Austro-Asiatic languages : MON-KHMER

         
กลุ่มภาษามอญ-เขมร เป็นกลุ่มของภาษาพื้นเมืองในแถบอินโดจีน อยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกเช่นเดียวกับ กลุ่มภาษามุนดาในอินเดีย การแบ่งกลุ่มย่อยของภาษาในกลุ่มนี้ เมื่อ พ.ศ. 2517 มีดังนี้
            - กลุ่มตะวันออกได้แก่ ภาษาเขมรที่ใช้พูดในกัมพุชา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย และภาคใต้ของเวียดนาม ราว 15-22 ล้านคน กลุ่มภาษาเบียริก ในภาคใต้ของกัมพุชา กลุ่มภาษาบะห์นาริก ในเวียดนาม กัมพุชาและลาว กลุ่มภาษากะตู ในลาวภาคกลางกลุ่มภาษาเวียดติกในเวียดนาม
            - กลุ่มเหนือ ได้แก่ภาษากาสีในรัฐเมฆาลัย อินเดีย กลุ่มภาษาปะหล่อง ในชายแดนจีน-พม่า และภาคเหนือของไทย กลุ่มภาษาขมุในลาวภาคเหนือ กลุ่มภาษาม้งในเวียดนามและจีน กลุ่มภาษาปยูในจีน
            - กลุ่มใต้ ได้แก่ กลุ่มภาษามอญในพม่าและไทย กลุ่มภาษาอัสเลียนในภาคใต้ของไทยและมาเลเซีย กลุ่มภาษานิโคบาร์ในหมุ่เกาะนิโคบาร์
            - กลุ่มที่จำแนกไม่ได้ ได้แก่ภาษาบูกัน บูซินชัว เกเมียฮัวและกวนฮัวในจีน
            กลุ่มตะวันออก..
            ภาษาเขมร เป็นหนึ่งในภาษาหลักของภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก และได้รับอิทธิพลมาจากภาษาสันสกฤต และภาษาบาลี พอสมควร ซึ่งอิทธิพลเหล่านี้ มาจากอิทธิพลของชาวเขมร ในขณะที่อิทธิพลเหล่านี้ มาจากอิทธิพลของศาสนาพุทธ และศาสนฮินดุ ต่อวันธรรมของชาวเขมร ในขณะที่อินธิพลอื่นๆ เช่น จากภาษาไทย ภาาาลาว และภาษาเวียดนาม เป็นผลมาจากการติดต่อกันทางด้านภาษาและความใกล้ชิดกันในทางภูมิศาสตร์ ภาษาเขมรเป็นภาาาที่ไม่มีวรรณยุกต์ ซึ่งแตกต่างจากประเทศเพื่อนบ้าน แต่ละพยางจะเร่ิมจ้อด้วยพญัชนะหรือพยัญชนะควบกล้ำ ตามด้วยเสียงสระ แต่ละพยางค์สามารจะมีเสียงพยัญชนะต่อไปนี้ลงท้าย เมื่อใช้เสียงสั้น จะต้องลงท้ายด้วพยัญชนะ
   ə ในภาษาพูด การงดออกเสียงบางเสียงในพยางค์แรกของคำสองพยางค์ทำให้ภาษาเขมรโดยเฉพาะภาษาพูกดลายเป็นคำพยางค์ครึ่ง คำต่างๆ สมารถประกอบด้วย 2 พยางค์ เต็มได้ คำมี่มี 3 พยางค์ ขึ้นไปส่วนใหญ่เป็นคำยือมมาจากภาษาบาลี สันสกฤต ฝรั่งเศส หรือ ภาษาอื่นๆ 
โครงสร้างของคำในภาษาเขมรที่มีมากที่สุดเป็นพยางค์เต็มตามที่อะบายไว้ข้งบน ต่อหน้าด้วยพยงค์สั้นที่มีโครงสร้าง CV-, C)V,CVN- หรือ C(VN- ( C เป็นพยัญชนะ V เป็นสระ N เป็น m/ม, n/น,(หรือ)/ง) สระในพยางค์สั้นเหล่านี้มักจะออกเสียงเป็น
     ภาษาถิ่นที่มีการแดงอย่างชัดเจนในบางกรณี มีข้อแตกต่างที่สังเกตเห็นได้ระหว่างคนพูจากเมือง พนมเปญ (เมืองหลวง) และเมืองพระตะบองในชนบท โดยภาษาเขมรจะแบ่งเป็นภาษาถิ่นได้ 5 ถิ่น ได้แก่ 
     - สำเนียงพระตะบอง พูดทงแถบภาคเหนือของประเทกัมพูชา
     - สำเนียงพนมเปญ เป็นสำเนียงกลางของกัมพูชาเช่นเดียวกับสำเนียงกรุงเทพฯของไทย ดดยจะพูดในพนมเปญและจังหวัดโดยรอบเท่านั้น
     - สำเนียงเขมรกรอม หรือ ภาษาเขมรถิ่นจันทบุรี ถือเป็นภาษถ่ินที่มช้พุดทางภาษาตะวันตกของประเทศกัมพูชาบริเวณทิวเขาบรรทัด มีผู้ใช้จำนวนน้อย
      ลักษระขงอสำเนียงในพนมเปญ คือการออกเสียงอย่งไม่เคร่งครัด โดยที่บางส่วนของคำจะนำมาราวมกัน หรือตัดออกไปเลย เช่น "พนมเปญ" จะกลายเป็น "อืม.เปญ" อีกลักษระหนึ่งของสำเนียงในพนมเปญ ปรากฎในคำที่มีสีนง r/ร เป็นพยัญชนะที่ 2 ในพยางค์แรก กล่าวคือ จะไม่ออกเสียง r/ร ออกเปสียงพยัญชนะตัวแรกแข็งขคึ้นและจะอ่านให้มีระดับเสียงตก เช่นเดียวกับวรรณยุกต์เสียงโท ตัวอย่างเช่น "trej" "เตรย"แปลว่า "ปลา"  อ่านเป็น "เถ็ย" โดย d จะกลายเป็น t  และมีสระคล้ายเสียง "เอ" และเสียง สระจะสูงขึ้นป อีกตัวอย่งหนึ่งคือ คำว่า "ส้ม"ออกเสียงว่า kroic โกรจ ในชนบท ส่วนในเืองออเสียงเป็น koic โขจ
        ภาษาเขมรเขียนด้วย อังกรเชขมร และเลขเขมร (มีลักษระเหมือนเลขไทย) ใช้กันทั่วไป
มากกว่าเลขอารบิก ชาวเขมรได้รับตัวอักษรและตัวเลขจากอินเดียฝ่ายใต้ อักษรเขมรนั้นมีด้วยกัน 2 แบบ
         - อักษรเชรียง (อักซอเจรียง) หรืออักษรเอน หรืออักษรเฉียง เป็นตัวอักษรที่นิยมใช้ทั่วไป เดิมนั้นนิยมเขียนเป็นเส้นเอียง แต่ภายหลังเมื่อมีระบบการพิมพ์ ได้ประดิษญ์อักษรแบบเส้นตรงขึ้น แลมีช่ออีกอย่างว่า อักษรยืน(อักซอโฌ) อักษรเอนนี้เป็นตัวยาว มีเหลี่ยม เขียนง่าย ถือได้ว่าเป็นอักษรแบบหวัด
        - อักษรมูล หรืออักษรกลม เป็นอักษรที่ใช้เขยนบรรจง ตัวกว้างกว่าอักษรเชรียง นิยมใช้เขียนหลังสือธรรม เช่น คัมภีร์ในพระพุทธศาสนา หรือการเขียนหัวข้อ ที่้องการความโดดเด่น หรือการจารึกในที่สาธารณะ
        - เขียนภาษาเขมรด้วยอักษรโรมัน ในสมัยก่อน มีผุ้นิยมใช้เอักษรเขมรเขียนภาษาไทย หรือภาษาบาลี ด้วย เรียกอักษรอย่างนี้ว่า อักษรขอมไทย
       ภาษากาสี เป็นภาษากลุ่มออสโตรอเอเชียติกใช้พูดในรัฐเมฆาลัย ประเทศอินเดีย อยุ่ในสาขามอญ เขมร และใกล้เคียงกบภาาากลุ่มมุนดา ที่เป็นภาษาตระกูลออสโตรติกที่มีผุ้พูดในอินเดียกลาง ในรัฐเมฆาลัย กว่าแปดแสนคน  มีผุ้พูดบางส่วนในหุบเขาตามแนวชายแดนด้านรัฐอสสัมและในบังกลาเทศตามแนวชายแดนอินเดีย ภาษากาสีมีเรื่องเล่าพื้นบ้านมากมักเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับที่มาของชื่อต่างๆ ของภูเขาแม่น้ำ สัตว์และอื่นๆ th.wikipedia.org/wiki/กลุ่มภาษามอญ-เขมร
     นักภาษาศาสตร์จัดโครงสร้าภษามอญให้อยุ่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก กลุ่มภาษามอญ-เขมร พูดโดยชาวมอญ ที่อาศัยอยู่ในพม่า และไทย ภาษาตระกูลมอญ-เขมรมีการใช้มานานประมาณ 3,000-4,000 ปีมาแล้ว มีผุ้ใช้ภาษานี้อยุ่ประมาณ ห้าล้านคน
     การจัดตระกุลภาษา ถือว่าอยุ่ในตระกุลภาษาออสโตรเอเชียติก ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้อยุ่ในแถบอินโดจีนและทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย และเมื่อพิจารณาลักษระทางไวยากรณ์ ภาษามอย จัดอยุ่ในประเภทภาษารูปคำติดต่อ อยุ่ในกลุ่มภาษาตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งมีนักภาษาศาสตร์ ชือ วิลเฮล์ม ชิดท์ ได้จัดให้อยู่ในตระกูลภาษาสายใต้
     
พระยาอนุมานราชธน ได้กล่าวถึงภาษามอญไว้ว่า "ภาษามอญ นั้นมีลักษณะเป็นภาษาโดด ซึ่งมีรุปภาษาคำติดต่อปน ลักษระคำมอญ ะมัลักษระเป็นคำพยางค์เดียว หรือสองพยางค์ส่วนคำหลายพยางค์ เป็นคำที่ได้รับอิทธิพลจากภาษาต่างประเทศ ชิ่น ภาษาบาลีและสันสกฤต อาจกล่าวได้ว่ ภาษามอญ เป็นภาษาที่มีดครงสร้างไม่ซับซ้อน ไม่มีการผันคำนาม คำกริยา ตามกฎบังคับทางไวยากรณ์ ประโยคประกอบด้วยคำที่นทำหน้าประธาน หริยา และกรรรมส่วนขยายอยุ่หลังคำที่ถุกขยาย
     อักษรมอญ พัฒนามาจากอักษาพราหมี ผ่านทางอักษรรปัลลวะ และเป็นแม่แบบของอักษรอื่น เช่น อักษรพม่า อักษรไทย อักษรลาว อักษรล้านนา อักษรไทลื้อ อักษรธรรมที่ใช้เขียนคัมภีร์ในล้านนาและล้านช้างได้ปรดเข้าใจด้วยว่า อักษารพม่า ไม่สามารถใช้แทน อักษรมอบได้ แต่อักษรมอญนัเน สามารใช้แทน อักษรพม่าได้
     อักษรมอญโบาณพัฒนามาจากอักษรยุคหลังปลลวะ พบจารึกอักษรนีั้ในเขตหริภญชัย เช่นที่ เวียงมโน เวียงเถาะ รูปแบบของอักษรมอญต่างจากอักษรขอมที่พัฒนจากอักษรในอินเดียใต้รุ่นเดียวกันคือ อักษรมอญตัดบ่าอักษรออกไป ทำให้รูปอักษรค่อนข้าองกลาม ส่วนอักษรขอมเปลี่ยนบ่าาอักษรเป็นศกเหรือหมามเตยculture.mcru.ac.th/ebooks/research/research03.pdf

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)