได้เพราะมีข้อดต้แย้งมากมาย
- ชาติพันธุ์วรรณาและการวิจัยแนวชาติพันธุ์วรรณนา ชาติพันธุ์วรรณาเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับสังคม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี วิถีชีวิตของกลุ่มคนในสังคม โดยราชบัณฑิตสภาน ให้ความหมายว่า ชาติพันธุ์วรรณนา หมายถึง สาขาหนึ่งของมานุษยวิทยาวัฒนธรรม ที่มุ่งพินิจศึกษาวัฒนธรรมต่างๆ เชิงพรรณนาโดยเฉพาะอย่างยิ่งวัฒนธรรมของชนในระดับดั้งเดิม
ชาติพันธุ์วรรณนาเป็นวิธีวิจัยเชิงคุณภาพที่มุ่งการพรรณนา การตีความหมายของกลุ่มคนรวมถึงระบบางสังคม หรือทางวัฒนะรรม ที่ผู้ศึกษามีจุดมุ่งหมายเพื่อทำความเข้าใจแบบแผนพฤติกรรมทางสังคม วัฒนธรรม ขนบประเพณี รวมไปถึงวิถีชิวิตของกลุ่มคนในสังคมนั้นถ้าจะกล่าวถึงลักษระทั่วไปของการวิจัยแนวชาติพันธุ์วรรณนา วิธีการวิจัยแนวชาติพันู์วรรณนา มีจุดมุ่งหมายเพื่อทำความเข้าใจพฤติกรรมของกลุ่มคนที่สามารถนำไปใช้หลายสาขาวิชา เช่น ศึกษาศาสตร์ สังคมวิทยา สุขภาพอนามัย เศรษฐศาสตร์ ค่านิยม ความเชื่อ ชนบประเพณีต่างๆ ผู้วิจัยจะใช้ประโยชน์จากข้อมุลทางวัฒนธรรม ในการอธิบายและตีความผลของการวิจัย ใช้การสังเกตแบบมีส่วนร่วม โยมีตัวผุ้วิจัยเป็นเครื่องมือหลักสำคัญในการเก็บข้อมูลและยังสมารถเก็บข้อมุลได้หลายแบบ เพื่อสร้างความถูกต้ง ความตรงประเด็นในเรื่องที่ศึกษา และความนาเชื่อถือของผลการศึกษา..
- นิเวศวิทยาวัฒนธรรม ของ จูเลี่ยน สจ๊วต เป็นแนวคิดที่ ได้รับอิทธิพลมาจากแนวคิดของอัลเฟรด โครเบอร์ ในเรื่องเกี่ยวกับสิ่งแวดล้แมที่มีอิทธิพลต่อวิวัฒนาการของวัฒนธรรม สจ๊วต ได้ให้ความหมายของวัฒนธรรมว่า เป็นการศึกษาการปรับตัวหรือหาความสัมพันธ์ของวัฒนธรรมกัยส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาติเป็นการวิเคราะห์ระบบนิเวศวิทยากับสังคม เพ่อค้นหาลักษระเฉพาะของวัฒนธรรมแต่ละแห่งและได้เนนถึงความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมแต่ละแห่งด้วย และจากการศึกษาพบว่าสิ่งแวดล้อมมีผลต่อความแตกต่างในการปรับตัวของวัฒนธรรม วัมนธรรมจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างค่อยเป็นค่อยไปท่ามกลางปัจจัยหรือตัวแปรภายนอกมากมาย ซึ่งได้แก่สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาตินั่นเอง
และได้เสนอว่า ปัจจัยต่างๆ มีกระบวนการที่เกี่ยวข้องต่การปรับตัวทางวัฒนธรรมสภาพแวดล้อมนั้นๆ ผลจากการที่มีวิวัฒนาการทางวัฒนธรรม เป็นตัวขับเคลื่อนให้มีการปรับตัวของสิ่งแวดล้อมโดยที่สิ่งแวดล้อมจะเป็นตัวก่อรูปให้เกดวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมซึ่งหมายความว่า ส่ิงมีชีวิตทั้งหมดในโลกไม่ว่าจะเป็นพืชหรือสัตว์ชนิดต่างๆ จะมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกันถือว่าเป็นลักษระทางกายภาพที่แต่ละส่วนจะมีความสัมพันธ์ต่อกัน ลักษระหล่านี้ถือเป้นสวยของหน่วยสงคมนั้น ๆและใช้วิธีการศึกษาทางนเวศวิทยาด้วยการค้นพบการปรับตัวของวัฒนธรรมมากกว่าการจัดการของมนุษย์ต่อปัจจัยต่างๆ ที่อยุ่ในระบบนิเวศและได้ให้ความสนใจต่อมุมองที่ว่า ถ้าหากหันมาศึกษาดุว่าวัฒนธรรมเป็นผลจากการปรับตัวทงสิ่งแวดล้อมได้อย่างไรนั้นเป็นเพราะมีส่ิงที่อยุ่เหนือธรรมชาติที่มีอยุ่ในระบบนิเวศหรือไม่ที่ยังไม่ได้พิสูจน์ว่า ปรกากฎการที่เหนือธรรมชาตินั้นเป็นผลมาจากปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม ซึ่งสิ่งมีชีิวิตที่แตกต่างกันนันจะเป้นแค่ลักษณะทางกายภาพ" เขาได้อธิบายถึงปัจจัยที่อยุ่เหนือะรรมชาติในแง่ของวัฒนธรรมว่ายังมีผลต่อทุกๆ สิ่งที่มีชีวิตที่อยู่ บนโลกและมีความสัมพันธ์ต่อกันเป็นเสมือนใยข่าย และได้ขยายความถึงส่ิงมีชีวิตที่ต่างไปจากมนุษย์ว่ามีเส้นทางในการปฏิสัมพันธ์กันเป็นใยข่ายในลักาณะสำคัญอยู่ 2 ลักษะ คือ
1. มนุษย์มีการปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อม ดดยผ่านทางมิติทางวัฒนธรรมที่เป็นสิ่งเหนือะรรมชาติมากกว่าการปรับตัวผ่านทางพันธุุกรรม
2. ใยข่ายสิ่งมีชีวิตเป็นส่วนที่มนุษย์มักเป็นผุ้แผ่ขยายใยข่ายภายในระบบหรือหน่วยทางสังคม
นิเวศวิทยาวัฒนธรรมชี้ห้เห็นสองประเด็น คือ ปัญหาและวิะีการ คือปัญหาที่เกิดจากการปรับตัวของมนุษย์ในสังคม อันเป็นสวนหนึ่งทีทำให้ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมเกิดปัญหาตามมาภายหลังและเป็นตัวกำหนดพฤติกรรม หรืออาจยอมให้มีพฤติกรรมต่างๆ แสดงออกมาในลักษณะใด ลักษระหนึ่ง ปัญหาจากนิเวศวัฒนธรรมมัจะเป็นผลที่ตามมาภายหลัง ดดยที่ทุกสิ่งที่เป็นวัฒนธรรมจะแสดงหน้าที่ความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันทั้งในระดับ และชนิดของความสัมพันธ์ท่เกี่ยวโยงกันและจะไม่เป็นลักษระเดียวกันความสัมพันธ์ของสิ่งทั้งหลายจะมีความแตกต่างกันออกไปด้วย
- ประวัติศาสตร์ เป็นวิธีหนึ่งที่ใช้ในการศึกษาทางมานุษยวิทยา ดดยได้มีการศึกษาทฤษฎีวิวัฒนากาาของมนุษยวิทยา ซึ่งพัมนามาจากแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับวิวัฒนาการทางชีวภาพของมนุษย์ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งศึกษาโดย ชาร์ล ดาร์วิน เนื่องจากมีความรุ้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์มาก่อน จึงมีความสนใจที่จะศึกษาค้นหาข้อเท็จจริงและการพิสูจน์ดดยไม่มีการสรุปเป็นกฎเกณฑ์ ต่อมาโบแอส ได้ศึกษาทางมานุษยวิทยาด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์สืบย้อนหลังเป็นส่วนใหญ่ เน้นวิวัฒนการผสมผสานกับการพิสุจน์ด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์ การศึกษาจึงเป็นการศึกษาโครงสร้างเนื้อหาสัมพันธ์รวมทั้งระบที่เรียกส่า Holitic
การศึกษาวัฒนธรรมหรือพฤติกรรมของมนุษย์หลีกไม่พ้นการสืบสวนย้อนหลังไปถึงในอดีต ในทุกสมัยมนุษย์ได้ผ่านขึ้นตอนและได้ละท้องผลแห่งการกระทำไว้ในอดีต การศึกษาอดีตสามารถนำมาอธิบายพฤติกรรมของมนุษย์ในสมัยปัจจุบันได้เป็นอย่างดี การศึกษาวัฒนธรรมโดยใช้วิะีทางประวัติศาสตร์ซึ่งเป็นการมองปัญหาย้อนหลัง เกี่ยวข้องกับกาลเวลาอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยงได้ การที่จะเข้าใจเหตุการณ์ในปัจจุบันนันจำเป็นต้องสืบสาวเหตุการณ์ย้อนไปข้างหลัง ย่ิ่งสืบย้อนหลังไประยะเวลาไกลจากปัจจุบันได้มากเท่าไรยิ่งจะเข้าใจปัจจุบันมากขึ้นเท่านั้น ถ้าเข้าใจปัจจุบันได้อย่งทะลุปรุโปร่งก็จะเป็นประดยชน์ต่อการวางแผนการล่วงหน้าได้สำหรับเหตุการณ์ในอนาคต ซึ่งเป็นการศึกษาอย่างต่อเนื่องเป็นลูกโซ่ของเหตุการณ์และเวลา มิติของเวลาที่เกี่ยวข้องกับการึกษาวัฒนธรรม ได้แก่การศึกษาเหตุการณ์ในช่วงเวลาเดียวกัน และในหลายช่วงเวลา
วิธีการทางประวัติศาสตร์นั้น ศึกษาความเจริญเติบโตของวัฒนธรรมทั้งโดยตัวของมันเองประกอบกับสิ่งแวดล้อมที่มาจัดรุปแบบของวัฒนธรรมให้พัมนาและแตกต่างกันไปตามลักษระของท้องถ่ินและกาลเวลา การศึกษาประวัติศาสตร์จะทำให้รู้ว่าวัฒนธรรมของสังคมหนึ่ง เกิดมาจากในสังคมนั่นเอง หรือถูกหยิบยืมมาจากภายนอก และทำให้เข้าใจว่าวัฒนธรรมจะเป็นรูปแบบใดขึ้อยุ่กับมนุษย์และสิ่งแวดล้อมทางภูมิศาสตร์กำหนดเพียงปัจจัยเดียวไม่ถูกต้องและเห็นว่าวัฒนธรรมของคนแต่ละเผา ต่างภาษาจะทำให้วัฒนธรรมหลากหลายมากขึ้น และวิีการที่จะศึกษาความเป็นมาของวัฒนธรรมนั้นจะต้องใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์เท่านั้น
- การแพร่กระจายทางวัฒนธรรม โดยอัลเฟรดคอร์เชอร์คอเบอร์ เสนอว่า วัฒนธรรมจะแพร่กระจายจากนุดศุนยกลางไปตามพื้นที่เท่าที่มันจะเป็นไปได้ในเขตภูมิศาสตร์เดี่ยวกัน และยุคสมัยใกล้เคียงกน จากแนวคิดนี้จะเห็นภาพของเขตวัฒนะรรมเป็นกลุ่มๆ ไป และแพร่กระจายไปถึงทุกที่ที่ไม่สามารถจะเดินทางไปได้ ดังนั้นรูปแบบการแพร่กระจายของสำนักอเมริกันจึงไม่ใช้เป็นรูปแบบวงกลมหลายวง วัฒนธรรมหนึ่งๆ จะแพร่กระจายไปยังงแหล่งอื่นๆ ได้ต้องยึดหลักว่ วัฒนะรรม คือ ความคิดและพฤติกรรม(ผลของความคิด) ที่ติดตัวบุคคล บุคคลไปถึงไหนวัฒนธรรมก็
ไปถึงนั่นดังนั้นกาแพร่กระจายของวัฒนธรรมจะขึ้นอยู่กับปัจจัย ดังนี้ หลักภูมิศาสตร์ ปัจจัยทางเศราฐกิจ ปัจจัยทางสังคม การคมนาคมขนส่งที่ดี การแพร่กระจายทางวัฒนธรรมตามแนวคิดของเขา จะเป็นไปได้มากว่าเท่าที่เป็นอยุ หรือการแพร่กระจายวัฒนะรรมจะเป็นไปได้มากก็ต่อเมื่อ เกิดในพื้นที่ต่อเนื่องกัน ไม่มีอุปสรรคทางภุมิศาสตร์ขวางกั้น มีปัจจัยอื่นๆ มาสนับสนุนโดยเฉพาะอย่างยิ่งทางเศราฐกิจ เพราะวัฒนธรรมคือพฤติกรรมที่ติดอยุ่กับตัวบุคคล บุคคลที่มีกำลังทางเศราฐกิจ และบุคคลที่มีความจำเป็นหรือมีเป้าหมายทางเศราฐกิจเท่าน้นจะสามารถเดินทางจากสถานที่ที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่หนึ่งได้
จากแนวคิดดังกล่าวเราจะเห็นเขตวัฒนะรรมของโลกเป็นกลุ่มๆ เช่น เขตวัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉีีงใต้ เขตวัฒนธรรมเอเชียใต้ สรุปคือ วิะีการศึกษาการแพร่กระจายทางวัฒนธรรมของ คอเบอร์ มีดังนี้ ใช้หลักภูมิศาสตร์ สืบย้อนด้วยประวัติศาสตร์ การขุดค้นทางโบราณคดี ดูวิวัฒนการของวัฒนธรรม เป็นการศึกษาเพ่อโุว่าวัฒนธรรมเติบโตมาอย่างไร...
( "ความสุขของผู้สุงอายุในบุญประเพณี 12 เดือน ของกลุ่มคนตระกุลภาษามอญ-เขมรในราชอาณาจักรไทยและราชอาณาจักรกัมพูชา". ดวงนภา ประเสริฐเมือง, วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัฒฑิต สาขาวิชายุทะศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค(อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง), มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์, พ.ศ. 2556.)
วันพุธที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2560
Austro-Asiatic languages : MON-KHMER II
กลุ่มเหนือ...
ภาษากาสี เป็นภาษากลุ่มออสโตรเอเชียติกใช้พูดในรัฐ เมฆาลัย ประเทศอินเดีย อยู่ในสาขามอญ-เขมร และใกล้เคียงกับภาษากลุ่มมุนดาทีเป็นภาษาตระกูลออสโตรเชียติกที่มีผู้พูดในอินเดียกลาง มีผู้พูด กว่าเก้าแสนคน ในรัฐเมฆาลัย ซึ่งคือหนึ่งในรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย มีเขตติดต่อกับประเทศบังคลาเทศทางทิศใต้และตะวันตก และรัฐอัสสัมทางทิศเหนือและตะวันออก ในปัจจุบันหนึ่งในสามของรัฐบังคงปกคลุมไปด้วยป่าไม้ นอกจานี้แล้ว รัฐเมฆาลัยยังถือเป็นสถานที่ๆ ฝนตกชุกที่สุดในโลกและเปนสถานที ๆ ชื้นแฉะที่สุดในโลกด้วย
มีผุ้พูดบางส่วนในหุบเขาตามแนวชายแดนอินเดีย ภาษากาสีมีเรื่องเล่าพื้นบ้านมากมักเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับที่มาของชื่อต่างๆ ของภูเขาแม่น้ำ สัตว์และอื่นๆ
ระบบการเขียนในอดีตภาษากาสีไม่มีระบบการเขียนเป็นของตนเอง วิลเลี่ยม แครี่ ดัดแปลงอักษระบงกาลีมาใช้เขียนเมื่อ พ.ศ. 2356-2381 มีหนังสือที่เขียนด้วยอักษรนี้จำนวนมาก โทมัส โจนส์ มิชชันนารีชาวเวลส์ เขียนภาษานีด้วยอักษรละติน เมื่อ พ.ศ. 2384 โดยการออกเสียงใกล้เคียงกับภาษาเวลส์ จากจุดนี้จึวมีการพัฒนาอักษรละตินสำหรับภาษากาสีเองขึ้นมา th.wikipedia.org/wiki/ภาษากาสี
ปะหล่อง เป็นชนกลุ่มน้อยพวกหนึ่งนับเป็นหนึ่งใน 56 กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศจีนนอกจานี้ยังมีชาวปะหล่องอาศัยอยู่ในประเทศพมาและบางส่วนที่อพยพเข้ามาประเทศไทย ชาวปะหล่อง พูดภาษาปะหล่อง ซึ่งแบ่งแยกย่อยออกไปอีก อาทิ
- ปะหล่องรูไม หรือภาษาปะหล่องเงิน มีผุ้พูดกว่าแสนสามหมื่นคน พบในพม่าและชายแดนจีนพม่า ทางตะวนตกของยูนนาน ในเขตปกครองตนเองเต๋อหง และตามแนวชายแดนพม่า
- ปะหล่องปาเล หรือประหล่องเงินมีผู้พูดกว่าสองแสนห้าหมื่นคนทางตอนใต้ของรัฐแาน และในจีน ห้าพันคน ในยูนนานตะวันตก ส่วนใหญ่พูดภาษาไทลื้อ ภาษาจิ่งโปหรือภาษาจีนได้ด้วย ในไทยพบ ห้าพนคนใกล้เคียงกับภาษาปะหล่องชเว ภาษาปะหล่องรูไม
- ปะหล่องชเว หรือภาษาปะหล่องทองพบในพม่า กว่าหนึ่งแสนสี่หมื่นคนทงภาคเหนือของรัฐฉาน และในจีน สองพันคน ทางตะวันตกเฉียงใต้ของยูนนาน th.wikipedia.org/wiki/ปะหล่อง
กลุ่มภาษาขมุ หรือ ภาษากำมุ มีผุ้พูดกว่าห้าแสนคน พบในลาง สามแสนแปดหมื่นคน กระจายอยู่ทางเหนือของหลวงพระบาง ห้วพัน พงสาลี เวียงจันทน์ สายะบุรี น้ำทา ปากแบง และหวยทราย สำเนียงในแต่ละท้องถิ่นจะต่างกัน พบในจีน หนึ่งพันหกร้อยคน ในสิบสองปันนา ในประเทศไทย สามหมื่อนกว่าคน ที่จ. เชียงราย น่าน พะเยา ละกระจายตัวอยู่ในจังหวัดอื่นๆ ในภาคตะวันตก ภาคกลางและภาคอีสานพบในเวียดนามห้าหมื่นหกพันคน และอาจจะมีในพม่า
ระบบเสียง มีพยัญชนะ 17 เป็นตัวสะกดได้ 15 เสียง สระ 22 เสียง เป็นสระเี่ยว 19 เสียง สระประสม 3 เสียง มีความแตกต่างระหว่างสระเสียงสั้นและสระเสียงยาวไม่มีเสียงวรรณยุกต์แต่มีลักษระน้ำเสียง 2 แบบ คือ เสียงทุ้มใหญ่กับเสียงเบาแหลม
ไวยกรณื เป็นภาษาที่มีแนวโน้มเป็นภาาที่มีพยางค์เดียวมากขึ้นเช่นเดียวกับภาษาเวียดนาม คำกริยาไม่ผันตามกลาล โดยทั่วไปไม่มีการเปลี่ยนรูปคำเพื่อแสดงเพศหรือ พหูพจน์ ยกเว้นคำสรรพนาม มีการลงอุปสรรค(คำหน้า) และอาคม (คำกลาง) บ้างแต่จัดเป็นระบบไม่ได้ชัดเจนนัก การเรียงประโยคเป็นปบบ ประธาน-กริยา-กรรม
คำสรรพนามแทนบุคคลมีรูปเป็นเอกพจน์ ทวิพจน์ และพหูพจน์ คำสรรพนามที่ใช้เชื่อมประโยค ซึ่งตรงกับคำว่า อันที่ คนที่ ตัวที่ ในภาษาไทย ภาาขมุจะใช้ว่ากัมหนือนัม มีการใช้คำสันธานน้อย ดดยมากใช้ประโยคเรียงต่อกันเฉยๆ คำบุพบทมีไม่กี่คำ ที่ใช้มากคือ ตา หมายถึง ด้าน ที่จาก ข้างใน และคำว่า ลองที่หมายถึงแถง บริเวณ
ระบบเขียน ภาษาขมุไม่มีระบบการเขียนเป็นของตนเอง ในวงวิชาการใช้สัทอักษร ในประเทศไทยมีการนำอักษรไทยไปเขียนภาษาขมุ เขียนด้วยอักษรด้วตาในจีนth.wikipedia.org/wiki/ภาษาขมุ
ภาษาม้ง อยุ่ในตระกูลแม้ว เย้า หรือม้ง-เมี่ยน ใช้กันในชาวม้งในเเชียตะวันออกเฉียงใต้และบางส่วนของจีนจัดเป็นภาษาคำโดด โดยหนึ่งคำมีเสียงพยัญชนะต้น สระ และวรรณยุกต์ ไม่มีเสียงตัวสะกด มีวรรณยุกต์สนธิหรือการปสมกันของเสียงวรรณยุต์เมื่อนำคำมาเรียงต่อกันเป็นประโยค ในประเทศไทยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ ภาษาม้งเขียว หรือ ม้งจั๊ว ภาษาม้งขาว หรือ ม้งเด๊อว
ไวยากรณ์ การเรียงคำเป็นแบบประธาน-กริยา กรรม เช่น เด๋เตาะหม่(หมากัดแมว) ไม่มีการเปลี่ยนรูปคำเพื่อแสดงกาล แต่ใช้การเติมคำบอกกาลเช่นเดียวกับภาษาไทย อดีตเติมคำว่าเหลอะไว้ท้ายประโยค เช่น เด๋เตาะหมีเหลอะ (หมาจะกัดแมว) ประโยคคำถามเติมคำว่าปั่วหรือหลอเข้าในประโยค คำว่าหลอนิยมวางไว้ท้ายประโยค ส่วนคำว่าปั่วนิยมวางไว้หน้ากริยา เช่นเด๋เตาะหมีหลอ หรือ เ่๋ปั่วเตาะหมี (หมากัดแมวหรือ)
ภาษาม้งมีการฝช้คำลัษณะนาใโดยจะเรียงคำแบบ จำนวนนับ-ลักษณนาม-นาม เช่น อ๊อตู่แหน่ง (สอง-ตัว-ม้า) คำลักษณะนามที่ำคัญคื อตู่ใช้กับส่ิงมีชีวติทั้งสัตว์และต้นไม้ ส่วนคนนั้นใช้ เล่ง เช่น อ๊อเล่ง (คนสองคน) ตร๊า ใช้กับเครื่องมือ เครื่องใช้ อาวุธ ได ใช้กับส่ิงที่มีลักษณะเป็นแผ่นแบนๆ แส้ฮ ใช้กับส่ิงที่เป็นเส้นยาวหรือเวลานนานๆ ลู้ใช้กับคำนามทั้วไป จ๋อใช้กับคำนามที่มีมากว่าหนึ่ง เช่น จ๋อแหน่ง (ม้าหลายตัว)
ระบบเขียนไม่มีอักษรเป็นของตนเอง มีผุ้สนใจภษาม้งพยายามประดิษฐ์อักษรขึ้นใช้เขียน เช่น อักษรม้งอักษรพอลลาร์ด เมียว ที่เป็นที่นิยมแพร่หลายคืออักษรละตินใประเทสไทยบางคร้งเขียนด้วยอักษาไทย สำหรับการเขียนด้วยอักษรละตินมีพยัญชนะที่ใช้ทั้งหมด 26 ตัว วรรณยุกต์ มี 8 และสระมี 14 ตัว th.wikipedia.org/wiki/ภาษาม้ง
กลุ่มใต้..
ภาษามอญในพม่าและไทย เป็นภาษาหนึ่งในตระกูลภาษามอญ-เขมร 12 สาย พูดโดยชาวมอญที่อาศัยอยุ่ในพม่าและไทย อักษรมอญ ที่เก่าแก่ที่สุดนั้น ค้นพบในประเทศไทย หลักฐานที่พบคือ จารึกวัดโพธิ์ร้าง พ.ศ. 1143 เป็นอักษรมอญโบราณที่เก่าแก่ที่สุด ในบรรดาจารึกภาษามอญที่ได้ค้นพบ ในแถบอเชียอาคเนย์ เป็นจารึกที่เขียนด้วยตัวออักษรปัลลวะ มี่ยังไม่ได้ดัแปลงให้เป็นอักษรมอญและได้พบลอักษรที่มอญประดิษฐ์เพิ่มขึ้น เพื่อให้พอกับเสียงในภษามอญ ในจารึกเสาแปดเหลี่ยมที่ศาลสุง เมืองลพบุรี ข้อคามที่จารึกเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาสันนิษฐานวา จารึกในพุทธศตวรรษที่ 13 ราว พ.ศ. 1314 อักษรจารึกในศิลาหลักนี้เรียกว่า ตัวอักษรหลังปัลลวะ
ภาษามอญ ในจารึกสมัยกลางเป็นทั้งภาษามอญและอักษรมอญ ประมาณ พ.ศ. 1600 เป็นต้นมา พม่ารับอักษรมอญมาใช้เขียนภาษาพม่า เป็นครั้งแรกประมาณพุทธศตวรรษที่ 16-17 ตัวอักษรได้คลี่คลายจากตัวอักษรปัลลวะ มาเป็นตัวอักษรสี่เหลี่ยม คือ ตัวอักษรที่เรียกว่า อักษรมอญโบราณ และเปลี่ยนแปลงขนาดเล็ลงในระยะต่อมา ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 21 ก็ได้แลายเป็นอักษรมอญปัจจุบัน ซึ่งมัลักษณะกลม เกิดจากอิทธิพลของการจารหนังสือโดยใช้เหล็กจารลงยนใบลาน
ภาษามอญปัจจุบัน เป็นภาษาในระยะพุทธศตวรรษที่ 21 เป็นต้นมา จนถึงปัจจุบัน นับเป็นระยะเวลาประมาณ 400 ปีเศษ ในยุคนี้เป็นจารึกในใบลาน มีฃลักษระกลม ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของการจารหนังสือโดยใช้เหล็กจารลงบนใบลาน..../th.wikipedia.org/wiki/ภาษามอญ
กลุ่มภาษาอัสเลี่ยน ในภาคใต้ของไทยและมาเลเซีย อาทิ ภาษานามิ ของชาวซาไก, แต็นแอ็น ซึ่งจัดว่าเป็นภาษาที่ใกล้สูญพันธ์
กลุ่มภาษานิโคบาร์ หมู่เกาะนิโคบาร์
กลุ่มที่จำแนกไม่ได้.. ได้แก่ภาษาบูกัน บูซินซัว เอเมียฮัวและกวยอัวในจีน...
ภาษากาสี เป็นภาษากลุ่มออสโตรเอเชียติกใช้พูดในรัฐ เมฆาลัย ประเทศอินเดีย อยู่ในสาขามอญ-เขมร และใกล้เคียงกับภาษากลุ่มมุนดาทีเป็นภาษาตระกูลออสโตรเชียติกที่มีผู้พูดในอินเดียกลาง มีผู้พูด กว่าเก้าแสนคน ในรัฐเมฆาลัย ซึ่งคือหนึ่งในรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย มีเขตติดต่อกับประเทศบังคลาเทศทางทิศใต้และตะวันตก และรัฐอัสสัมทางทิศเหนือและตะวันออก ในปัจจุบันหนึ่งในสามของรัฐบังคงปกคลุมไปด้วยป่าไม้ นอกจานี้แล้ว รัฐเมฆาลัยยังถือเป็นสถานที่ๆ ฝนตกชุกที่สุดในโลกและเปนสถานที ๆ ชื้นแฉะที่สุดในโลกด้วย
มีผุ้พูดบางส่วนในหุบเขาตามแนวชายแดนอินเดีย ภาษากาสีมีเรื่องเล่าพื้นบ้านมากมักเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับที่มาของชื่อต่างๆ ของภูเขาแม่น้ำ สัตว์และอื่นๆ
ระบบการเขียนในอดีตภาษากาสีไม่มีระบบการเขียนเป็นของตนเอง วิลเลี่ยม แครี่ ดัดแปลงอักษระบงกาลีมาใช้เขียนเมื่อ พ.ศ. 2356-2381 มีหนังสือที่เขียนด้วยอักษรนี้จำนวนมาก โทมัส โจนส์ มิชชันนารีชาวเวลส์ เขียนภาษานีด้วยอักษรละติน เมื่อ พ.ศ. 2384 โดยการออกเสียงใกล้เคียงกับภาษาเวลส์ จากจุดนี้จึวมีการพัฒนาอักษรละตินสำหรับภาษากาสีเองขึ้นมา th.wikipedia.org/wiki/ภาษากาสี
ปะหล่อง เป็นชนกลุ่มน้อยพวกหนึ่งนับเป็นหนึ่งใน 56 กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศจีนนอกจานี้ยังมีชาวปะหล่องอาศัยอยู่ในประเทศพมาและบางส่วนที่อพยพเข้ามาประเทศไทย ชาวปะหล่อง พูดภาษาปะหล่อง ซึ่งแบ่งแยกย่อยออกไปอีก อาทิ
- ปะหล่องรูไม หรือภาษาปะหล่องเงิน มีผุ้พูดกว่าแสนสามหมื่นคน พบในพม่าและชายแดนจีนพม่า ทางตะวนตกของยูนนาน ในเขตปกครองตนเองเต๋อหง และตามแนวชายแดนพม่า
- ปะหล่องปาเล หรือประหล่องเงินมีผู้พูดกว่าสองแสนห้าหมื่นคนทางตอนใต้ของรัฐแาน และในจีน ห้าพันคน ในยูนนานตะวันตก ส่วนใหญ่พูดภาษาไทลื้อ ภาษาจิ่งโปหรือภาษาจีนได้ด้วย ในไทยพบ ห้าพนคนใกล้เคียงกับภาษาปะหล่องชเว ภาษาปะหล่องรูไม
- ปะหล่องชเว หรือภาษาปะหล่องทองพบในพม่า กว่าหนึ่งแสนสี่หมื่นคนทงภาคเหนือของรัฐฉาน และในจีน สองพันคน ทางตะวันตกเฉียงใต้ของยูนนาน th.wikipedia.org/wiki/ปะหล่อง
กลุ่มภาษาขมุ หรือ ภาษากำมุ มีผุ้พูดกว่าห้าแสนคน พบในลาง สามแสนแปดหมื่นคน กระจายอยู่ทางเหนือของหลวงพระบาง ห้วพัน พงสาลี เวียงจันทน์ สายะบุรี น้ำทา ปากแบง และหวยทราย สำเนียงในแต่ละท้องถิ่นจะต่างกัน พบในจีน หนึ่งพันหกร้อยคน ในสิบสองปันนา ในประเทศไทย สามหมื่อนกว่าคน ที่จ. เชียงราย น่าน พะเยา ละกระจายตัวอยู่ในจังหวัดอื่นๆ ในภาคตะวันตก ภาคกลางและภาคอีสานพบในเวียดนามห้าหมื่นหกพันคน และอาจจะมีในพม่า
ระบบเสียง มีพยัญชนะ 17 เป็นตัวสะกดได้ 15 เสียง สระ 22 เสียง เป็นสระเี่ยว 19 เสียง สระประสม 3 เสียง มีความแตกต่างระหว่างสระเสียงสั้นและสระเสียงยาวไม่มีเสียงวรรณยุกต์แต่มีลักษระน้ำเสียง 2 แบบ คือ เสียงทุ้มใหญ่กับเสียงเบาแหลม
ไวยกรณื เป็นภาษาที่มีแนวโน้มเป็นภาาที่มีพยางค์เดียวมากขึ้นเช่นเดียวกับภาษาเวียดนาม คำกริยาไม่ผันตามกลาล โดยทั่วไปไม่มีการเปลี่ยนรูปคำเพื่อแสดงเพศหรือ พหูพจน์ ยกเว้นคำสรรพนาม มีการลงอุปสรรค(คำหน้า) และอาคม (คำกลาง) บ้างแต่จัดเป็นระบบไม่ได้ชัดเจนนัก การเรียงประโยคเป็นปบบ ประธาน-กริยา-กรรม
คำสรรพนามแทนบุคคลมีรูปเป็นเอกพจน์ ทวิพจน์ และพหูพจน์ คำสรรพนามที่ใช้เชื่อมประโยค ซึ่งตรงกับคำว่า อันที่ คนที่ ตัวที่ ในภาษาไทย ภาาขมุจะใช้ว่ากัมหนือนัม มีการใช้คำสันธานน้อย ดดยมากใช้ประโยคเรียงต่อกันเฉยๆ คำบุพบทมีไม่กี่คำ ที่ใช้มากคือ ตา หมายถึง ด้าน ที่จาก ข้างใน และคำว่า ลองที่หมายถึงแถง บริเวณ
ระบบเขียน ภาษาขมุไม่มีระบบการเขียนเป็นของตนเอง ในวงวิชาการใช้สัทอักษร ในประเทศไทยมีการนำอักษรไทยไปเขียนภาษาขมุ เขียนด้วยอักษรด้วตาในจีนth.wikipedia.org/wiki/ภาษาขมุ
ภาษาม้ง อยุ่ในตระกูลแม้ว เย้า หรือม้ง-เมี่ยน ใช้กันในชาวม้งในเเชียตะวันออกเฉียงใต้และบางส่วนของจีนจัดเป็นภาษาคำโดด โดยหนึ่งคำมีเสียงพยัญชนะต้น สระ และวรรณยุกต์ ไม่มีเสียงตัวสะกด มีวรรณยุกต์สนธิหรือการปสมกันของเสียงวรรณยุต์เมื่อนำคำมาเรียงต่อกันเป็นประโยค ในประเทศไทยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ ภาษาม้งเขียว หรือ ม้งจั๊ว ภาษาม้งขาว หรือ ม้งเด๊อว
ไวยากรณ์ การเรียงคำเป็นแบบประธาน-กริยา กรรม เช่น เด๋เตาะหม่(หมากัดแมว) ไม่มีการเปลี่ยนรูปคำเพื่อแสดงกาล แต่ใช้การเติมคำบอกกาลเช่นเดียวกับภาษาไทย อดีตเติมคำว่าเหลอะไว้ท้ายประโยค เช่น เด๋เตาะหมีเหลอะ (หมาจะกัดแมว) ประโยคคำถามเติมคำว่าปั่วหรือหลอเข้าในประโยค คำว่าหลอนิยมวางไว้ท้ายประโยค ส่วนคำว่าปั่วนิยมวางไว้หน้ากริยา เช่นเด๋เตาะหมีหลอ หรือ เ่๋ปั่วเตาะหมี (หมากัดแมวหรือ)
ภาษาม้งมีการฝช้คำลัษณะนาใโดยจะเรียงคำแบบ จำนวนนับ-ลักษณนาม-นาม เช่น อ๊อตู่แหน่ง (สอง-ตัว-ม้า) คำลักษณะนามที่ำคัญคื อตู่ใช้กับส่ิงมีชีวติทั้งสัตว์และต้นไม้ ส่วนคนนั้นใช้ เล่ง เช่น อ๊อเล่ง (คนสองคน) ตร๊า ใช้กับเครื่องมือ เครื่องใช้ อาวุธ ได ใช้กับส่ิงที่มีลักษณะเป็นแผ่นแบนๆ แส้ฮ ใช้กับส่ิงที่เป็นเส้นยาวหรือเวลานนานๆ ลู้ใช้กับคำนามทั้วไป จ๋อใช้กับคำนามที่มีมากว่าหนึ่ง เช่น จ๋อแหน่ง (ม้าหลายตัว)
ระบบเขียนไม่มีอักษรเป็นของตนเอง มีผุ้สนใจภษาม้งพยายามประดิษฐ์อักษรขึ้นใช้เขียน เช่น อักษรม้งอักษรพอลลาร์ด เมียว ที่เป็นที่นิยมแพร่หลายคืออักษรละตินใประเทสไทยบางคร้งเขียนด้วยอักษาไทย สำหรับการเขียนด้วยอักษรละตินมีพยัญชนะที่ใช้ทั้งหมด 26 ตัว วรรณยุกต์ มี 8 และสระมี 14 ตัว th.wikipedia.org/wiki/ภาษาม้ง
กลุ่มใต้..
ภาษามอญในพม่าและไทย เป็นภาษาหนึ่งในตระกูลภาษามอญ-เขมร 12 สาย พูดโดยชาวมอญที่อาศัยอยุ่ในพม่าและไทย อักษรมอญ ที่เก่าแก่ที่สุดนั้น ค้นพบในประเทศไทย หลักฐานที่พบคือ จารึกวัดโพธิ์ร้าง พ.ศ. 1143 เป็นอักษรมอญโบราณที่เก่าแก่ที่สุด ในบรรดาจารึกภาษามอญที่ได้ค้นพบ ในแถบอเชียอาคเนย์ เป็นจารึกที่เขียนด้วยตัวออักษรปัลลวะ มี่ยังไม่ได้ดัแปลงให้เป็นอักษรมอญและได้พบลอักษรที่มอญประดิษฐ์เพิ่มขึ้น เพื่อให้พอกับเสียงในภษามอญ ในจารึกเสาแปดเหลี่ยมที่ศาลสุง เมืองลพบุรี ข้อคามที่จารึกเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาสันนิษฐานวา จารึกในพุทธศตวรรษที่ 13 ราว พ.ศ. 1314 อักษรจารึกในศิลาหลักนี้เรียกว่า ตัวอักษรหลังปัลลวะ
ภาษามอญ ในจารึกสมัยกลางเป็นทั้งภาษามอญและอักษรมอญ ประมาณ พ.ศ. 1600 เป็นต้นมา พม่ารับอักษรมอญมาใช้เขียนภาษาพม่า เป็นครั้งแรกประมาณพุทธศตวรรษที่ 16-17 ตัวอักษรได้คลี่คลายจากตัวอักษรปัลลวะ มาเป็นตัวอักษรสี่เหลี่ยม คือ ตัวอักษรที่เรียกว่า อักษรมอญโบราณ และเปลี่ยนแปลงขนาดเล็ลงในระยะต่อมา ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 21 ก็ได้แลายเป็นอักษรมอญปัจจุบัน ซึ่งมัลักษณะกลม เกิดจากอิทธิพลของการจารหนังสือโดยใช้เหล็กจารลงยนใบลาน
ภาษามอญปัจจุบัน เป็นภาษาในระยะพุทธศตวรรษที่ 21 เป็นต้นมา จนถึงปัจจุบัน นับเป็นระยะเวลาประมาณ 400 ปีเศษ ในยุคนี้เป็นจารึกในใบลาน มีฃลักษระกลม ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของการจารหนังสือโดยใช้เหล็กจารลงบนใบลาน..../th.wikipedia.org/wiki/ภาษามอญ
กลุ่มภาษาอัสเลี่ยน ในภาคใต้ของไทยและมาเลเซีย อาทิ ภาษานามิ ของชาวซาไก, แต็นแอ็น ซึ่งจัดว่าเป็นภาษาที่ใกล้สูญพันธ์
กลุ่มภาษานิโคบาร์ หมู่เกาะนิโคบาร์
กลุ่มที่จำแนกไม่ได้.. ได้แก่ภาษาบูกัน บูซินซัว เอเมียฮัวและกวยอัวในจีน...
วันอังคารที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2560
Austro-Asiatic languages : MON-KHMER : Vietic
กลุ่มภาษาเวียตติก หรือ กลุ่มภาษาเวียต-เหมื่อง เป็นสาขาของตระกูลออกโตรเอเชียติกซึ่งรวมภาษาเวียดนามและภาษาเหมือง ไว้ในกลุ่มนี้ ภาษาเวียดนามจัดอยุ่ในตระกูลออสโตรเอเชียติกซึ่งรวมภาาาเวียดนาม และภาษาเหมื่อง ไว้ในกลุ่มนี้ ภาษาเวียดนามจัดเขาอยุ่ในตระกูลออสโตรเอเชียติกเมื่อ พ.ศ. 2493 มีคำยืมจากภาษาจีนและกลุ่มภาษาไทมากจนปัจจุบันกลายเป็นภาษาคำโดดที่มีวรรณยุกต์คล้ายกับภาษาไทยหรือภาษาจีนสำเนียงทางใต้มากกว่าภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกอื่นๆ อย่างไรก็ตารูปแบบและความคล้ายคลึงทางสัทวิทยา ถือว่าใกล้เคียงกับภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก ภาษาในกลุ่มนี้เสียงวรรณยุกต์ ต่ำ 3 เสียง สุง 3 เสียง ซึ่งสัมพันธ์กับเียงก้อง ไม่ก้องของพยัญชนะต้นในภาาาดั้งเดิม และ้วเปลี่ยนแสียงดดยขึ้นกับเสียงตัวสะกด ระดับของวรรณยุกต์ ขึนกับวาเป็นพยางค์เปิดหรือปิดที่มีพยัญชนะเสียงนาสิกเป็นตัวสะกด
- ภาษาเหมื่อง เป็นภษาของชาวเหมื่องในเวียดนาม มีผุ้พูดในเวียดนาม ล้านกว่าคน ส่วนใหญ่อยุ่ในเขตภูเขาทางภาคกล่างค่อนไปทางเหนือ ใกล้เคียงกับภาษาเวียดนาม อยุ่ในตระกุลภาาาอสดตรเอเชียติก กลุ่มภาษามาญ-เขมรน สาขาเหวียด-เหมื่อง สาขาย่อยเหมือง เขียนด้วยอักษาละติน มีวรรณยุกต์ 5 เสียง คำศัพท์ได้รับอิทธิพลจากภาษาจีนมาก
- ภาษาเวียดนาม เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ และเป็นภาาาทางการของประเทศเวียดนาม เป็นภาษาแม่ของประชาการเวียดนามถึงร้อยละ 87 รวมถึงผู้อพยพจากเวียดนามประมาณ 2 ล้านคน และรวมถึงชาวเวียดนามอเมริกัน เป็นจำนวนพอสมควรด้วย ถึงแม้ว่าจะีการยือมคำศัพท์จากภาาาจีนและเดิมใช้อักษรจีนเขียน แต่นกภาษาศาสตร์ยังคงจัดภาษาเวียดนามให้เป็นภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก ซึ่งในกลุ่มนี้ภาษาเวียดนามมีผุ้พูดมากที่สุด ซึ่งมีสูงถึงสิบเท่าของภาษาเขมร ในด้านระบบการเขียนของภาษาเวยดนามนั้น แต่เดิมใช้ตัวเขียนจีน เรียกว่า "จื้อญอ" ต่อมาชาวเวียดนาใไ้พัฒนาตัวเขียนจีนเพื่อใช้เขียนภาษาเวียดนาม เรียกว่า ไจื้อโนม" แต่ในปัจจุบันเวียดนามใช้ตัวอักษรดรมันที่พัฒนาขั้นดดยมิชชันนารีชาวฝรั่งเศส ดดยเครื่องหมายเสริมสัทอักษรใช้เป็นวรรณยุกต์
สำเนียงท้องถ่ิน มีหลากหลาย แต่ดดยมากถือว่มี 3 หลัก ดังนี้
- เวียดนามตอนเหนือ ถิ่นฮานอย,ถิ่นอื่นทางเหนือ : ไฮฟอง และถิ่นระดับจังหวัดจำนวนมาก ชื่อในยุคอาณานิคมฝรั่งเศสคือ "ตังเกี๋ย"
- เวียดนามตอนกลาง ถิ่นเว้, ถิ่นเหงะอาน,ถิ่นกว๋างนาม ชื่อในยุคอาณานิคมฝรั่งเศสคือ "อันนัมสูง"
- เวียดนามตอนใต้ ถิ่นไซ่ง่อน, ถิ่นแม่น้ำโขง(ตะวันตกไกล) ชื่อในยุคอาณานิคมฝรั่งเศสคือ "โคชินไชนา"
ภาษาถิ่นเหล่านี้มีน้ำเสียง การออกเสียง และบางครั้งก็มีคำศัพท์ที่แตกต่างไปบ้างแต่ภาษาถิ่นเฮว้จะมีคำศัพท์ท่แตกต่างค่อนข้างมาจากภาษาอถิ่นอื่นๆ วรรณยุกต์ "หอย" และ "หวา" มีความแตกต่า
ในภาคเหนือ แต่กลืนเป็นวรรยุกต์เดียวกันในภาคใต้ ส่วนพยัญชนะ ch และ tr นั้นจะออกเสียงแตกต่างกันในถิ่นใต้และกลาง แต่รวมเป็นเสียงเดียวในถิ่นเหนือ สำหรับความแตกต่างด้านไวยากรณืนั้นไม่ปรากฎ
ระบบเสียง
เสียงพญัญชนะ ในภาษาเวียดนามมีหน่วยเสียงตามตารางทางด้านล่าง โดยอักษรทางด้านซ้อยเป็นอักษรที่ใช้เขียนแทนหน่วยเสียงนั้นๆ ในภาษาเวียดนาม อักษรตรงกลางเป็นสัทอักษร และด้านขวานั้นเป็นอักษรไทยที่นิยมใช้ทับศัพท์ .
เสียงสระ สูง กลางสูง กลางต่ำ และต่ำ แบ่งเป็น หน้า หลาง หลัง สระในภาษาเวียดนาน้น อกเสียงโดยมีวรรณยุกต์ภายใน โดยวรรณยุกต์มีความแตกต่างกันที่ ระดับเสียง ความยาว น้ำเสียงขึ้นลง ความหนักแน่น การออกเสียงคอหอย(ลักษณะเส้นเสียง) เครื่องหมายกำกับวรรณยุกต์ปกติจะเขียนเหนือหรือใต้สระ (ส่วนใหญ่เขียนไว้เหนือสระ แต่วรรณยุกต์หนั่ง เป็นจุดใต้สระ) วรรยุตก์มีทั้งหมด 6 ลักษณะในภาษาถิ่นเหนือ (รวมอานอยด้วย)
เสียงวรรณยุกต์ นักภาษาศาสตร์ได้ศึกษาภาษาเวียดนามและจัดให้อยุ่ในภาษาตระกุลออสดตรเอเชียติก เช่นเดียวกับภาษาเขมร ซึ่งเป็ฯภาษาระบบคำสองพยางค์ และมีลักษระน้ำเสียง เป็นลักษระสำคัญของภาษา อีกทั้งเป็นภาษาที่มไ่มีระบบเสียง วรรณยุกต์ แต่ภาาเวียดนามปัจจุบันได้พัฒนาระบบเสียงวรรณยุตก์ขึ้นใช้ เนื่องจากอิทธิพลของภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์อันได้แก่ภาษาตระกุลไท ที่อยุ่โดยรอบและภาษาจีนที่เข้ามาปกครองเวียดนามในขณะนั้น
ไวยกรณ์ ภาษาเวียดนามเป้ฯภาษรูปคำโดดเช่นเดียวกับภาษาจีนและภาษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อื่นๆ ไวยากรณ์เน้นที่การเรียงลำดับคำและดครงสร้างประดยคมากกว่าการผันคำ แสดงโดยการเพิ่มคำเช่นเดียวกับภาาาไท ภาาาเวียดนามเป็นภาษาคำโดด แต่ก้มีคำสองพยางค์อยุ่เป็นจำนวนมาก การเรียงคำในประโยคเป้นแบบประธาน-กริยา-กรรม
กาล ปกติแล้วไม่จำเป็นต้องแสดง โดยทั่วไปจะมีคำแสดงกำกับไว้ทั้ง อดีต ปัจจุบันและอนาคร
โครงสร้างแสดงหัวข้อ เป็นโครงสร้างประโยคที่สำคัญในภาษาเวียดนาม Toi đọc sách này rồi = ฉันอ่านหนังสือนี้แล้ว อาจเรียงประโยคใหม่เป็น Sách này thi toi đọc rồi = หนังสือนี้น่ะฉันอ่านแล้ว (thi เป็นตัวแสดงหัวข้อ)
ลักษณะนาม ภาาษเวียดนามีคำลักษระนามใช้แสดงลักษระของนามเช่นเดียวกับภษาไทยและภาษจีน
คำสรรพนาม ในภาษาเวียดนามต่างจากภาษาอังกฤษ คือคำสรรพนามแต่ละคำไม่ได้ถูกแบ่งอย่างชัดเจนว่าเป็นบุรุษที่ 1 2 หรือ 3 ขึ้นกับผุ้พูดและผุ้ฟัง นอกจานั้นยังต้องระมัดระวังในการระบุความสัมพันธ์ทางสังคมซึ่งขึ้นกับอายุและเพศ
การซ้ำคำ พบมาในภษาเวียดนามซึ่งเป็นการสร้างคำใหม่ ซึ่งมีความมหายต่างไปจากเดิม เช่นเป็นการลดหรือเพิ่มความเขมของคำคุณศัพท์
คำศัพท์ ทางการเมืองและวิทยาศาสตร์โดยมากมาจากภาษาจีน กว่าร้อยละ 70 ของคำศัพท์มีรากศัพท์มาจากภาษาจีน คำประสมหลายคำเป้นการประสมระหว่างคำดั้งเดิมในภาษาเวียดนามกับคำยืมจากภาษาจีน ซึ่งคำเหล่านี้ปัจจุบันมักถูกแทนที่ด้วยคำเวยดนาม นอกจากนี้ยังมีคำยืมจากภาษาฝรั่งเศสและภาษาอังกฤษ
ระบบการเขียน ก่อนที่ฝรั่งเศสจะเข้ามายังเวียดนามนั้น ภาษาเวียดนามมีระบบเขียนสอลปบบ ซึ่งทั้งสองแบบก็มีที่มาจากอักษรจีนเช่นเดียวกัน
- จื้อญอ หรือ ฮ้านตี คืออักษรจีนที่ใช้เขียนภาษาจีนโบราณ
- จื้อโนม เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาเวียดนาม โดยนำอักษรจีนมาดัแปลงเล็กน้อย
ปัจจุบันภาษาเวียดนามเขียนด้วยจื้อโกว๊กหงือ (ัอักษรของภาษาประจำชาติ) ซึ่งเป็นอักษรละตินที่เพิ่มเติมเครื่องหมายต่างๆ เข้ามาเพื่อให้มีอักษรเพียงพอที่จะใช้เขียนภาษาอักษรดังกลาวได้รับการคิดค้นขึ้นมาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 โดยอาเล็กซ็องดร์ เดอ รอด ซึ่งเป็นมิชชันนารีชาวฝรั่งเศสที่เข้ามเผยแผ่ศาสนา โดยมีรากฐานมาจากระบบที่มิชชันนารีชวโปรตุเกสคิดไว้ก่อนหน้สนั้นในระหว่างที่เวยดนามยังเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศสนั้น จือโกว๊กหวือได้เป็นอักษรราชการของอาณรานิคมซึ่งได้ทำให้อักษรดังกลาวเป็นที่แพร่หลายมากขึ้นเรื่อยๆ จื้อโกว๊กหงือหรือ ในปัจจุบันมีรุปแบบการเขียนที่อ้างอิงการออกเสียงของภาษาถิ่นเวียดนามกลาง ซึ่งสระและพยัญชนะท้ายจะคล้ายคลึงกับภาษาถิ่นเหนือส่วนพยัญชนะต้นจะคล้ายกับภาษาถิ่นใต้th.wikipedia.org/wiki/กลุ่มภาษาเวียตติก
วันจันทร์ที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2560
Austro-Asiatic languages : MON-KHMER
กลุ่มภาษามอญ-เขมร เป็นกลุ่มของภาษาพื้นเมืองในแถบอินโดจีน อยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกเช่นเดียวกับ กลุ่มภาษามุนดาในอินเดีย การแบ่งกลุ่มย่อยของภาษาในกลุ่มนี้ เมื่อ พ.ศ. 2517 มีดังนี้
- กลุ่มตะวันออกได้แก่ ภาษาเขมรที่ใช้พูดในกัมพุชา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย และภาคใต้ของเวียดนาม ราว 15-22 ล้านคน กลุ่มภาษาเบียริก ในภาคใต้ของกัมพุชา กลุ่มภาษาบะห์นาริก ในเวียดนาม กัมพุชาและลาว กลุ่มภาษากะตู ในลาวภาคกลางกลุ่มภาษาเวียดติกในเวียดนาม
- กลุ่มเหนือ ได้แก่ภาษากาสีในรัฐเมฆาลัย อินเดีย กลุ่มภาษาปะหล่อง ในชายแดนจีน-พม่า และภาคเหนือของไทย กลุ่มภาษาขมุในลาวภาคเหนือ กลุ่มภาษาม้งในเวียดนามและจีน กลุ่มภาษาปยูในจีน
- กลุ่มใต้ ได้แก่ กลุ่มภาษามอญในพม่าและไทย กลุ่มภาษาอัสเลียนในภาคใต้ของไทยและมาเลเซีย กลุ่มภาษานิโคบาร์ในหมุ่เกาะนิโคบาร์
- กลุ่มที่จำแนกไม่ได้ ได้แก่ภาษาบูกัน บูซินชัว เกเมียฮัวและกวนฮัวในจีน
กลุ่มตะวันออก..
ภาษาเขมร เป็นหนึ่งในภาษาหลักของภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก และได้รับอิทธิพลมาจากภาษาสันสกฤต และภาษาบาลี พอสมควร ซึ่งอิทธิพลเหล่านี้ มาจากอิทธิพลของชาวเขมร ในขณะที่อิทธิพลเหล่านี้ มาจากอิทธิพลของศาสนาพุทธ และศาสนฮินดุ ต่อวันธรรมของชาวเขมร ในขณะที่อินธิพลอื่นๆ เช่น จากภาษาไทย ภาาาลาว และภาษาเวียดนาม เป็นผลมาจากการติดต่อกันทางด้านภาษาและความใกล้ชิดกันในทางภูมิศาสตร์ ภาษาเขมรเป็นภาาาที่ไม่มีวรรณยุกต์ ซึ่งแตกต่างจากประเทศเพื่อนบ้าน แต่ละพยางจะเร่ิมจ้อด้วยพญัชนะหรือพยัญชนะควบกล้ำ ตามด้วยเสียงสระ แต่ละพยางค์สามารจะมีเสียงพยัญชนะต่อไปนี้ลงท้าย เมื่อใช้เสียงสั้น จะต้องลงท้ายด้วพยัญชนะ
ə ในภาษาพูด การงดออกเสียงบางเสียงในพยางค์แรกของคำสองพยางค์ทำให้ภาษาเขมรโดยเฉพาะภาษาพูกดลายเป็นคำพยางค์ครึ่ง คำต่างๆ สมารถประกอบด้วย 2 พยางค์ เต็มได้ คำมี่มี 3 พยางค์ ขึ้นไปส่วนใหญ่เป็นคำยือมมาจากภาษาบาลี สันสกฤต ฝรั่งเศส หรือ ภาษาอื่นๆ
โครงสร้างของคำในภาษาเขมรที่มีมากที่สุดเป็นพยางค์เต็มตามที่อะบายไว้ข้งบน ต่อหน้าด้วยพยงค์สั้นที่มีโครงสร้าง CV-, C)V,CVN- หรือ C(VN- ( C เป็นพยัญชนะ V เป็นสระ N เป็น m/ม, n/น,(หรือ)/ง) สระในพยางค์สั้นเหล่านี้มักจะออกเสียงเป็น
ภาษาถิ่นที่มีการแดงอย่างชัดเจนในบางกรณี มีข้อแตกต่างที่สังเกตเห็นได้ระหว่างคนพูจากเมือง พนมเปญ (เมืองหลวง) และเมืองพระตะบองในชนบท โดยภาษาเขมรจะแบ่งเป็นภาษาถิ่นได้ 5 ถิ่น ได้แก่
- สำเนียงพระตะบอง พูดทงแถบภาคเหนือของประเทกัมพูชา
- สำเนียงพนมเปญ เป็นสำเนียงกลางของกัมพูชาเช่นเดียวกับสำเนียงกรุงเทพฯของไทย ดดยจะพูดในพนมเปญและจังหวัดโดยรอบเท่านั้น
- สำเนียงเขมรกรอม หรือ ภาษาเขมรถิ่นจันทบุรี ถือเป็นภาษถ่ินที่มช้พุดทางภาษาตะวันตกของประเทศกัมพูชาบริเวณทิวเขาบรรทัด มีผู้ใช้จำนวนน้อย
ลักษระขงอสำเนียงในพนมเปญ คือการออกเสียงอย่งไม่เคร่งครัด โดยที่บางส่วนของคำจะนำมาราวมกัน หรือตัดออกไปเลย เช่น "พนมเปญ" จะกลายเป็น "อืม.เปญ" อีกลักษระหนึ่งของสำเนียงในพนมเปญ ปรากฎในคำที่มีสีนง r/ร เป็นพยัญชนะที่ 2 ในพยางค์แรก กล่าวคือ จะไม่ออกเสียง r/ร ออกเปสียงพยัญชนะตัวแรกแข็งขคึ้นและจะอ่านให้มีระดับเสียงตก เช่นเดียวกับวรรณยุกต์เสียงโท ตัวอย่างเช่น "trej" "เตรย"แปลว่า "ปลา" อ่านเป็น "เถ็ย" โดย d จะกลายเป็น t และมีสระคล้ายเสียง "เอ" และเสียง สระจะสูงขึ้นป อีกตัวอย่งหนึ่งคือ คำว่า "ส้ม"ออกเสียงว่า kroic โกรจ ในชนบท ส่วนในเืองออเสียงเป็น koic โขจ
ภาษาเขมรเขียนด้วย อังกรเชขมร และเลขเขมร (มีลักษระเหมือนเลขไทย) ใช้กันทั่วไป
มากกว่าเลขอารบิก ชาวเขมรได้รับตัวอักษรและตัวเลขจากอินเดียฝ่ายใต้ อักษรเขมรนั้นมีด้วยกัน 2 แบบ
- อักษรเชรียง (อักซอเจรียง) หรืออักษรเอน หรืออักษรเฉียง เป็นตัวอักษรที่นิยมใช้ทั่วไป เดิมนั้นนิยมเขียนเป็นเส้นเอียง แต่ภายหลังเมื่อมีระบบการพิมพ์ ได้ประดิษญ์อักษรแบบเส้นตรงขึ้น แลมีช่ออีกอย่างว่า อักษรยืน(อักซอโฌ) อักษรเอนนี้เป็นตัวยาว มีเหลี่ยม เขียนง่าย ถือได้ว่าเป็นอักษรแบบหวัด
- อักษรมูล หรืออักษรกลม เป็นอักษรที่ใช้เขยนบรรจง ตัวกว้างกว่าอักษรเชรียง นิยมใช้เขียนหลังสือธรรม เช่น คัมภีร์ในพระพุทธศาสนา หรือการเขียนหัวข้อ ที่้องการความโดดเด่น หรือการจารึกในที่สาธารณะ
- เขียนภาษาเขมรด้วยอักษรโรมัน ในสมัยก่อน มีผุ้นิยมใช้เอักษรเขมรเขียนภาษาไทย หรือภาษาบาลี ด้วย เรียกอักษรอย่างนี้ว่า อักษรขอมไทย
ภาษากาสี เป็นภาษากลุ่มออสโตรอเอเชียติกใช้พูดในรัฐเมฆาลัย ประเทศอินเดีย อยุ่ในสาขามอญ เขมร และใกล้เคียงกบภาาากลุ่มมุนดา ที่เป็นภาษาตระกูลออสโตรติกที่มีผุ้พูดในอินเดียกลาง ในรัฐเมฆาลัย กว่าแปดแสนคน มีผุ้พูดบางส่วนในหุบเขาตามแนวชายแดนด้านรัฐอสสัมและในบังกลาเทศตามแนวชายแดนอินเดีย ภาษากาสีมีเรื่องเล่าพื้นบ้านมากมักเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับที่มาของชื่อต่างๆ ของภูเขาแม่น้ำ สัตว์และอื่นๆ th.wikipedia.org/wiki/กลุ่มภาษามอญ-เขมร
นักภาษาศาสตร์จัดโครงสร้าภษามอญให้อยุ่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก กลุ่มภาษามอญ-เขมร พูดโดยชาวมอญ ที่อาศัยอยู่ในพม่า และไทย ภาษาตระกูลมอญ-เขมรมีการใช้มานานประมาณ 3,000-4,000 ปีมาแล้ว มีผุ้ใช้ภาษานี้อยุ่ประมาณ ห้าล้านคน
การจัดตระกุลภาษา ถือว่าอยุ่ในตระกุลภาษาออสโตรเอเชียติก ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้อยุ่ในแถบอินโดจีนและทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย และเมื่อพิจารณาลักษระทางไวยากรณ์ ภาษามอย จัดอยุ่ในประเภทภาษารูปคำติดต่อ อยุ่ในกลุ่มภาษาตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งมีนักภาษาศาสตร์ ชือ วิลเฮล์ม ชิดท์ ได้จัดให้อยู่ในตระกูลภาษาสายใต้
อักษรมอญ พัฒนามาจากอักษาพราหมี ผ่านทางอักษรรปัลลวะ และเป็นแม่แบบของอักษรอื่น เช่น อักษรพม่า อักษรไทย อักษรลาว อักษรล้านนา อักษรไทลื้อ อักษรธรรมที่ใช้เขียนคัมภีร์ในล้านนาและล้านช้างได้ปรดเข้าใจด้วยว่า อักษารพม่า ไม่สามารถใช้แทน อักษรมอบได้ แต่อักษรมอญนัเน สามารใช้แทน อักษรพม่าได้
อักษรมอญโบาณพัฒนามาจากอักษรยุคหลังปลลวะ พบจารึกอักษรนีั้ในเขตหริภญชัย เช่นที่ เวียงมโน เวียงเถาะ รูปแบบของอักษรมอญต่างจากอักษรขอมที่พัฒนจากอักษรในอินเดียใต้รุ่นเดียวกันคือ อักษรมอญตัดบ่าอักษรออกไป ทำให้รูปอักษรค่อนข้าองกลาม ส่วนอักษรขอมเปลี่ยนบ่าาอักษรเป็นศกเหรือหมามเตยculture.mcru.ac.th/ebooks/research/research03.pdf
วันอาทิตย์ที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2560
Austro-Asiatic languages II
มอญ เป็นชนชาติที่มีความรุ่งเรืองมากที่สุดชาติหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อารยธรรมและภาษาเป็นของตนเองมาแต่โบราณ อาณาจักรมอญตั้งบริเวณฝั่งตะวันออกของแม่น้ำอิระวดี ซึ่งปัจจุบันอยู่ในเขตพม่าตอนล่าง ในช่วงเวลา 700 ปีของอาณาจักรมอญมักจะมีแต่ความไม่สงบเกิดขึ้นอยุ่ตลอดเวลาเป็นเหตุให้อาณาจักรมอญต้องล่มสลายลง ครมอญบางส่วนได้อพยพหนีมาสู่ประเทศไทย โดยมักจะตั้งหลักแหล่งบริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยาและลุ่มน้ำแม่กลอง ซึ่งเป็นที่อุดมสมบูรณืโดยมอญลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่อำเภอปากเกร็ด จ.นนทบุรี อ.สมโคก จ.ปทุมธานี อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการมอญลุ่มน้ำแม่กลองตั้งถิ่นฐานอยุ่ในเขตอำเภอบ้านโป่งและอำเภอโพธารามทั้งสองั่ง นอกจากนี้ยังอาจพบมอญซึ่งกระจัดกระจายอยุ่ในจังหวัดต่างๆ เช่น จังหวัดลพบุรี เพชรบุรี ครปฐม สมุทรสงคราม อยุธยา สพรรณบุรี ฉะเชิงเทรา และปราจีนบุรี ทุกวันนี้มีชาวมอญที่อาหสัยอยุ่ในประเทศไทยประมาณ 70,000 คน
คนมอญส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม เมื่อชุมชนไ้รับการพัฒนา มชีวิตที่สะดวกสบายวันนี้เปลี่ยนแปลงไป มีผลกระทบมากที่สุดจนประเมินได้ว่าอยุ่ในขั้นวิกฤตคือ ภาษา เพราะเด็และเยาวชนมอญแทบทุกครัวเรือนไม่มีความสามารถในการสื่อสารกันด้วยภาษามอญ มอญรุ่นใหม่ ไม่เห็นความสำคัญของอัตลักษณ์ตนเอง ในชุมชนก็สื่อสารกันด้วยภาษามอญน้อยลง
- มลาบุรี หรือผีตองเหลือง ผีตองเหือง เป็นชื่อของชนเผ่าหนึ่งที่มีลักษระเป็นคนป่า มักร่อนเร่อยุ่ตามป่าลึก คำว่าผีตองเหลือง เป็น ชื่อที่คนกลุ่มอื่นเรียกชนเผ่านี้โดยเรียกตามวัสดุที่ใช้มุงหลังคา คือ
ใบตอง เมื่อใบไม้ใบตองที่มุงหลังคาหรือทำเป็นซุ้ม เปลี่ยนเป็นสีเหลืองแล้วคนเหล่านี้ก็จะย้ายไปอยุ่ที่อื่นต่อไป ชาวออสเตรียสำรวจพบ ผีตองเหลือง เมื่อ พ.ศ.2479 ในดงทึบเขต จ.น่าน คนหลุ่มนี้เรียกตัวเองว่า "ยำบรี" สันนิษฐานว่าเป็นพวกกับ ผีตองเหลือง ที่คณะสำรวจของสยามสมาคมซึ่งมี นายไกรศรี นิมมานเหมินท์ เป็นหัวหน้าค้นพบเมื่องวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2505 ครั้งนั้นนาย ไกรศรี นิมมานเหมินท์ ว่าชนกลุ่มนี้เรียกตัวเองว่า "มระบรี" ทำเพิงอาศัยอยู่ที่ริมห้วยน้ำท่า ทางตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัดน่าน ก่อนนี้ มีรายงานว่าชาวแม้วและชาวมูเซอที่ดอยเวยงผา อ. พร้าว จ.เชียงใหม่ ได้พบ ผีตองเหลือ ในเขตของตนแลเว่าพวกนี้พุดภาษาว้ากับเรียกตนเองว่า "โพล" การที่เรียกตัวเองว่ "มระบรี มราบรี" เพราะคำนี้แปลว่าคนป่า "มรา" แปลว่า คน "บรี" แปลว่า ป่า
กล่าวกนว่าผีตองเหลือเป็นชนหนึ่งที่มีถ่ินฐานเดิมอยุ่ในเขตจังหวัดไชยะบุรี ประเทศลาว ปัจจุบันอาศัยอยุ่ตามภาคเหนือของประเทศไทย รูปร่างเล็กแต่แข็งแรง บ้างว่าเหมือนคนทางภาคเหนือของประเทศไทยแต่ผิวคล้ำกว่า เครื่องนุ่งห่มมีแต่ผ้าเดี่ยวผืนเดียวผืนเดียวและผ้านุ่งนี้จะใช้ก็ต่อเมื่อจำเป็น ต้องเข้ามาในหมู่บ้านเพื่อเอาของป่ามาแลกกับข้าวสาร เหลือและของใข้ที่จำเป็น เช่น มีดหรือหอกเเท่านั เพราะโดยปกติหากอยู่ในกลุ่มพวกพ้องพวกเขาจะเปลือยกาย
นอกจากนี้ ผีตองเหลือง คล้าย กับเพิงหมาแหงนแต่ภายในไม่มีการยกพื้นและปลูกแครคร่อมดิน เหมือนพลิงหมาแหงนโดยทั่วไป ท้ายเพิงมักจะสูงกว่าหน้าเพิงพัก ใช่พื้นดินเป็นพื้นเพิงและนำหญ้าผางแห้งหรือใบตองมาปูบนพื้น เวลานอนจะไม่หนุนหมอนแต่ตะแคงหูแนบพื้น เพื่อให้สามารถได้ยินฝีเท้าคนเหรือสัตว์ที่เข้ามาใกช้เพิงพักได้ พวกผู้หญิงและเด็กจึงจะกลับไปกาลูกเมียครั้งหนึ่ง
- ละว้า เป้นชื่อที่คนทั่วไปใช้เรียกกลุ่มชาติพันธ์ที่เรียกตนเองว่า "ละเวือะ" และชาวล้านนาถือว่า ไลวะ และ ละว้า เป็นชนกลุ่มเดียวกัน ประกอบกับการที่ชาวละว้าอ้างถึงประวัติความเป้นมาของตน โดยใช้ ตำนานสุวัฒฒะคำแดง และพิธีกรรมในล้าานนาเป็นเครื่องสนับสนุนนั้นในเอกสารหรือที่ปรากฎในพิธีกรรมก็กล่าวว่า "ลวะ" ซึ่งนักวิชาการยุคหลัง มักเรรยกเป็น "ลัวะ"แต่เนื่องจากมีผุ้ศึกษาเรื่อง ละว้าไว้อย่างดีมีระบบ ในที่นี้จึงใตี่จะเสนอเรื่อง ละว้า ไว้เพ่ิมเติมจากเรื่อง ลวะ และเมื่อพิจารณาทางด้านภาษาแล้ว พวกละเวือะจัดอยูในกบุ่มภาษามอญ-เขมร สาขาย่อยปะหล่อง-ว้า ได้พบว่ามีผู้พูดภาษาละว้านี้อยุ่ในสองจังกวัด คือเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน
ปัจจุบันพบว่าชาวละว้า ตั้งถิ่นฐานอยุ่หนาแน่นในบริเวณหุบเขาแนวตะเข็บของจังหวัดเชียงใหม่และ แม่ฮ่องสอน และบางส่วนในเคลื่อยย้ายมาอยู่ในบริเวณที่ราบมากขึ้น ชาวว้าใช้ภาษาในตระกูลออสโตรเอเชียติคสายมอญ-เขมร โดยอยู่ในสาขาย่อยปะหล่อง-ว้า เป็นภาษาไม่มรระบเสียงวรรณยุกต์ มีหน่วยเสียงสระ 25 หน่วยเสียง ประกอบด้วยสระเดี่ยว 10 หน่วยเสียงและสระประสม 15 หน่วยเสียง และพบว่าชาวละว้ามีความเจริญทางภาษามากสามารถสร้างวรรณคดีเป็นมรดกทาง วัฒนธรรมได้ มีวรรณกรรมมุขปาฐะของตนเรียกว่า "ละซอมแล" ซึ่งสามารถแยกย่อยได้ถึง 7 ประเภทด้วยกัน
การแต่งกายของชาวละว้า สามารถจำแนกออกเป็นสองแบบ คือ การแต่างกายในชีวิตประจำวันและการแต่างกายใรพิธีกรรมในชีวิตประจำวันนั้น หญิงละว้าจะสวนเสื้อขาวแขนสั้นกุ๊นด้วยด้านสี สีพื้นของผ้านุ่งเป็นสีดำมีลายคั่นเป็นแถบในแนวนอน ลายนี้ได้จากการมัดลายขนาดต่างๆ ที่เชิงผ้าด้านล่างเป็นแถบใหญ่ซึ่งมักเป็นสีแดงหรือสีชมพูเหลือด้วยสี เหลือง ลายมัดนันเป็นสีน้ำเงินแชมขาว มี "ปอเต๊ะ" (ผ้าพันแขน) และ "ปอซวง" (ผ้าพันแข้ง) หญิงละว้าไว้ผมยาวทำเป็นมวยประดับด้วยปิ่นหรือขนเม่นและปล่อยปลายยาว ส่วยหญิงสูงอาญุนิยมมวยผมต่ำแต่ไม่ทิ้งปลายแบบหญิงสาว หญิงละว้านียมสร้อยเงินเม็ดและลูกปัดสีแดง สส้ม สีเหลืองหลายเส้นเป็น เครือ่งประดับ มีต่างหุ โดยเฉพาะนิมต่างหูไหมพรมสีเหลืองแดงหรือส้มยาวจนถึงไหล่ หญิงส่นใหญ่ "สกุลอง" คือกำไลฝ้ายเคลือบด้วยยางรักจำนวนหมายวง นอกจากนี้ยังมีกำไลแชนแลกำไลข้อมือทำด้วยเงินอีกด้วยเ เครื่องใช้ประจำของหญิงละว้าอายุมากกว่า 30 ปีขึ้นไปคือกล้องยาเส้นและยังนิยมสะพายย่อมเวลาเดิมทางอีกด้วย ส่วนชายละว้านิยมส่วมเสื้อยือ เสื้อเิช้ต กางเกงขายาวแบบคนพื้นราบทั่วไป แต่ส่วนใหญ่สะพายย่ามเป็นประจำ
ชาวละว้ามัตั้งถ่ินฐาน อยุ่ในบรเวิณหุบเขาที่สูงกว่าระดับน้ำะเลประมาณ 1,000 ฟุต มีที่นาและไร่ล้อมรอบในหมุ่บ้านอาจมีวัดหรือดบสถ์คริสเตียนหรือครอสตัง มี "เญียะยู" หรือหอผี ซึงบางหมุ่บย้านอาจมีสองหลังหรือมากกว่า แล้วแต่จำนวนตระกูลของคนในหมุ่บ้านนั้ บ้านแบบด้้งเดิมของชาวละว้าเป็นเรือนไม้ยกพื้นสุง มุงด้วยหญ้าคาคลุ่มเกือบถึงพื้นดิน ปูด้วยฝาไม้ไผ่ ใต้ถุนบ้านใช้เป็นคอกสัตว์และที่เก็บฟืน ด้านข้างเป็นที่ตั้งของครกกระเดือ่ง การปลูกบ้านจะไม่ให้แนวหลังคาบ้านขนานไปกับการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์ หน้าจั่วประดับด้วยกาแลทั้งสองด้านภายในย้าน มีห้องเดียว มีเตาไฟอยุ่ภายในห้อง มประตูปิดแน่นหนา แต่มประตูมีช่องไว้ให้ชายหนุ่มที่สนใจจะเข้าไปคุยกับสาวในเรือนได้ง่าย จึงนับว่าห้องในเรือนนี้เป็นห้องสารพัดประโยชน์ ครอบครัวที่ถือผีจะมีเครืองบูชาผีอตั้งอยุ่ที่มุมห้องทั้งหัวนอนและปลายเท้าสมาชิกในเรือนจะนอนในห้องเดียวกันทั้งหมด แต่หากบุตชายแต่งงานแล้วก็จะแบ่งห้องตั้งแผงเตี้ยๆ ขึ้นมาและมีเตาไฟในบริเวณนั้น หากบุตรชายแต่งานอีกคนก็จะตั้งแตาำฟเพิ่มที่นอกชาน และมื่อลูกชายที่แต่งงานแล้วมีความพร้อม ก็สมารถปลูกเรือนอยูเองได้
-โส้ หรือโซ หรือกระโซ่ เป็นคำที่เรียกชื่อชนกลุ่มหนึ่งที่อาศัยอยุ่ในภาคอีสาน ชาวดส้จะมัีลักษ
ระชาติพันธุ์ของมนุษย์ในกลุ่มมองโกลลอยด์ ตระกูลออสโตร-เอเซียติก มอญ-เขมรเป็นกลุ่มเดียวกับพวกแสก และกะเลิงจากันทึกกรมพระยาดำรงราชานุภาพเมื่อครั้งเสด็จตรวจรายชการที่มณฑลอุดรและมณพลอีสาน อธบายว่ากระโซ่ คือพวกข่าผิวคล้ำกว่าชาวเมืองอื่น มีภาษาพูดของตนเอง อาศัยอยุ่ในบรเวณมณฑลอุดร มีมากเป็นปึกแผ่นที่เมืองดุสุมาลย์มณฑลใน จ.สกลนคร นอกจากนี้พบว่ามีชาวโส้อาศัยกันเป็นกลุ่มๆ กระจายอยุ่ทั่วไป เช่น ทีอำเภอโพนสวรรค์ จ.นครพนม อ.เขาวง อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฒสินธุ์ อ.เมือง อ.ดน ตาล อ.คำชะอี อ.ดงหลวง จ.มุกดาหาร ชาวโส้ เดิมมีถ่อนอาศัยอยุ่บริเวณภาคกลางของสาะารณรับประชาธิปไตยประชาชนลาว อาศียกระจัดกระจายในเขตการปกครองของเมืองภูวดลสอางค์ หรือเมืองภูวนากรแด้ง เมื่อสมัียขึนกับราชอาณาจักรไทย ชา ชาวโส้อาศยอยุ่ในเมือง พิณ เมืองนองเมืองวัง - อ่างคำ และมืองตะโปรน ชาวดส้ เป็นกลุ่มชนที่มีความเชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธ์ทั้งที่เป็นสิ่งหนือธรรมชาิและความเชือความคติขอมท ชาวดส้ยังมีการรักษาขนบะรรมเนียมประเพณีจาบรรพบุรุษอย่งเหนียวแน่น เช่น พิธีกรรมเกี่ยวกับการคิด การแต่งงานการัีกษรคนป่วย พิธีกามเกี่ยวกับการตาย และพิะีกรรมเกี่ยวกับการละเล่น ได้แก่ การเล่นลายกลอง การเล่นโส้ทั่งบั้ง ชาวดส้จะนำเอาดนตรีเข้าไปบรรเลงเป็นสวนประกอบพิะีกรรม
- เยอ หรือเผ่าเผอ อพยพย้ายถ่ินฐานมาจาก ประเทศจีน ตอบบนซึ่งไม่ทราบแน่ชัดว่ายเายมาก่อนหรือหลังสมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งคนเผ่าเยอ ย้ายมาถึงจังหวักศรีสะเกษ ตั้งด่ินฐานอยุ่ในอำเภอราษีโศล จ.ศรีสะเกษ
ต่อมาเกิดโรคระบาดจึงได้แบ่งออกเป็นปหลาย 4 ย้ยถ่ินที่อยุ่ใหม่ กลุ่มแรก เดินทางไปตั้งถ่ินฐานอยุ่ที่เมืองปราสาทเยอ ซึ่งในปัจจุบัน คือบ้านปราสาทเยอ ต้งอยุ่ใน อ.ไพร่บึง จ.ศรีสะเกษ กลุ่มที่ 2 ได้ย้ายไปตั้งถ่ินฐานใน อ. ทุมพรพิสัย และอ.ห้วยทับทัน ส่วนกลุ่มี่ 3 และกลุ่มที่ 4 อาศัยอยุ่ในอ.เมืองศรีสะเกษ จ.ศรีสะเกษ ในปัจจุบัน ชื่อหมู่ย้านว่า บ้านขมิ้น อยุ่ในต.อุทม อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ และบ้านโพนค้อ ต.โพนค้อ อ.เมืองศรีสะเกษ จ.ศรีสะเกษ มีภาษาที่มีเอกลัษณ์เแฑาะตัว ส่วนมากทุกๆ คำจะพูดกันเป็นเสียง สามัญ ในประโยคยอกเล่า แต่ในประโยคคำถาม พยางค์สุดท้ายจะเป็นเสียง ตรี หรือ จัตวา
ในปัจจุบัน ภาษาเยอได้เปลี่ยนไตชปตามยุคสมัย และกลายเป็นภาษาเยอสมัยใหา เช่น จะมีบางคำที่เป็นภาษาไทยบ้างเช่น ฮัวใ(หัวใจป ภาษาอีสานบ้าง แลภาษาที่เรยกสิ่งของที่ไมีเคยมีมา สมัยโบราณ
วัฒนธรรม ภารแต่งตัวของชาวเผ่าเผอ ในดั้งเดิม ผุ้ชายใส่เชิ้ตไม่มีคอปก สีกรม่่า กางเกงขายาวสีกรมท่า และมีผ้าขาวม้ามัดเอว ผุ้หญิง ใส่เสสื้อสีดำเทา ใส่ผ้าไหม สีดำ และสีกรมท่าหรือสีอื่นๆ และมีผ้าไหมพาดผ่านไหล่ซ้ายลงไปบรรจบกัน บริวเณ เอวด้านขวา คนเผ่าเผอแม้ทุกคนจะมีผิวเหลืองขาวเหมือนจีน
คนเผ่าเอยชอบอยู่รวมกันเป็นกลุ่มๆ เห็นได้จากการปลูกบ้านเป็นกลุ่ม ลักษระของบ้านจะเป็นบ้านสองขั้น ใต้ถุ่นโล่งเพื่อใช้เลี้ยงควาย หรือวัว หลังคาจะทำจากฟางข้าว ผนังหรือกั้นหอ้งอจะเป็นไม่ไผ่สาน ซึ่งในปัจจุบันไม่มีให้เห็นแล้ว ส่วนเสาและพื้นบ้าน จะเป็นไม้เนื้องแข็งทั่วไป
- บรู เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาาากลุ่มตระกุลมอญ-เขมร อพยพมาจากประเทสลาวเนื่องจากถูกกดขี่แล้วทำงานหนัก อีกทั้งยังต้องเสียภาษีให้แก่ฝรั่งเศสจึงอพยพข้ามแม่น้ำโขงมาอยู่ที่ฝั่งไทยริมแ่น้ำโขงที่ย้านเวินบึก ย้านท่าล้ง และย้านหลองครก อ.โขงเจียม จ.อบลราชะานี
บ้านเวินบึก ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวบรุ ส่นใหญ่มีอาชพจักสานเครื่องใช้นครัวเรือนเช่น การสานหวด การจักตอก สานเสื่อเตย ทั้งสัตว์บกและสัตว์น้ำ ชาวบรูนิยมล่าหมุป่า อีเห็นนกตะกวด บ่าง กระต่าย งู และอื่นๆ เพื่อเป็นอาหาร
แต่ด้วยปัจจัยทางด้านเศราฐกิจทีุ่กคนต่างต้องอิ้นรนเพื่อความอยุ่รอดของปากท้องชาวบรูบ้านเวินบึกที่อยุ่ในวัยแรงงานก็อพยพไปทำงานต่างถ่ิน เมื่อไปอยู่ที่อื่นก็ต้องใช้ภาษาไทยกลางในการสื่อสารและเกิดความอายที่จะพูดภาษบรู จึงทำให้มีการพุดภาษาบรุลอน้อยลงแลยังมีการแต่งงานข้ามกลุ่มชาติพันธุ์เด็กที่เกิดมาเป็นลุกผสม คือ ผสมระหว่างคนบรูกับคนลาวบ้างคนบรูกับคนไทยย้าง พื่อแม่ไม่ได้พาลูกพูดภาษาบรู เด็กจึงพูดภาษาบรูไม่ได้
- ชาวซำเร เป็นกลุ่มชนเดียวกับกลุ่มมอญ-เขมร ชนกลุ่มนี้จะอาศัยอยุ่ในป่าทางภาคตะวันออก พบในเขต อ.บ่อไปร จ.ตราด ปัจจุบันมีคนพูดภาษาดั้งเดิมของตนได้ไม่มาก นอกจากนี้ ยงพาวซำเรในจ.ฉะเชิงเทรา แต่ในปัจจุบันพูดภาาาดั้งเดิมไม่ได้แล้วและเชื่อกันว่า คำว่าสำเหร่ ก็น่าจะมาจากชนกลุ่มนี้ ซึ่งถุกกวาดต้อนมาจากกัมพูชาตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์
- กะวอง เป็นชื่อกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มหนึ่งที่ตั้งถ่ินฐานอยุ่มากที่ บ้านคลองแสง ม.3 ต. ด่านชุมพล อ.บ่อไร่ จ.ตราด โดยเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 70 ของคนในปมุ่บ้า ชาวกะซองส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกาตรกรรม บางส่วนยังใช้ชีวิตผูกพันอยู่กับป่า เช่น เก็บหารของป่า ได้แก่ ผลไม้ป่า ผักป่า เห็น สุนไพร มากินหรือขายเพื่อหาเลี้ยงครอบครัว
ชาวกระซองมีวัฒนธรรมและภาษาพุดเป็นของตนเอง แต่ทว่าสถานการณืทางภาษาของชาวกะซองนั้นอยุ่ในภาวะวิกฤตขั้นสุดท้าย มีการใช้ภาษากะซองอยุ่น้อยมาก จำนวนคนพุดได้อยู่ในหลักสิบเท่านันและผู้ที่พูดได้นั้นล้วนอยู่ในวัยอาวุโส อายุมากว่า 60 ปีขึ้นไป ด้วยปรากฎการณ์เช่นนี้จึงทำให้คาดเดาถึงแนวโน้มต่อไปในอนาคตของภาษากะซองได้ว่าความวิกฤตของภาษาอาจทวีความรุนแรงมากขึ้น แลอาจสูญหายไปได้หากไม่มีการสืบทอดอย่างจริงจังดดยสาเหตุหลักที่ทำให้ภาษากระซองขาดการสืบทอดก็เนื่องมาจากการับอิทธิพลด้านการสื่อสารจากสื่อระแสหลักได้แก่ ภาษาที่รอบข้าง สื่อจากวิทยุ
โทรทัศน์ ดดยมิได้ทันระวังว่าภาษาของพรรพชนจะถูกกลนกลายไปกับกระแสเหล่านั้น อีกทั้งภาษากะซองมีแต่ภาษาพุด ไม่มีตัวหนังสือ ทำให้ไม่มีเครื่องมือทีจะบันทึกและถ่ายทอด ไม่รู้วิธีถ่ายทอดภาษาที่ถูกต้อง...(http://thailandethnic.m-society.go.th/..กลุ่มชาติพันธุ์ในภาาอาสดตรเอเชียติก)
- มลาบุรี หรือผีตองเหลือง ผีตองเหือง เป็นชื่อของชนเผ่าหนึ่งที่มีลักษระเป็นคนป่า มักร่อนเร่อยุ่ตามป่าลึก คำว่าผีตองเหลือง เป็น ชื่อที่คนกลุ่มอื่นเรียกชนเผ่านี้โดยเรียกตามวัสดุที่ใช้มุงหลังคา คือ
ใบตอง เมื่อใบไม้ใบตองที่มุงหลังคาหรือทำเป็นซุ้ม เปลี่ยนเป็นสีเหลืองแล้วคนเหล่านี้ก็จะย้ายไปอยุ่ที่อื่นต่อไป ชาวออสเตรียสำรวจพบ ผีตองเหลือง เมื่อ พ.ศ.2479 ในดงทึบเขต จ.น่าน คนหลุ่มนี้เรียกตัวเองว่า "ยำบรี" สันนิษฐานว่าเป็นพวกกับ ผีตองเหลือง ที่คณะสำรวจของสยามสมาคมซึ่งมี นายไกรศรี นิมมานเหมินท์ เป็นหัวหน้าค้นพบเมื่องวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2505 ครั้งนั้นนาย ไกรศรี นิมมานเหมินท์ ว่าชนกลุ่มนี้เรียกตัวเองว่า "มระบรี" ทำเพิงอาศัยอยู่ที่ริมห้วยน้ำท่า ทางตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัดน่าน ก่อนนี้ มีรายงานว่าชาวแม้วและชาวมูเซอที่ดอยเวยงผา อ. พร้าว จ.เชียงใหม่ ได้พบ ผีตองเหลือ ในเขตของตนแลเว่าพวกนี้พุดภาษาว้ากับเรียกตนเองว่า "โพล" การที่เรียกตัวเองว่ "มระบรี มราบรี" เพราะคำนี้แปลว่าคนป่า "มรา" แปลว่า คน "บรี" แปลว่า ป่า
กล่าวกนว่าผีตองเหลือเป็นชนหนึ่งที่มีถ่ินฐานเดิมอยุ่ในเขตจังหวัดไชยะบุรี ประเทศลาว ปัจจุบันอาศัยอยุ่ตามภาคเหนือของประเทศไทย รูปร่างเล็กแต่แข็งแรง บ้างว่าเหมือนคนทางภาคเหนือของประเทศไทยแต่ผิวคล้ำกว่า เครื่องนุ่งห่มมีแต่ผ้าเดี่ยวผืนเดียวผืนเดียวและผ้านุ่งนี้จะใช้ก็ต่อเมื่อจำเป็น ต้องเข้ามาในหมู่บ้านเพื่อเอาของป่ามาแลกกับข้าวสาร เหลือและของใข้ที่จำเป็น เช่น มีดหรือหอกเเท่านั เพราะโดยปกติหากอยู่ในกลุ่มพวกพ้องพวกเขาจะเปลือยกาย
นอกจากนี้ ผีตองเหลือง คล้าย กับเพิงหมาแหงนแต่ภายในไม่มีการยกพื้นและปลูกแครคร่อมดิน เหมือนพลิงหมาแหงนโดยทั่วไป ท้ายเพิงมักจะสูงกว่าหน้าเพิงพัก ใช่พื้นดินเป็นพื้นเพิงและนำหญ้าผางแห้งหรือใบตองมาปูบนพื้น เวลานอนจะไม่หนุนหมอนแต่ตะแคงหูแนบพื้น เพื่อให้สามารถได้ยินฝีเท้าคนเหรือสัตว์ที่เข้ามาใกช้เพิงพักได้ พวกผู้หญิงและเด็กจึงจะกลับไปกาลูกเมียครั้งหนึ่ง
- ละว้า เป้นชื่อที่คนทั่วไปใช้เรียกกลุ่มชาติพันธ์ที่เรียกตนเองว่า "ละเวือะ" และชาวล้านนาถือว่า ไลวะ และ ละว้า เป็นชนกลุ่มเดียวกัน ประกอบกับการที่ชาวละว้าอ้างถึงประวัติความเป้นมาของตน โดยใช้ ตำนานสุวัฒฒะคำแดง และพิธีกรรมในล้าานนาเป็นเครื่องสนับสนุนนั้นในเอกสารหรือที่ปรากฎในพิธีกรรมก็กล่าวว่า "ลวะ" ซึ่งนักวิชาการยุคหลัง มักเรรยกเป็น "ลัวะ"แต่เนื่องจากมีผุ้ศึกษาเรื่อง ละว้าไว้อย่างดีมีระบบ ในที่นี้จึงใตี่จะเสนอเรื่อง ละว้า ไว้เพ่ิมเติมจากเรื่อง ลวะ และเมื่อพิจารณาทางด้านภาษาแล้ว พวกละเวือะจัดอยูในกบุ่มภาษามอญ-เขมร สาขาย่อยปะหล่อง-ว้า ได้พบว่ามีผู้พูดภาษาละว้านี้อยุ่ในสองจังกวัด คือเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน
ปัจจุบันพบว่าชาวละว้า ตั้งถิ่นฐานอยุ่หนาแน่นในบริเวณหุบเขาแนวตะเข็บของจังหวัดเชียงใหม่และ แม่ฮ่องสอน และบางส่วนในเคลื่อยย้ายมาอยู่ในบริเวณที่ราบมากขึ้น ชาวว้าใช้ภาษาในตระกูลออสโตรเอเชียติคสายมอญ-เขมร โดยอยู่ในสาขาย่อยปะหล่อง-ว้า เป็นภาษาไม่มรระบเสียงวรรณยุกต์ มีหน่วยเสียงสระ 25 หน่วยเสียง ประกอบด้วยสระเดี่ยว 10 หน่วยเสียงและสระประสม 15 หน่วยเสียง และพบว่าชาวละว้ามีความเจริญทางภาษามากสามารถสร้างวรรณคดีเป็นมรดกทาง วัฒนธรรมได้ มีวรรณกรรมมุขปาฐะของตนเรียกว่า "ละซอมแล" ซึ่งสามารถแยกย่อยได้ถึง 7 ประเภทด้วยกัน
การแต่งกายของชาวละว้า สามารถจำแนกออกเป็นสองแบบ คือ การแต่างกายในชีวิตประจำวันและการแต่างกายใรพิธีกรรมในชีวิตประจำวันนั้น หญิงละว้าจะสวนเสื้อขาวแขนสั้นกุ๊นด้วยด้านสี สีพื้นของผ้านุ่งเป็นสีดำมีลายคั่นเป็นแถบในแนวนอน ลายนี้ได้จากการมัดลายขนาดต่างๆ ที่เชิงผ้าด้านล่างเป็นแถบใหญ่ซึ่งมักเป็นสีแดงหรือสีชมพูเหลือด้วยสี เหลือง ลายมัดนันเป็นสีน้ำเงินแชมขาว มี "ปอเต๊ะ" (ผ้าพันแขน) และ "ปอซวง" (ผ้าพันแข้ง) หญิงละว้าไว้ผมยาวทำเป็นมวยประดับด้วยปิ่นหรือขนเม่นและปล่อยปลายยาว ส่วยหญิงสูงอาญุนิยมมวยผมต่ำแต่ไม่ทิ้งปลายแบบหญิงสาว หญิงละว้านียมสร้อยเงินเม็ดและลูกปัดสีแดง สส้ม สีเหลืองหลายเส้นเป็น เครือ่งประดับ มีต่างหุ โดยเฉพาะนิมต่างหูไหมพรมสีเหลืองแดงหรือส้มยาวจนถึงไหล่ หญิงส่นใหญ่ "สกุลอง" คือกำไลฝ้ายเคลือบด้วยยางรักจำนวนหมายวง นอกจากนี้ยังมีกำไลแชนแลกำไลข้อมือทำด้วยเงินอีกด้วยเ เครื่องใช้ประจำของหญิงละว้าอายุมากกว่า 30 ปีขึ้นไปคือกล้องยาเส้นและยังนิยมสะพายย่อมเวลาเดิมทางอีกด้วย ส่วนชายละว้านิยมส่วมเสื้อยือ เสื้อเิช้ต กางเกงขายาวแบบคนพื้นราบทั่วไป แต่ส่วนใหญ่สะพายย่ามเป็นประจำ
ชาวละว้ามัตั้งถ่ินฐาน อยุ่ในบรเวิณหุบเขาที่สูงกว่าระดับน้ำะเลประมาณ 1,000 ฟุต มีที่นาและไร่ล้อมรอบในหมุ่บ้านอาจมีวัดหรือดบสถ์คริสเตียนหรือครอสตัง มี "เญียะยู" หรือหอผี ซึงบางหมุ่บย้านอาจมีสองหลังหรือมากกว่า แล้วแต่จำนวนตระกูลของคนในหมุ่บ้านนั้ บ้านแบบด้้งเดิมของชาวละว้าเป็นเรือนไม้ยกพื้นสุง มุงด้วยหญ้าคาคลุ่มเกือบถึงพื้นดิน ปูด้วยฝาไม้ไผ่ ใต้ถุนบ้านใช้เป็นคอกสัตว์และที่เก็บฟืน ด้านข้างเป็นที่ตั้งของครกกระเดือ่ง การปลูกบ้านจะไม่ให้แนวหลังคาบ้านขนานไปกับการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์ หน้าจั่วประดับด้วยกาแลทั้งสองด้านภายในย้าน มีห้องเดียว มีเตาไฟอยุ่ภายในห้อง มประตูปิดแน่นหนา แต่มประตูมีช่องไว้ให้ชายหนุ่มที่สนใจจะเข้าไปคุยกับสาวในเรือนได้ง่าย จึงนับว่าห้องในเรือนนี้เป็นห้องสารพัดประโยชน์ ครอบครัวที่ถือผีจะมีเครืองบูชาผีอตั้งอยุ่ที่มุมห้องทั้งหัวนอนและปลายเท้าสมาชิกในเรือนจะนอนในห้องเดียวกันทั้งหมด แต่หากบุตชายแต่งงานแล้วก็จะแบ่งห้องตั้งแผงเตี้ยๆ ขึ้นมาและมีเตาไฟในบริเวณนั้น หากบุตรชายแต่งานอีกคนก็จะตั้งแตาำฟเพิ่มที่นอกชาน และมื่อลูกชายที่แต่งงานแล้วมีความพร้อม ก็สมารถปลูกเรือนอยูเองได้
-โส้ หรือโซ หรือกระโซ่ เป็นคำที่เรียกชื่อชนกลุ่มหนึ่งที่อาศัยอยุ่ในภาคอีสาน ชาวดส้จะมัีลักษ
ระชาติพันธุ์ของมนุษย์ในกลุ่มมองโกลลอยด์ ตระกูลออสโตร-เอเซียติก มอญ-เขมรเป็นกลุ่มเดียวกับพวกแสก และกะเลิงจากันทึกกรมพระยาดำรงราชานุภาพเมื่อครั้งเสด็จตรวจรายชการที่มณฑลอุดรและมณพลอีสาน อธบายว่ากระโซ่ คือพวกข่าผิวคล้ำกว่าชาวเมืองอื่น มีภาษาพูดของตนเอง อาศัยอยุ่ในบรเวณมณฑลอุดร มีมากเป็นปึกแผ่นที่เมืองดุสุมาลย์มณฑลใน จ.สกลนคร นอกจากนี้พบว่ามีชาวโส้อาศัยกันเป็นกลุ่มๆ กระจายอยุ่ทั่วไป เช่น ทีอำเภอโพนสวรรค์ จ.นครพนม อ.เขาวง อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฒสินธุ์ อ.เมือง อ.ดน ตาล อ.คำชะอี อ.ดงหลวง จ.มุกดาหาร ชาวโส้ เดิมมีถ่อนอาศัยอยุ่บริเวณภาคกลางของสาะารณรับประชาธิปไตยประชาชนลาว อาศียกระจัดกระจายในเขตการปกครองของเมืองภูวดลสอางค์ หรือเมืองภูวนากรแด้ง เมื่อสมัียขึนกับราชอาณาจักรไทย ชา ชาวโส้อาศยอยุ่ในเมือง พิณ เมืองนองเมืองวัง - อ่างคำ และมืองตะโปรน ชาวดส้ เป็นกลุ่มชนที่มีความเชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธ์ทั้งที่เป็นสิ่งหนือธรรมชาิและความเชือความคติขอมท ชาวดส้ยังมีการรักษาขนบะรรมเนียมประเพณีจาบรรพบุรุษอย่งเหนียวแน่น เช่น พิธีกรรมเกี่ยวกับการคิด การแต่งงานการัีกษรคนป่วย พิธีกามเกี่ยวกับการตาย และพิะีกรรมเกี่ยวกับการละเล่น ได้แก่ การเล่นลายกลอง การเล่นโส้ทั่งบั้ง ชาวดส้จะนำเอาดนตรีเข้าไปบรรเลงเป็นสวนประกอบพิะีกรรม
- เยอ หรือเผ่าเผอ อพยพย้ายถ่ินฐานมาจาก ประเทศจีน ตอบบนซึ่งไม่ทราบแน่ชัดว่ายเายมาก่อนหรือหลังสมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งคนเผ่าเยอ ย้ายมาถึงจังหวักศรีสะเกษ ตั้งด่ินฐานอยุ่ในอำเภอราษีโศล จ.ศรีสะเกษ
ต่อมาเกิดโรคระบาดจึงได้แบ่งออกเป็นปหลาย 4 ย้ยถ่ินที่อยุ่ใหม่ กลุ่มแรก เดินทางไปตั้งถ่ินฐานอยุ่ที่เมืองปราสาทเยอ ซึ่งในปัจจุบัน คือบ้านปราสาทเยอ ต้งอยุ่ใน อ.ไพร่บึง จ.ศรีสะเกษ กลุ่มที่ 2 ได้ย้ายไปตั้งถ่ินฐานใน อ. ทุมพรพิสัย และอ.ห้วยทับทัน ส่วนกลุ่มี่ 3 และกลุ่มที่ 4 อาศัยอยุ่ในอ.เมืองศรีสะเกษ จ.ศรีสะเกษ ในปัจจุบัน ชื่อหมู่ย้านว่า บ้านขมิ้น อยุ่ในต.อุทม อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ และบ้านโพนค้อ ต.โพนค้อ อ.เมืองศรีสะเกษ จ.ศรีสะเกษ มีภาษาที่มีเอกลัษณ์เแฑาะตัว ส่วนมากทุกๆ คำจะพูดกันเป็นเสียง สามัญ ในประโยคยอกเล่า แต่ในประโยคคำถาม พยางค์สุดท้ายจะเป็นเสียง ตรี หรือ จัตวา
ในปัจจุบัน ภาษาเยอได้เปลี่ยนไตชปตามยุคสมัย และกลายเป็นภาษาเยอสมัยใหา เช่น จะมีบางคำที่เป็นภาษาไทยบ้างเช่น ฮัวใ(หัวใจป ภาษาอีสานบ้าง แลภาษาที่เรยกสิ่งของที่ไมีเคยมีมา สมัยโบราณ
วัฒนธรรม ภารแต่งตัวของชาวเผ่าเผอ ในดั้งเดิม ผุ้ชายใส่เชิ้ตไม่มีคอปก สีกรม่่า กางเกงขายาวสีกรมท่า และมีผ้าขาวม้ามัดเอว ผุ้หญิง ใส่เสสื้อสีดำเทา ใส่ผ้าไหม สีดำ และสีกรมท่าหรือสีอื่นๆ และมีผ้าไหมพาดผ่านไหล่ซ้ายลงไปบรรจบกัน บริวเณ เอวด้านขวา คนเผ่าเผอแม้ทุกคนจะมีผิวเหลืองขาวเหมือนจีน
คนเผ่าเอยชอบอยู่รวมกันเป็นกลุ่มๆ เห็นได้จากการปลูกบ้านเป็นกลุ่ม ลักษระของบ้านจะเป็นบ้านสองขั้น ใต้ถุ่นโล่งเพื่อใช้เลี้ยงควาย หรือวัว หลังคาจะทำจากฟางข้าว ผนังหรือกั้นหอ้งอจะเป็นไม่ไผ่สาน ซึ่งในปัจจุบันไม่มีให้เห็นแล้ว ส่วนเสาและพื้นบ้าน จะเป็นไม้เนื้องแข็งทั่วไป
- บรู เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาาากลุ่มตระกุลมอญ-เขมร อพยพมาจากประเทสลาวเนื่องจากถูกกดขี่แล้วทำงานหนัก อีกทั้งยังต้องเสียภาษีให้แก่ฝรั่งเศสจึงอพยพข้ามแม่น้ำโขงมาอยู่ที่ฝั่งไทยริมแ่น้ำโขงที่ย้านเวินบึก ย้านท่าล้ง และย้านหลองครก อ.โขงเจียม จ.อบลราชะานี
บ้านเวินบึก ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวบรุ ส่นใหญ่มีอาชพจักสานเครื่องใช้นครัวเรือนเช่น การสานหวด การจักตอก สานเสื่อเตย ทั้งสัตว์บกและสัตว์น้ำ ชาวบรูนิยมล่าหมุป่า อีเห็นนกตะกวด บ่าง กระต่าย งู และอื่นๆ เพื่อเป็นอาหาร
แต่ด้วยปัจจัยทางด้านเศราฐกิจทีุ่กคนต่างต้องอิ้นรนเพื่อความอยุ่รอดของปากท้องชาวบรูบ้านเวินบึกที่อยุ่ในวัยแรงงานก็อพยพไปทำงานต่างถ่ิน เมื่อไปอยู่ที่อื่นก็ต้องใช้ภาษาไทยกลางในการสื่อสารและเกิดความอายที่จะพูดภาษบรู จึงทำให้มีการพุดภาษาบรุลอน้อยลงแลยังมีการแต่งงานข้ามกลุ่มชาติพันธุ์เด็กที่เกิดมาเป็นลุกผสม คือ ผสมระหว่างคนบรูกับคนลาวบ้างคนบรูกับคนไทยย้าง พื่อแม่ไม่ได้พาลูกพูดภาษาบรู เด็กจึงพูดภาษาบรูไม่ได้
- ชาวซำเร เป็นกลุ่มชนเดียวกับกลุ่มมอญ-เขมร ชนกลุ่มนี้จะอาศัยอยุ่ในป่าทางภาคตะวันออก พบในเขต อ.บ่อไปร จ.ตราด ปัจจุบันมีคนพูดภาษาดั้งเดิมของตนได้ไม่มาก นอกจากนี้ ยงพาวซำเรในจ.ฉะเชิงเทรา แต่ในปัจจุบันพูดภาาาดั้งเดิมไม่ได้แล้วและเชื่อกันว่า คำว่าสำเหร่ ก็น่าจะมาจากชนกลุ่มนี้ ซึ่งถุกกวาดต้อนมาจากกัมพูชาตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์
- กะวอง เป็นชื่อกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มหนึ่งที่ตั้งถ่ินฐานอยุ่มากที่ บ้านคลองแสง ม.3 ต. ด่านชุมพล อ.บ่อไร่ จ.ตราด โดยเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 70 ของคนในปมุ่บ้า ชาวกะซองส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกาตรกรรม บางส่วนยังใช้ชีวิตผูกพันอยู่กับป่า เช่น เก็บหารของป่า ได้แก่ ผลไม้ป่า ผักป่า เห็น สุนไพร มากินหรือขายเพื่อหาเลี้ยงครอบครัว
ชาวกระซองมีวัฒนธรรมและภาษาพุดเป็นของตนเอง แต่ทว่าสถานการณืทางภาษาของชาวกะซองนั้นอยุ่ในภาวะวิกฤตขั้นสุดท้าย มีการใช้ภาษากะซองอยุ่น้อยมาก จำนวนคนพุดได้อยู่ในหลักสิบเท่านันและผู้ที่พูดได้นั้นล้วนอยู่ในวัยอาวุโส อายุมากว่า 60 ปีขึ้นไป ด้วยปรากฎการณ์เช่นนี้จึงทำให้คาดเดาถึงแนวโน้มต่อไปในอนาคตของภาษากะซองได้ว่าความวิกฤตของภาษาอาจทวีความรุนแรงมากขึ้น แลอาจสูญหายไปได้หากไม่มีการสืบทอดอย่างจริงจังดดยสาเหตุหลักที่ทำให้ภาษากระซองขาดการสืบทอดก็เนื่องมาจากการับอิทธิพลด้านการสื่อสารจากสื่อระแสหลักได้แก่ ภาษาที่รอบข้าง สื่อจากวิทยุ
โทรทัศน์ ดดยมิได้ทันระวังว่าภาษาของพรรพชนจะถูกกลนกลายไปกับกระแสเหล่านั้น อีกทั้งภาษากะซองมีแต่ภาษาพุด ไม่มีตัวหนังสือ ทำให้ไม่มีเครื่องมือทีจะบันทึกและถ่ายทอด ไม่รู้วิธีถ่ายทอดภาษาที่ถูกต้อง...(http://thailandethnic.m-society.go.th/..กลุ่มชาติพันธุ์ในภาาอาสดตรเอเชียติก)
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...