Austro-Asiatic languages : MON-KHMER : Vietic

           
กลุ่มภาษาเวียตติก หรือ กลุ่มภาษาเวียต-เหมื่อง เป็นสาขาของตระกูลออกโตรเอเชียติกซึ่งรวมภาษาเวียดนามและภาษาเหมือง ไว้ในกลุ่มนี้ ภาษาเวียดนามจัดอยุ่ในตระกูลออสโตรเอเชียติกซึ่งรวมภาาาเวียดนาม และภาษาเหมื่อง ไว้ในกลุ่มนี้ ภาษาเวียดนามจัดเขาอยุ่ในตระกูลออสโตรเอเชียติกเมื่อ พ.ศ. 2493 มีคำยืมจากภาษาจีนและกลุ่มภาษาไทมากจนปัจจุบันกลายเป็นภาษาคำโดดที่มีวรรณยุกต์คล้ายกับภาษาไทยหรือภาษาจีนสำเนียงทางใต้มากกว่าภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกอื่นๆ อย่างไรก็ตารูปแบบและความคล้ายคลึงทางสัทวิทยา ถือว่าใกล้เคียงกับภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก ภาษาในกลุ่มนี้เสียงวรรณยุกต์ ต่ำ 3 เสียง สุง 3 เสียง ซึ่งสัมพันธ์กับเียงก้อง ไม่ก้องของพยัญชนะต้นในภาาาดั้งเดิม และ้วเปลี่ยนแสียงดดยขึ้นกับเสียงตัวสะกด ระดับของวรรณยุกต์ ขึนกับวาเป็นพยางค์เปิดหรือปิดที่มีพยัญชนะเสียงนาสิกเป็นตัวสะกด
           - ภาษาเหมื่อง เป็นภษาของชาวเหมื่องในเวียดนาม มีผุ้พูดในเวียดนาม ล้านกว่าคน ส่วนใหญ่อยุ่ในเขตภูเขาทางภาคกล่างค่อนไปทางเหนือ ใกล้เคียงกับภาษาเวียดนาม อยุ่ในตระกุลภาาาอสดตรเอเชียติก กลุ่มภาษามาญ-เขมรน สาขาเหวียด-เหมื่อง สาขาย่อยเหมือง เขียนด้วยอักษาละติน มีวรรณยุกต์ 5 เสียง คำศัพท์ได้รับอิทธิพลจากภาษาจีนมาก
          - ภาษาเวียดนาม เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ และเป็นภาาาทางการของประเทศเวียดนาม เป็นภาษาแม่ของประชาการเวียดนามถึงร้อยละ 87 รวมถึงผู้อพยพจากเวียดนามประมาณ 2 ล้านคน และรวมถึงชาวเวียดนามอเมริกัน เป็นจำนวนพอสมควรด้วย ถึงแม้ว่าจะีการยือมคำศัพท์จากภาาาจีนและเดิมใช้อักษรจีนเขียน แต่นกภาษาศาสตร์ยังคงจัดภาษาเวียดนามให้เป็นภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก ซึ่งในกลุ่มนี้ภาษาเวียดนามมีผุ้พูดมากที่สุด ซึ่งมีสูงถึงสิบเท่าของภาษาเขมร ในด้านระบบการเขียนของภาษาเวยดนามนั้น แต่เดิมใช้ตัวเขียนจีน เรียกว่า "จื้อญอ" ต่อมาชาวเวียดนาใไ้พัฒนาตัวเขียนจีนเพื่อใช้เขียนภาษาเวียดนาม เรียกว่า ไจื้อโนม" แต่ในปัจจุบันเวียดนามใช้ตัวอักษรดรมันที่พัฒนาขั้นดดยมิชชันนารีชาวฝรั่งเศส ดดยเครื่องหมายเสริมสัทอักษรใช้เป็นวรรณยุกต์
         
  สำเนียงท้องถ่ิน มีหลากหลาย แต่ดดยมากถือว่มี 3 หลัก ดังนี้
                - เวียดนามตอนเหนือ ถิ่นฮานอย,ถิ่นอื่นทางเหนือ : ไฮฟอง และถิ่นระดับจังหวัดจำนวนมาก ชื่อในยุคอาณานิคมฝรั่งเศสคือ "ตังเกี๋ย"
                - เวียดนามตอนกลาง ถิ่นเว้, ถิ่นเหงะอาน,ถิ่นกว๋างนาม ชื่อในยุคอาณานิคมฝรั่งเศสคือ "อันนัมสูง"
                - เวียดนามตอนใต้ ถิ่นไซ่ง่อน, ถิ่นแม่น้ำโขง(ตะวันตกไกล) ชื่อในยุคอาณานิคมฝรั่งเศสคือ "โคชินไชนา"
             ภาษาถิ่นเหล่านี้มีน้ำเสียง การออกเสียง และบางครั้งก็มีคำศัพท์ที่แตกต่างไปบ้างแต่ภาษาถิ่นเฮว้จะมีคำศัพท์ท่แตกต่างค่อนข้างมาจากภาษาอถิ่นอื่นๆ วรรณยุกต์ "หอย" และ "หวา" มีความแตกต่า
ในภาคเหนือ แต่กลืนเป็นวรรยุกต์เดียวกันในภาคใต้ ส่วนพยัญชนะ ch และ tr นั้นจะออกเสียงแตกต่างกันในถิ่นใต้และกลาง แต่รวมเป็นเสียงเดียวในถิ่นเหนือ สำหรับความแตกต่างด้านไวยากรณืนั้นไม่ปรากฎ
             ระบบเสียง
             เสียงพญัญชนะ ในภาษาเวียดนามมีหน่วยเสียงตามตารางทางด้านล่าง โดยอักษรทางด้านซ้อยเป็นอักษรที่ใช้เขียนแทนหน่วยเสียงนั้นๆ ในภาษาเวียดนาม อักษรตรงกลางเป็นสัทอักษร และด้านขวานั้นเป็นอักษรไทยที่นิยมใช้ทับศัพท์ .
             เสียงสระ สูง กลางสูง กลางต่ำ และต่ำ แบ่งเป็น หน้า หลาง หลัง สระในภาษาเวียดนาน้น อกเสียงโดยมีวรรณยุกต์ภายใน โดยวรรณยุกต์มีความแตกต่างกันที่ ระดับเสียง ความยาว น้ำเสียงขึ้นลง ความหนักแน่น การออกเสียงคอหอย(ลักษณะเส้นเสียง) เครื่องหมายกำกับวรรณยุกต์ปกติจะเขียนเหนือหรือใต้สระ (ส่วนใหญ่เขียนไว้เหนือสระ แต่วรรณยุกต์หนั่ง เป็นจุดใต้สระ) วรรยุตก์มีทั้งหมด 6 ลักษณะในภาษาถิ่นเหนือ (รวมอานอยด้วย)
             เสียงวรรณยุกต์ นักภาษาศาสตร์ได้ศึกษาภาษาเวียดนามและจัดให้อยุ่ในภาษาตระกุลออสดตรเอเชียติก เช่นเดียวกับภาษาเขมร ซึ่งเป็ฯภาษาระบบคำสองพยางค์ และมีลักษระน้ำเสียง เป็นลักษระสำคัญของภาษา อีกทั้งเป็นภาษาที่มไ่มีระบบเสียง วรรณยุกต์ แต่ภาาเวียดนามปัจจุบันได้พัฒนาระบบเสียงวรรณยุตก์ขึ้นใช้ เนื่องจากอิทธิพลของภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์อันได้แก่ภาษาตระกุลไท ที่อยุ่โดยรอบและภาษาจีนที่เข้ามาปกครองเวียดนามในขณะนั้น
             ไวยกรณ์ ภาษาเวียดนามเป้ฯภาษรูปคำโดดเช่นเดียวกับภาษาจีนและภาษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อื่นๆ ไวยากรณ์เน้นที่การเรียงลำดับคำและดครงสร้างประดยคมากกว่าการผันคำ แสดงโดยการเพิ่มคำเช่นเดียวกับภาาาไท ภาาาเวียดนามเป็นภาษาคำโดด แต่ก้มีคำสองพยางค์อยุ่เป็นจำนวนมาก การเรียงคำในประโยคเป้นแบบประธาน-กริยา-กรรม
             กาล ปกติแล้วไม่จำเป็นต้องแสดง โดยทั่วไปจะมีคำแสดงกำกับไว้ทั้ง อดีต ปัจจุบันและอนาคร
             โครงสร้างแสดงหัวข้อ เป็นโครงสร้างประโยคที่สำคัญในภาษาเวียดนาม Toi đọc sách này rồi = ฉันอ่านหนังสือนี้แล้ว อาจเรียงประโยคใหม่เป็น Sách này thi toi đọc rồi = หนังสือนี้น่ะฉันอ่านแล้ว (thi เป็นตัวแสดงหัวข้อ) 
              ลักษณะนาม ภาาษเวียดนามีคำลักษระนามใช้แสดงลักษระของนามเช่นเดียวกับภษาไทยและภาษจีน
              คำสรรพนาม ในภาษาเวียดนามต่างจากภาษาอังกฤษ คือคำสรรพนามแต่ละคำไม่ได้ถูกแบ่งอย่างชัดเจนว่าเป็นบุรุษที่ 1 2 หรือ 3 ขึ้นกับผุ้พูดและผุ้ฟัง นอกจานั้นยังต้องระมัดระวังในการระบุความสัมพันธ์ทางสังคมซึ่งขึ้นกับอายุและเพศ
           
  การซ้ำคำ พบมาในภษาเวียดนามซึ่งเป็นการสร้างคำใหม่ ซึ่งมีความมหายต่างไปจากเดิม เช่นเป็นการลดหรือเพิ่มความเขมของคำคุณศัพท์
              คำศัพท์ ทางการเมืองและวิทยาศาสตร์โดยมากมาจากภาษาจีน กว่าร้อยละ 70 ของคำศัพท์มีรากศัพท์มาจากภาษาจีน คำประสมหลายคำเป้นการประสมระหว่างคำดั้งเดิมในภาษาเวียดนามกับคำยืมจากภาษาจีน ซึ่งคำเหล่านี้ปัจจุบันมักถูกแทนที่ด้วยคำเวยดนาม นอกจากนี้ยังมีคำยืมจากภาษาฝรั่งเศสและภาษาอังกฤษ
             ระบบการเขียน ก่อนที่ฝรั่งเศสจะเข้ามายังเวียดนามนั้น ภาษาเวียดนามมีระบบเขียนสอลปบบ  ซึ่งทั้งสองแบบก็มีที่มาจากอักษรจีนเช่นเดียวกัน
             - จื้อญอ หรือ ฮ้านตี คืออักษรจีนที่ใช้เขียนภาษาจีนโบราณ
             - จื้อโนม เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาเวียดนาม โดยนำอักษรจีนมาดัแปลงเล็กน้อย
              ปัจจุบันภาษาเวียดนามเขียนด้วยจื้อโกว๊กหงือ (ัอักษรของภาษาประจำชาติ) ซึ่งเป็นอักษรละตินที่เพิ่มเติมเครื่องหมายต่างๆ เข้ามาเพื่อให้มีอักษรเพียงพอที่จะใช้เขียนภาษาอักษรดังกลาวได้รับการคิดค้นขึ้นมาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 โดยอาเล็กซ็องดร์ เดอ รอด ซึ่งเป็นมิชชันนารีชาวฝรั่งเศสที่เข้ามเผยแผ่ศาสนา โดยมีรากฐานมาจากระบบที่มิชชันนารีชวโปรตุเกสคิดไว้ก่อนหน้สนั้นในระหว่างที่เวยดนามยังเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศสนั้น จือโกว๊กหวือได้เป็นอักษรราชการของอาณรานิคมซึ่งได้ทำให้อักษรดังกลาวเป็นที่แพร่หลายมากขึ้นเรื่อยๆ จื้อโกว๊กหงือหรือ ในปัจจุบันมีรุปแบบการเขียนที่อ้างอิงการออกเสียงของภาษาถิ่นเวียดนามกลาง ซึ่งสระและพยัญชนะท้ายจะคล้ายคลึงกับภาษาถิ่นเหนือส่วนพยัญชนะต้นจะคล้ายกับภาษาถิ่นใต้th.wikipedia.org/wiki/กลุ่มภาษาเวียตติก

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)