anthropology

              การศึกษากลุ่มคนตระกูลภาษามอญ-เขมร แนวคิดเกี่ยวกับชาติพันธุ์วรรณนา ชาติพันธุ์และเชื้อชาติ และวิธีแนวชาติพันธุ์วรรณา ซึ่งเป็นทฤษฎีหนึ่งที่ใช้ในการศึกษาทางมนุษยวิทยา ประกอบด้วย
              - การจำแนกชาติพันธ์ ด้วยรูปลักษระที่รเาสามารถมองเห็นได้ด้วยตาอย่างชัดเจนมีการจำแนาติพันธุ์มนุษย์ออกเป็นกลุ่มๆ ตามลักษณะสีผิว โดยพอจะสรุปได้ดังนี้
               ความพยายามจำแนกชาติพันู์ของมนุษย์เกิดขึ้นมานานตั้งแต่ปี 1350 ก่อนคริสต์ศักราชชาวอียิปต์โบราณแบ่งแยกคนออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ ชาวอียิปต์ มีผิวสีแดง ผิวเหลืองเป็นชาวตะวันออก ผิวขาวเป็นของคนจกทางเหนือ และทางทิศใต้ประกอบด้วยคนผิวสีดำ และจากกการประชุมขององค์การการศึกษาวิทยาศาสต์และวัฒนธรรม ของสหประชาชาติหรือยูเนสโก ได้จัดประชุมนักมานุษยวิทยากายภาพที่กรุงปารีส ในปี 1951 ได้เห็นพ้องต้องกันว่ากลุ่มชาติพันู์ของมนุษย์ในโลกนี้แบงออกเป็นกลุ่มใหญ่ 3 กลุ่ม
                 กลุ่มชาติพันธุ์ผิวขาว หรือพวกคอเคซอยด์ ส่วนใหญ่อาศัยอยุ่ในทวีปยุโรป ทำให้มีการกล่าวกันว่าเป็นชาวยุโรป ประกอบด้วย ชาวอารยัน เช่น พวกกรีก อินเดียตอนเหนือ, แฮมิตริก เช่น อียิปต์โบราณ, เซมิตริก เช่น บาบิโรน อาสซิเรีย อาจแบ่งย่อยเป็น กลุ่มนอร์ดิก กลุ่มแอลป์ และกลุ่มเมติเตอเรเนีย
                 กลุ่มชาติพันธุ์ผิวเหลือง ผิวเหนื้อของพวกนี้จะมสีเหลืองไปจนถึงคล้ำ ใบหน้าแบนกว้าง ดวงตาดำ บ้างก็มีตาสองชั้น บ้างก็ตาชั้นเดียว กลุ่มย่อยของพวกผิวเหลือง ได้แก่ มองโกลอยด์ อยู่ทางทิศตะวันออกเแียงเหนือ เช่น จีน ธิเบต มองโกเลีย, อินเดียแดง อยู่แถบทวีปอเมริกาทั้งตอนเหนือและตอใต้, เอสกิโม อยุ่แถบเหนือสุดของทวีปอเมริกา รัฐอลาสก้า และตอนเหนือของแคนาดา, มาลายัยน อยู่แถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น มลายู ไทย บาหลี
                 กลุ่มชาติพันธ์ผิวดำ ผิวเหนื้อของคนกลุ่มนี้มีสีน้ำตาลแก่ไปจนถึงคำคล้ำจมูกแบน ผมหยิก ริมฝีปากหนา โหนกค้ิวยื่นออกมา คางสั้น กลุ่มย่อยของพวกผิวดำ ได้แก่ แอฟริกา, ปิกมี่และคำผิวดำที่อาศัยตามเกาะต่างๆ มหาสุทรแปซิฟิก เช่น พวก ปาปัว นิวกีนีและเกาะมาเลนีเซีย
               ชาติพันธ์มนุษย์ การศึกษาเกี่ยวกับชาติพันธ์ุของมนุษย์ เช่นเรื่องที่เกี่ยวกับสีผิว มีสมมติฐานมากมายอาทิ การที่คนมีสีผิวต่างกันเป็นเพราะระดับของการปกป้องจากธรรมชาติไม่เท่ากัน และเสนอว่าการศึกษาวิิคราะห์โครงสร้างรวม คือการศึกษาวัฒนธรรมของสังคมไดๆ โดยนำโครงสร้างทุกส่วนมาวิเคราะห์ร่วมกันในทางเดียวกัน เพ่อความเข้าใจวัฒนธรรม สำหรับการศึกษาเชิงเปรียบเที่ยบ ถือเป็นศาสตร์ทางด้านการปฏิบัติโดยเชื่อว่าวัฒนธรรมถูกกำหนดให้มีรูปแบบต่างๆ กัน โดยชาติพันธุ์ ภููมิประเทศ ภูมิอากาศ และระบบการทำมาหากิน หรือ ระับของสัผิวมักสัมพันธ์โดยตรงกับภุมิอากาศรอบข้าง ดังจะเห็นได้ว่า คนผิวดำมักพบว่าพวกเขาอาศัยอยู่ในเขตร้อน และเขตที่มีความช ื้นสูงหรือบริเวณรัศมี 20 องศาเหนือจากเส้นศูนย์สูตรทั้งนี้เพราะผิวสีดำสามารถดูดซับควมร้อนจากแสงอาทิตย์ได้ดีกว่าอย่างไรก็ตามยังหาข้อยุติไม่ได้เพราะมีข้อดต้แย้งมากมาย
             
- ชาติพันธุ์วรรณาและการวิจัยแนวชาติพันธุ์วรรณนา  ชาติพันธุ์วรรณาเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับสังคม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี วิถีชีวิตของกลุ่มคนในสังคม โดยราชบัณฑิตสภาน ให้ความหมายว่า ชาติพันธุ์วรรณนา หมายถึง สาขาหนึ่งของมานุษยวิทยาวัฒนธรรม ที่มุ่งพินิจศึกษาวัฒนธรรมต่างๆ เชิงพรรณนาโดยเฉพาะอย่างยิ่งวัฒนธรรมของชนในระดับดั้งเดิม
                 ชาติพันธุ์วรรณนาเป็นวิธีวิจัยเชิงคุณภาพที่มุ่งการพรรณนา การตีความหมายของกลุ่มคนรวมถึงระบบางสังคม หรือทางวัฒนะรรม ที่ผู้ศึกษามีจุดมุ่งหมายเพื่อทำความเข้าใจแบบแผนพฤติกรรมทางสังคม วัฒนธรรม ขนบประเพณี รวมไปถึงวิถีชิวิตของกลุ่มคนในสังคมนั้นถ้าจะกล่าวถึงลักษระทั่วไปของการวิจัยแนวชาติพันธุ์วรรณนา  วิธีการวิจัยแนวชาติพันู์วรรณนา มีจุดมุ่งหมายเพื่อทำความเข้าใจพฤติกรรมของกลุ่มคนที่สามารถนำไปใช้หลายสาขาวิชา เช่น ศึกษาศาสตร์ สังคมวิทยา สุขภาพอนามัย เศรษฐศาสตร์ ค่านิยม ความเชื่อ ชนบประเพณีต่างๆ ผู้วิจัยจะใช้ประโยชน์จากข้อมุลทางวัฒนธรรม ในการอธิบายและตีความผลของการวิจัย ใช้การสังเกตแบบมีส่วนร่วม โยมีตัวผุ้วิจัยเป็นเครื่องมือหลักสำคัญในการเก็บข้อมูลและยังสมารถเก็บข้อมุลได้หลายแบบ เพื่อสร้างความถูกต้ง ความตรงประเด็นในเรื่องที่ศึกษา และความนาเชื่อถือของผลการศึกษา..
              - นิเวศวิทยาวัฒนธรรม ของ จูเลี่ยน สจ๊วต เป็นแนวคิดที่ ได้รับอิทธิพลมาจากแนวคิดของอัลเฟรด โครเบอร์ ในเรื่องเกี่ยวกับสิ่งแวดล้แมที่มีอิทธิพลต่อวิวัฒนาการของวัฒนธรรม สจ๊วต ได้ให้ความหมายของวัฒนธรรมว่า เป็นการศึกษาการปรับตัวหรือหาความสัมพันธ์ของวัฒนธรรมกัยส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาติเป็นการวิเคราะห์ระบบนิเวศวิทยากับสังคม เพ่อค้นหาลักษระเฉพาะของวัฒนธรรมแต่ละแห่งและได้เนนถึงความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมแต่ละแห่งด้วย และจากการศึกษาพบว่าสิ่งแวดล้อมมีผลต่อความแตกต่างในการปรับตัวของวัฒนธรรม วัมนธรรมจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างค่อยเป็นค่อยไปท่ามกลางปัจจัยหรือตัวแปรภายนอกมากมาย ซึ่งได้แก่สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาตินั่นเอง
              และได้เสนอว่า ปัจจัยต่างๆ มีกระบวนการที่เกี่ยวข้องต่การปรับตัวทางวัฒนธรรมสภาพแวดล้อมนั้นๆ ผลจากการที่มีวิวัฒนาการทางวัฒนธรรม เป็นตัวขับเคลื่อนให้มีการปรับตัวของสิ่งแวดล้อมโดยที่สิ่งแวดล้อมจะเป็นตัวก่อรูปให้เกดวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมซึ่งหมายความว่า ส่ิงมีชีวิตทั้งหมดในโลกไม่ว่าจะเป็นพืชหรือสัตว์ชนิดต่างๆ จะมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกันถือว่าเป็นลักษระทางกายภาพที่แต่ละส่วนจะมีความสัมพันธ์ต่อกัน ลักษระหล่านี้ถือเป้นสวยของหน่วยสงคมนั้น ๆและใช้วิธีการศึกษาทางนเวศวิทยาด้วยการค้นพบการปรับตัวของวัฒนธรรมมากกว่าการจัดการของมนุษย์ต่อปัจจัยต่างๆ ที่อยุ่ในระบบนิเวศและได้ให้ความสนใจต่อมุมองที่ว่า ถ้าหากหันมาศึกษาดุว่าวัฒนธรรมเป็นผลจากการปรับตัวทงสิ่งแวดล้อมได้อย่างไรนั้นเป็นเพราะมีส่ิงที่อยุ่เหนือธรรมชาติที่มีอยุ่ในระบบนิเวศหรือไม่ที่ยังไม่ได้พิสูจน์ว่า ปรกากฎการที่เหนือธรรมชาตินั้นเป็นผลมาจากปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม ซึ่งสิ่งมีชีิวิตที่แตกต่างกันนันจะเป้นแค่ลักษณะทางกายภาพ" เขาได้อธิบายถึงปัจจัยที่อยุ่เหนือะรรมชาติในแง่ของวัฒนธรรมว่ายังมีผลต่อทุกๆ สิ่งที่มีชีวิตที่อยู่ บนโลกและมีความสัมพันธ์ต่อกันเป็นเสมือนใยข่าย และได้ขยายความถึงส่ิงมีชีวิตที่ต่างไปจากมนุษย์ว่ามีเส้นทางในการปฏิสัมพันธ์กันเป็นใยข่ายในลักาณะสำคัญอยู่ 2 ลักษะ คือ
         
 1. มนุษย์มีการปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อม ดดยผ่านทางมิติทางวัฒนธรรมที่เป็นสิ่งเหนือะรรมชาติมากกว่าการปรับตัวผ่านทางพันธุุกรรม
             2. ใยข่ายสิ่งมีชีวิตเป็นส่วนที่มนุษย์มักเป็นผุ้แผ่ขยายใยข่ายภายในระบบหรือหน่วยทางสังคม
             นิเวศวิทยาวัฒนธรรมชี้ห้เห็นสองประเด็น คือ ปัญหาและวิะีการ คือปัญหาที่เกิดจากการปรับตัวของมนุษย์ในสังคม อันเป็นสวนหนึ่งทีทำให้ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมเกิดปัญหาตามมาภายหลังและเป็นตัวกำหนดพฤติกรรม หรืออาจยอมให้มีพฤติกรรมต่างๆ แสดงออกมาในลักษณะใด ลักษระหนึ่ง ปัญหาจากนิเวศวัฒนธรรมมัจะเป็นผลที่ตามมาภายหลัง ดดยที่ทุกสิ่งที่เป็นวัฒนธรรมจะแสดงหน้าที่ความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันทั้งในระดับ และชนิดของความสัมพันธ์ท่เกี่ยวโยงกันและจะไม่เป็นลักษระเดียวกันความสัมพันธ์ของสิ่งทั้งหลายจะมีความแตกต่างกันออกไปด้วย
              - ประวัติศาสตร์ เป็นวิธีหนึ่งที่ใช้ในการศึกษาทางมานุษยวิทยา ดดยได้มีการศึกษาทฤษฎีวิวัฒนากาาของมนุษยวิทยา ซึ่งพัมนามาจากแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับวิวัฒนาการทางชีวภาพของมนุษย์ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งศึกษาโดย ชาร์ล ดาร์วิน เนื่องจากมีความรุ้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์มาก่อน จึงมีความสนใจที่จะศึกษาค้นหาข้อเท็จจริงและการพิสูจน์ดดยไม่มีการสรุปเป็นกฎเกณฑ์ ต่อมาโบแอส ได้ศึกษาทางมานุษยวิทยาด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์สืบย้อนหลังเป็นส่วนใหญ่ เน้นวิวัฒนการผสมผสานกับการพิสุจน์ด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์ การศึกษาจึงเป็นการศึกษาโครงสร้างเนื้อหาสัมพันธ์รวมทั้งระบที่เรียกส่า Holitic
             
การศึกษาวัฒนธรรมหรือพฤติกรรมของมนุษย์หลีกไม่พ้นการสืบสวนย้อนหลังไปถึงในอดีต ในทุกสมัยมนุษย์ได้ผ่านขึ้นตอนและได้ละท้องผลแห่งการกระทำไว้ในอดีต การศึกษาอดีตสามารถนำมาอธิบายพฤติกรรมของมนุษย์ในสมัยปัจจุบันได้เป็นอย่างดี การศึกษาวัฒนธรรมโดยใช้วิะีทางประวัติศาสตร์ซึ่งเป็นการมองปัญหาย้อนหลัง เกี่ยวข้องกับกาลเวลาอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยงได้ การที่จะเข้าใจเหตุการณ์ในปัจจุบันนันจำเป็นต้องสืบสาวเหตุการณ์ย้อนไปข้างหลัง ย่ิ่งสืบย้อนหลังไประยะเวลาไกลจากปัจจุบันได้มากเท่าไรยิ่งจะเข้าใจปัจจุบันมากขึ้นเท่านั้น ถ้าเข้าใจปัจจุบันได้อย่งทะลุปรุโปร่งก็จะเป็นประดยชน์ต่อการวางแผนการล่วงหน้าได้สำหรับเหตุการณ์ในอนาคต ซึ่งเป็นการศึกษาอย่างต่อเนื่องเป็นลูกโซ่ของเหตุการณ์และเวลา มิติของเวลาที่เกี่ยวข้องกับการึกษาวัฒนธรรม ได้แก่การศึกษาเหตุการณ์ในช่วงเวลาเดียวกัน และในหลายช่วงเวลา
               วิธีการทางประวัติศาสตร์นั้น ศึกษาความเจริญเติบโตของวัฒนธรรมทั้งโดยตัวของมันเองประกอบกับสิ่งแวดล้อมที่มาจัดรุปแบบของวัฒนธรรมให้พัมนาและแตกต่างกันไปตามลักษระของท้องถ่ินและกาลเวลา การศึกษาประวัติศาสตร์จะทำให้รู้ว่าวัฒนธรรมของสังคมหนึ่ง เกิดมาจากในสังคมนั่นเอง หรือถูกหยิบยืมมาจากภายนอก และทำให้เข้าใจว่าวัฒนธรรมจะเป็นรูปแบบใดขึ้อยุ่กับมนุษย์และสิ่งแวดล้อมทางภูมิศาสตร์กำหนดเพียงปัจจัยเดียวไม่ถูกต้องและเห็นว่าวัฒนธรรมของคนแต่ละเผา ต่างภาษาจะทำให้วัฒนธรรมหลากหลายมากขึ้น และวิีการที่จะศึกษาความเป็นมาของวัฒนธรรมนั้นจะต้องใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์เท่านั้น
             - การแพร่กระจายทางวัฒนธรรม โดยอัลเฟรดคอร์เชอร์คอเบอร์ เสนอว่า วัฒนธรรมจะแพร่กระจายจากนุดศุนยกลางไปตามพื้นที่เท่าที่มันจะเป็นไปได้ในเขตภูมิศาสตร์เดี่ยวกัน และยุคสมัยใกล้เคียงกน จากแนวคิดนี้จะเห็นภาพของเขตวัฒนะรรมเป็นกลุ่มๆ ไป และแพร่กระจายไปถึงทุกที่ที่ไม่สามารถจะเดินทางไปได้ ดังนั้นรูปแบบการแพร่กระจายของสำนักอเมริกันจึงไม่ใช้เป็นรูปแบบวงกลมหลายวง วัฒนธรรมหนึ่งๆ จะแพร่กระจายไปยังงแหล่งอื่นๆ ได้ต้องยึดหลักว่ วัฒนะรรม คือ ความคิดและพฤติกรรม(ผลของความคิด) ที่ติดตัวบุคคล บุคคลไปถึงไหนวัฒนธรรมก็
ไปถึงนั่นดังนั้นกาแพร่กระจายของวัฒนธรรมจะขึ้นอยู่กับปัจจัย ดังนี้ หลักภูมิศาสตร์ ปัจจัยทางเศราฐกิจ ปัจจัยทางสังคม การคมนาคมขนส่งที่ดี การแพร่กระจายทางวัฒนธรรมตามแนวคิดของเขา จะเป็นไปได้มากว่าเท่าที่เป็นอยุ หรือการแพร่กระจายวัฒนะรรมจะเป็นไปได้มากก็ต่อเมื่อ เกิดในพื้นที่ต่อเนื่องกัน ไม่มีอุปสรรคทางภุมิศาสตร์ขวางกั้น มีปัจจัยอื่นๆ มาสนับสนุนโดยเฉพาะอย่างยิ่งทางเศราฐกิจ เพราะวัฒนธรรมคือพฤติกรรมที่ติดอยุ่กับตัวบุคคล บุคคลที่มีกำลังทางเศราฐกิจ และบุคคลที่มีความจำเป็นหรือมีเป้าหมายทางเศราฐกิจเท่าน้นจะสามารถเดินทางจากสถานที่ที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่หนึ่งได้
         
จากแนวคิดดังกล่าวเราจะเห็นเขตวัฒนะรรมของโลกเป็นกลุ่มๆ เช่น เขตวัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉีีงใต้ เขตวัฒนธรรมเอเชียใต้ สรุปคือ วิะีการศึกษาการแพร่กระจายทางวัฒนธรรมของ คอเบอร์ มีดังนี้ ใช้หลักภูมิศาสตร์ สืบย้อนด้วยประวัติศาสตร์ การขุดค้นทางโบราณคดี ดูวิวัฒนการของวัฒนธรรม เป็นการศึกษาเพ่อโุว่าวัฒนธรรมเติบโตมาอย่างไร...
         
             ( "ความสุขของผู้สุงอายุในบุญประเพณี 12 เดือน ของกลุ่มคนตระกุลภาษามอญ-เขมรในราชอาณาจักรไทยและราชอาณาจักรกัมพูชา". ดวงนภา ประเสริฐเมือง, วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัฒฑิต สาขาวิชายุทะศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค(อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง), มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์, พ.ศ. 2556.)
       
       

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)