วันอาทิตย์ที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2560

Austro-Asiatic languages II

           มอญ เป็นชนชาติที่มีความรุ่งเรืองมากที่สุดชาติหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อารยธรรมและภาษาเป็นของตนเองมาแต่โบราณ อาณาจักรมอญตั้งบริเวณฝั่งตะวันออกของแม่น้ำอิระวดี ซึ่งปัจจุบันอยู่ในเขตพม่าตอนล่าง ในช่วงเวลา 700 ปีของอาณาจักรมอญมักจะมีแต่ความไม่สงบเกิดขึ้นอยุ่ตลอดเวลาเป็นเหตุให้อาณาจักรมอญต้องล่มสลายลง ครมอญบางส่วนได้อพยพหนีมาสู่ประเทศไทย โดยมักจะตั้งหลักแหล่งบริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยาและลุ่มน้ำแม่กลอง ซึ่งเป็นที่อุดมสมบูรณืโดยมอญลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่อำเภอปากเกร็ด จ.นนทบุรี อ.สมโคก จ.ปทุมธานี อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการมอญลุ่มน้ำแม่กลองตั้งถิ่นฐานอยุ่ในเขตอำเภอบ้านโป่งและอำเภอโพธารามทั้งสองั่ง นอกจากนี้ยังอาจพบมอญซึ่งกระจัดกระจายอยุ่ในจังหวัดต่างๆ เช่น จังหวัดลพบุรี เพชรบุรี ครปฐม สมุทรสงคราม อยุธยา สพรรณบุรี ฉะเชิงเทรา และปราจีนบุรี ทุกวันนี้มีชาวมอญที่อาหสัยอยุ่ในประเทศไทยประมาณ 70,000 คน
           คนมอญส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม เมื่อชุมชนไ้รับการพัฒนา มชีวิตที่สะดวกสบายวันนี้เปลี่ยนแปลงไป มีผลกระทบมากที่สุดจนประเมินได้ว่าอยุ่ในขั้นวิกฤตคือ ภาษา เพราะเด็และเยาวชนมอญแทบทุกครัวเรือนไม่มีความสามารถในการสื่อสารกันด้วยภาษามอญ มอญรุ่นใหม่ ไม่เห็นความสำคัญของอัตลักษณ์ตนเอง ในชุมชนก็สื่อสารกันด้วยภาษามอญน้อยลง
           - มลาบุรี หรือผีตองเหลือง ผีตองเหือง เป็นชื่อของชนเผ่าหนึ่งที่มีลักษระเป็นคนป่า มักร่อนเร่อยุ่ตามป่าลึก คำว่าผีตองเหลือง เป็น ชื่อที่คนกลุ่มอื่นเรียกชนเผ่านี้โดยเรียกตามวัสดุที่ใช้มุงหลังคา คือ
ใบตอง เมื่อใบไม้ใบตองที่มุงหลังคาหรือทำเป็นซุ้ม เปลี่ยนเป็นสีเหลืองแล้วคนเหล่านี้ก็จะย้ายไปอยุ่ที่อื่นต่อไป ชาวออสเตรียสำรวจพบ ผีตองเหลือง เมื่อ พ.ศ.2479  ในดงทึบเขต จ.น่าน คนหลุ่มนี้เรียกตัวเองว่า "ยำบรี" สันนิษฐานว่าเป็นพวกกับ ผีตองเหลือง ที่คณะสำรวจของสยามสมาคมซึ่งมี นายไกรศรี นิมมานเหมินท์ เป็นหัวหน้าค้นพบเมื่องวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2505 ครั้งนั้นนาย ไกรศรี นิมมานเหมินท์ ว่าชนกลุ่มนี้เรียกตัวเองว่า "มระบรี" ทำเพิงอาศัยอยู่ที่ริมห้วยน้ำท่า ทางตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัดน่าน ก่อนนี้ มีรายงานว่าชาวแม้วและชาวมูเซอที่ดอยเวยงผา อ. พร้าว จ.เชียงใหม่ ได้พบ ผีตองเหลือ ในเขตของตนแลเว่าพวกนี้พุดภาษาว้ากับเรียกตนเองว่า "โพล" การที่เรียกตัวเองว่ "มระบรี มราบรี" เพราะคำนี้แปลว่าคนป่า "มรา" แปลว่า คน "บรี" แปลว่า ป่า
            กล่าวกนว่าผีตองเหลือเป็นชนหนึ่งที่มีถ่ินฐานเดิมอยุ่ในเขตจังหวัดไชยะบุรี ประเทศลาว ปัจจุบันอาศัยอยุ่ตามภาคเหนือของประเทศไทย รูปร่างเล็กแต่แข็งแรง บ้างว่าเหมือนคนทางภาคเหนือของประเทศไทยแต่ผิวคล้ำกว่า เครื่องนุ่งห่มมีแต่ผ้าเดี่ยวผืนเดียวผืนเดียวและผ้านุ่งนี้จะใช้ก็ต่อเมื่อจำเป็น ต้องเข้ามาในหมู่บ้านเพื่อเอาของป่ามาแลกกับข้าวสาร เหลือและของใข้ที่จำเป็น เช่น มีดหรือหอกเเท่านั เพราะโดยปกติหากอยู่ในกลุ่มพวกพ้องพวกเขาจะเปลือยกาย
            นอกจากนี้ ผีตองเหลือง คล้าย กับเพิงหมาแหงนแต่ภายในไม่มีการยกพื้นและปลูกแครคร่อมดิน เหมือนพลิงหมาแหงนโดยทั่วไป ท้ายเพิงมักจะสูงกว่าหน้าเพิงพัก ใช่พื้นดินเป็นพื้นเพิงและนำหญ้าผางแห้งหรือใบตองมาปูบนพื้น เวลานอนจะไม่หนุนหมอนแต่ตะแคงหูแนบพื้น เพื่อให้สามารถได้ยินฝีเท้าคนเหรือสัตว์ที่เข้ามาใกช้เพิงพักได้ พวกผู้หญิงและเด็กจึงจะกลับไปกาลูกเมียครั้งหนึ่ง
         
- ละว้า เป้นชื่อที่คนทั่วไปใช้เรียกกลุ่มชาติพันธ์ที่เรียกตนเองว่า "ละเวือะ" และชาวล้านนาถือว่า ไลวะ และ ละว้า เป็นชนกลุ่มเดียวกัน ประกอบกับการที่ชาวละว้าอ้างถึงประวัติความเป้นมาของตน โดยใช้ ตำนานสุวัฒฒะคำแดง และพิธีกรรมในล้าานนาเป็นเครื่องสนับสนุนนั้นในเอกสารหรือที่ปรากฎในพิธีกรรมก็กล่าวว่า "ลวะ" ซึ่งนักวิชาการยุคหลัง มักเรรยกเป็น "ลัวะ"แต่เนื่องจากมีผุ้ศึกษาเรื่อง ละว้าไว้อย่างดีมีระบบ ในที่นี้จึงใตี่จะเสนอเรื่อง ละว้า ไว้เพ่ิมเติมจากเรื่อง ลวะ และเมื่อพิจารณาทางด้านภาษาแล้ว พวกละเวือะจัดอยูในกบุ่มภาษามอญ-เขมร สาขาย่อยปะหล่อง-ว้า ได้พบว่ามีผู้พูดภาษาละว้านี้อยุ่ในสองจังกวัด คือเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน
              ปัจจุบันพบว่าชาวละว้า ตั้งถิ่นฐานอยุ่หนาแน่นในบริเวณหุบเขาแนวตะเข็บของจังหวัดเชียงใหม่และ แม่ฮ่องสอน และบางส่วนในเคลื่อยย้ายมาอยู่ในบริเวณที่ราบมากขึ้น ชาวว้าใช้ภาษาในตระกูลออสโตรเอเชียติคสายมอญ-เขมร โดยอยู่ในสาขาย่อยปะหล่อง-ว้า เป็นภาษาไม่มรระบเสียงวรรณยุกต์ มีหน่วยเสียงสระ 25 หน่วยเสียง ประกอบด้วยสระเดี่ยว 10 หน่วยเสียงและสระประสม 15 หน่วยเสียง และพบว่าชาวละว้ามีความเจริญทางภาษามากสามารถสร้างวรรณคดีเป็นมรดกทาง วัฒนธรรมได้ มีวรรณกรรมมุขปาฐะของตนเรียกว่า "ละซอมแล" ซึ่งสามารถแยกย่อยได้ถึง 7 ประเภทด้วยกัน
             การแต่งกายของชาวละว้า สามารถจำแนกออกเป็นสองแบบ คือ การแต่างกายในชีวิตประจำวันและการแต่างกายใรพิธีกรรมในชีวิตประจำวันนั้น หญิงละว้าจะสวนเสื้อขาวแขนสั้นกุ๊นด้วยด้านสี สีพื้นของผ้านุ่งเป็นสีดำมีลายคั่นเป็นแถบในแนวนอน ลายนี้ได้จากการมัดลายขนาดต่างๆ ที่เชิงผ้าด้านล่างเป็นแถบใหญ่ซึ่งมักเป็นสีแดงหรือสีชมพูเหลือด้วยสี เหลือง ลายมัดนันเป็นสีน้ำเงินแชมขาว มี "ปอเต๊ะ" (ผ้าพันแขน) และ "ปอซวง" (ผ้าพันแข้ง) หญิงละว้าไว้ผมยาวทำเป็นมวยประดับด้วยปิ่นหรือขนเม่นและปล่อยปลายยาว ส่วยหญิงสูงอาญุนิยมมวยผมต่ำแต่ไม่ทิ้งปลายแบบหญิงสาว หญิงละว้านียมสร้อยเงินเม็ดและลูกปัดสีแดง สส้ม สีเหลืองหลายเส้นเป็น เครือ่งประดับ มีต่างหุ โดยเฉพาะนิมต่างหูไหมพรมสีเหลืองแดงหรือส้มยาวจนถึงไหล่ หญิงส่นใหญ่ "สกุลอง" คือกำไลฝ้ายเคลือบด้วยยางรักจำนวนหมายวง นอกจากนี้ยังมีกำไลแชนแลกำไลข้อมือทำด้วยเงินอีกด้วยเ เครื่องใช้ประจำของหญิงละว้าอายุมากกว่า 30 ปีขึ้นไปคือกล้องยาเส้นและยังนิยมสะพายย่อมเวลาเดิมทางอีกด้วย ส่วนชายละว้านิยมส่วมเสื้อยือ เสื้อเิช้ต กางเกงขายาวแบบคนพื้นราบทั่วไป แต่ส่วนใหญ่สะพายย่ามเป็นประจำ
            ชาวละว้ามัตั้งถ่ินฐาน อยุ่ในบรเวิณหุบเขาที่สูงกว่าระดับน้ำะเลประมาณ 1,000 ฟุต มีที่นาและไร่ล้อมรอบในหมุ่บ้านอาจมีวัดหรือดบสถ์คริสเตียนหรือครอสตัง มี "เญียะยู" หรือหอผี ซึงบางหมุ่บย้านอาจมีสองหลังหรือมากกว่า แล้วแต่จำนวนตระกูลของคนในหมุ่บ้านนั้ บ้านแบบด้้งเดิมของชาวละว้าเป็นเรือนไม้ยกพื้นสุง มุงด้วยหญ้าคาคลุ่มเกือบถึงพื้นดิน ปูด้วยฝาไม้ไผ่ ใต้ถุนบ้านใช้เป็นคอกสัตว์และที่เก็บฟืน ด้านข้างเป็นที่ตั้งของครกกระเดือ่ง การปลูกบ้านจะไม่ให้แนวหลังคาบ้านขนานไปกับการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์ หน้าจั่วประดับด้วยกาแลทั้งสองด้านภายในย้าน มีห้องเดียว มีเตาไฟอยุ่ภายในห้อง มประตูปิดแน่นหนา แต่มประตูมีช่องไว้ให้ชายหนุ่มที่สนใจจะเข้าไปคุยกับสาวในเรือนได้ง่าย จึงนับว่าห้องในเรือนนี้เป็นห้องสารพัดประโยชน์ ครอบครัวที่ถือผีจะมีเครืองบูชาผีอตั้งอยุ่ที่มุมห้องทั้งหัวนอนและปลายเท้าสมาชิกในเรือนจะนอนในห้องเดียวกันทั้งหมด แต่หากบุตชายแต่งงานแล้วก็จะแบ่งห้องตั้งแผงเตี้ยๆ ขึ้นมาและมีเตาไฟในบริเวณนั้น หากบุตรชายแต่งานอีกคนก็จะตั้งแตาำฟเพิ่มที่นอกชาน และมื่อลูกชายที่แต่งงานแล้วมีความพร้อม ก็สมารถปลูกเรือนอยูเองได้
              -โส้ หรือโซ หรือกระโซ่ เป็นคำที่เรียกชื่อชนกลุ่มหนึ่งที่อาศัยอยุ่ในภาคอีสาน ชาวดส้จะมัีลักษ
ระชาติพันธุ์ของมนุษย์ในกลุ่มมองโกลลอยด์ ตระกูลออสโตร-เอเซียติก มอญ-เขมรเป็นกลุ่มเดียวกับพวกแสก และกะเลิงจากันทึกกรมพระยาดำรงราชานุภาพเมื่อครั้งเสด็จตรวจรายชการที่มณฑลอุดรและมณพลอีสาน อธบายว่ากระโซ่ คือพวกข่าผิวคล้ำกว่าชาวเมืองอื่น มีภาษาพูดของตนเอง อาศัยอยุ่ในบรเวณมณฑลอุดร มีมากเป็นปึกแผ่นที่เมืองดุสุมาลย์มณฑลใน จ.สกลนคร นอกจากนี้พบว่ามีชาวโส้อาศัยกันเป็นกลุ่มๆ กระจายอยุ่ทั่วไป เช่น ทีอำเภอโพนสวรรค์ จ.นครพนม อ.เขาวง อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฒสินธุ์ อ.เมือง อ.ดน ตาล อ.คำชะอี อ.ดงหลวง จ.มุกดาหาร ชาวโส้ เดิมมีถ่อนอาศัยอยุ่บริเวณภาคกลางของสาะารณรับประชาธิปไตยประชาชนลาว อาศียกระจัดกระจายในเขตการปกครองของเมืองภูวดลสอางค์ หรือเมืองภูวนากรแด้ง เมื่อสมัียขึนกับราชอาณาจักรไทย ชา ชาวโส้อาศยอยุ่ในเมือง พิณ เมืองนองเมืองวัง - อ่างคำ และมืองตะโปรน ชาวดส้ เป็นกลุ่มชนที่มีความเชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธ์ทั้งที่เป็นสิ่งหนือธรรมชาิและความเชือความคติขอมท ชาวดส้ยังมีการรักษาขนบะรรมเนียมประเพณีจาบรรพบุรุษอย่งเหนียวแน่น เช่น พิธีกรรมเกี่ยวกับการคิด การแต่งงานการัีกษรคนป่วย พิธีกามเกี่ยวกับการตาย และพิะีกรรมเกี่ยวกับการละเล่น ได้แก่ การเล่นลายกลอง การเล่นโส้ทั่งบั้ง ชาวดส้จะนำเอาดนตรีเข้าไปบรรเลงเป็นสวนประกอบพิะีกรรม
           
- เยอ หรือเผ่าเผอ อพยพย้ายถ่ินฐานมาจาก ประเทศจีน ตอบบนซึ่งไม่ทราบแน่ชัดว่ายเายมาก่อนหรือหลังสมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งคนเผ่าเยอ ย้ายมาถึงจังหวักศรีสะเกษ ตั้งด่ินฐานอยุ่ในอำเภอราษีโศล จ.ศรีสะเกษ
              ต่อมาเกิดโรคระบาดจึงได้แบ่งออกเป็นปหลาย 4 ย้ยถ่ินที่อยุ่ใหม่ กลุ่มแรก เดินทางไปตั้งถ่ินฐานอยุ่ที่เมืองปราสาทเยอ ซึ่งในปัจจุบัน คือบ้านปราสาทเยอ ต้งอยุ่ใน อ.ไพร่บึง จ.ศรีสะเกษ กลุ่มที่ 2 ได้ย้ายไปตั้งถ่ินฐานใน อ. ทุมพรพิสัย และอ.ห้วยทับทัน ส่วนกลุ่มี่ 3 และกลุ่มที่ 4 อาศัยอยุ่ในอ.เมืองศรีสะเกษ จ.ศรีสะเกษ ในปัจจุบัน ชื่อหมู่ย้านว่า บ้านขมิ้น อยุ่ในต.อุทม อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ และบ้านโพนค้อ ต.โพนค้อ อ.เมืองศรีสะเกษ จ.ศรีสะเกษ มีภาษาที่มีเอกลัษณ์เแฑาะตัว ส่วนมากทุกๆ คำจะพูดกันเป็นเสียง สามัญ ในประโยคยอกเล่า แต่ในประโยคคำถาม พยางค์สุดท้ายจะเป็นเสียง ตรี หรือ จัตวา
            ในปัจจุบัน ภาษาเยอได้เปลี่ยนไตชปตามยุคสมัย และกลายเป็นภาษาเยอสมัยใหา เช่น จะมีบางคำที่เป็นภาษาไทยบ้างเช่น ฮัวใ(หัวใจป ภาษาอีสานบ้าง แลภาษาที่เรยกสิ่งของที่ไมีเคยมีมา สมัยโบราณ
            วัฒนธรรม ภารแต่งตัวของชาวเผ่าเผอ ในดั้งเดิม ผุ้ชายใส่เชิ้ตไม่มีคอปก สีกรม่่า กางเกงขายาวสีกรมท่า และมีผ้าขาวม้ามัดเอว ผุ้หญิง ใส่เสสื้อสีดำเทา ใส่ผ้าไหม สีดำ และสีกรมท่าหรือสีอื่นๆ และมีผ้าไหมพาดผ่านไหล่ซ้ายลงไปบรรจบกัน บริวเณ เอวด้านขวา คนเผ่าเผอแม้ทุกคนจะมีผิวเหลืองขาวเหมือนจีน
            คนเผ่าเอยชอบอยู่รวมกันเป็นกลุ่มๆ เห็นได้จากการปลูกบ้านเป็นกลุ่ม ลักษระของบ้านจะเป็นบ้านสองขั้น ใต้ถุ่นโล่งเพื่อใช้เลี้ยงควาย หรือวัว หลังคาจะทำจากฟางข้าว ผนังหรือกั้นหอ้งอจะเป็นไม่ไผ่สาน ซึ่งในปัจจุบันไม่มีให้เห็นแล้ว ส่วนเสาและพื้นบ้าน จะเป็นไม้เนื้องแข็งทั่วไป
             - บรู เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาาากลุ่มตระกุลมอญ-เขมร อพยพมาจากประเทสลาวเนื่องจากถูกกดขี่แล้วทำงานหนัก อีกทั้งยังต้องเสียภาษีให้แก่ฝรั่งเศสจึงอพยพข้ามแม่น้ำโขงมาอยู่ที่ฝั่งไทยริมแ่น้ำโขงที่ย้านเวินบึก ย้านท่าล้ง และย้านหลองครก อ.โขงเจียม จ.อบลราชะานี
               บ้านเวินบึก ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวบรุ ส่นใหญ่มีอาชพจักสานเครื่องใช้นครัวเรือนเช่น การสานหวด การจักตอก สานเสื่อเตย ทั้งสัตว์บกและสัตว์น้ำ ชาวบรูนิยมล่าหมุป่า อีเห็นนกตะกวด บ่าง กระต่าย งู และอื่นๆ เพื่อเป็นอาหาร
              แต่ด้วยปัจจัยทางด้านเศราฐกิจทีุ่กคนต่างต้องอิ้นรนเพื่อความอยุ่รอดของปากท้องชาวบรูบ้านเวินบึกที่อยุ่ในวัยแรงงานก็อพยพไปทำงานต่างถ่ิน เมื่อไปอยู่ที่อื่นก็ต้องใช้ภาษาไทยกลางในการสื่อสารและเกิดความอายที่จะพูดภาษบรู จึงทำให้มีการพุดภาษาบรุลอน้อยลงแลยังมีการแต่งงานข้ามกลุ่มชาติพันธุ์เด็กที่เกิดมาเป็นลุกผสม คือ ผสมระหว่างคนบรูกับคนลาวบ้างคนบรูกับคนไทยย้าง พื่อแม่ไม่ได้พาลูกพูดภาษาบรู เด็กจึงพูดภาษาบรูไม่ได้
                - ชาวซำเร เป็นกลุ่มชนเดียวกับกลุ่มมอญ-เขมร ชนกลุ่มนี้จะอาศัยอยุ่ในป่าทางภาคตะวันออก พบในเขต อ.บ่อไปร จ.ตราด ปัจจุบันมีคนพูดภาษาดั้งเดิมของตนได้ไม่มาก นอกจากนี้ ยงพาวซำเรในจ.ฉะเชิงเทรา แต่ในปัจจุบันพูดภาาาดั้งเดิมไม่ได้แล้วและเชื่อกันว่า คำว่าสำเหร่ ก็น่าจะมาจากชนกลุ่มนี้ ซึ่งถุกกวาดต้อนมาจากกัมพูชาตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์
           
 - กะวอง เป็นชื่อกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มหนึ่งที่ตั้งถ่ินฐานอยุ่มากที่ บ้านคลองแสง ม.3 ต. ด่านชุมพล อ.บ่อไร่ จ.ตราด โดยเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 70 ของคนในปมุ่บ้า ชาวกะซองส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกาตรกรรม บางส่วนยังใช้ชีวิตผูกพันอยู่กับป่า เช่น เก็บหารของป่า ได้แก่ ผลไม้ป่า ผักป่า เห็น สุนไพร มากินหรือขายเพื่อหาเลี้ยงครอบครัว
               ชาวกระซองมีวัฒนธรรมและภาษาพุดเป็นของตนเอง แต่ทว่าสถานการณืทางภาษาของชาวกะซองนั้นอยุ่ในภาวะวิกฤตขั้นสุดท้าย มีการใช้ภาษากะซองอยุ่น้อยมาก จำนวนคนพุดได้อยู่ในหลักสิบเท่านันและผู้ที่พูดได้นั้นล้วนอยู่ในวัยอาวุโส อายุมากว่า 60 ปีขึ้นไป ด้วยปรากฎการณ์เช่นนี้จึงทำให้คาดเดาถึงแนวโน้มต่อไปในอนาคตของภาษากะซองได้ว่าความวิกฤตของภาษาอาจทวีความรุนแรงมากขึ้น แลอาจสูญหายไปได้หากไม่มีการสืบทอดอย่างจริงจังดดยสาเหตุหลักที่ทำให้ภาษากระซองขาดการสืบทอดก็เนื่องมาจากการับอิทธิพลด้านการสื่อสารจากสื่อระแสหลักได้แก่ ภาษาที่รอบข้าง สื่อจากวิทยุ
โทรทัศน์ ดดยมิได้ทันระวังว่าภาษาของพรรพชนจะถูกกลนกลายไปกับกระแสเหล่านั้น อีกทั้งภาษากะซองมีแต่ภาษาพุด ไม่มีตัวหนังสือ ทำให้ไม่มีเครื่องมือทีจะบันทึกและถ่ายทอด ไม่รู้วิธีถ่ายทอดภาษาที่ถูกต้อง...(http://thailandethnic.m-society.go.th/..กลุ่มชาติพันธุ์ในภาาอาสดตรเอเชียติก)

 
           

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...