วันอังคารที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2560

Bann hin tak

             "พิพิธภันณ์บ้านหินแตก" หรือฐานที่มั่นของกองกำลังขุนส่าในอดีต และยังคงหลงเหลือร่องรอยแห่งการต่อสุ้ที่ยาวนา แข็งแกร่ง มั่นคง และมีมนต์ขลัง เต็มไปด้วยกลิ่นอายของการต่อสู้ ที่ประากฎอยุ่ตามโรงเรือนฝึกทหาร โรงครัว คุกิดน สถานที่ประชุมก่อนปฏิบัติการแต่ละครั้ง รวมไปถึงบ้านพักของขุนส่าบนเนื้อที่ 12 ไร่ ณ สถานที่แห่งนี้เมื่ออดีตจะมีกองกำลังของขุนส่าประจำอยู่ 2,000 คนทุกๆ 6 เดือนจะมีกองกำลังผลัดใหม่จากพม่าผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนมาฝึกยุทธวิธี ก่อนจะกลับไปปฏิบัติการตามฐานที่มัี่นต่างๆ สถานที่ที่ครั้งหนึ่งเต็มไปด้วยผุ้คน มาบันนี้กลับว่างเปล่า มีเพียง "เครือเดือน ตุงคำ" นักวิจัยท้องถ่ินและเจ้าหน้าที่โครงการพัฒนาดอยตุง อยู่ดูแลในฐานะผู้เก็บรวบรวมข้อมุลเกี่ยวกบขุนส่าเอาไว้ในพิพิธภัณฑ์แห่งนี้
               ขุนส่า เกิดเมือ่วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2477 (1934) ที่บ้านผาผึ้ง ต.ดอยหม่อ อ อ.เมืองใหญ่ จ.ล่าเสี้ยวแคว้นแสนหวี (รัฐฉาน) เป็นบุตรของขุนอ้าย (จีน) กับนางแสงชุ่ม (ไทยใหญ่) ขุนอ้ายเป็นอดีตมะโยจา(กำนัน) ดอนหม่อ จึงมีคำนำหน้าว่า "ขุน" เครือเดือน อธิบายว่าหมายถึงคนที่สืบเื้อสายมาจากตระกูลชาวไทยใหญ่ ขุนส่าเกิดได้ไม่นานพ่อก็เสียชีวิต แม่แต่งงานใหม่ จงตกไปยุ่ในความดูแลของพ่อเลี้ยง
              ตอมา "ขุนยี่" ปู่ได้นำขุนส่าไปเลี้ยงที่เมืองดอยหม่อ ซึงเป้นช่วงที่เกิดสงครามโลครั้งที่ 2 เขาจึงได้รับการถ่ายทอดวิชาความรู้ ตั้งแต่รเื่องภาษาจีน การเลี้ยงม้า ผสมพันธืม้า ล่อ รวมไปถึการปลูกข้าว ไร่ชา ตลอดจนไร่ฝิ่น เมื่อโตเป้นหนุ่ม "ขุนจ่า" ผุ้เป็นอาได้สอนยุทธวิธีการต่อสู้และปรัชญาชีวิต "ยอมหักไม่ยอมงอ" เพื่อไม่ให้ถูกทหารญี่ป่นุ พม่า หรือแม้แต่ทหารก๊กมินตั้ง (เคเอ็มที) กองพล 93 รังแก แต่กระนั้นเขาก็ยังจำภาพความโหดร้ายเมื่อรั้งหมุ่บ้านถูกปล้นสะดมไ้ติดตา
              กระทั่งปี 2491-2505 พม่าได้รับเอกราชจากอังกฤษ ขุนส่าจึงรวบรวมสมัครพรรคพวกต่อต้านขับไล่ทหารก๊กมินตั้ง ที่เข้ามารุกรานชาวไทยใหญ่ โดยได้รับการสนับสนุนเรื่องค่าใช้จ่ายในการสู้รบจากการปลูกฝิ่นและขายฝิ่น จึงเป็นจุดเร่ิมต้นที่ทำให้ช่อของขุนส่าก้าวขึ้รมาอยู่แถวหน้าของขบวนการปลดแอกไทยใหญ่
              "กองกำลังเขาเเข็งแกร่งขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อทางการพม่าต้องการตอบโต้ทหารก๊กมินตั๋งจึงจับมือกับขบวนการปดแอกไทยใหญ่ใช้ชื่อว่า กากวยเย (KKY) หรืออาสาสมัคร แต่ขุนส่าเองก็ถูกลอบทำร้ายหลายครั้ง ครั้งที่โด่งดังที่สุดก็คือช่วงสงครามฝิ่น เมื่อวันที่ 6-9 กรกฎาคม 2510 ทหารก๊กมินตั๋งวางแผนถล่มขุนส่าที่บ้านขวัญ ประเทศลาว" เครือเดือน เปิดลิ้นชักความรู้..ไม่นานขุนส่าก็ขยายอาณาเขตด้วยการต้งฐานที่มั่นอยู่ตามแนวชายแดนไทย-พม่า-ลาว ซึงขณะนั้นยังเต็มไปด้วยป่าเขายากแก่การเข้าปกครองของทางการ ปี 2506 กองกำลังติดอาวุธของขุนส่าก็เข้ามาบุกเบิกบนดอยหินแตก ภายหลังเกิดไข้ป่าระบาดผุ้คนลามตายลงจำนวนมาก...เครือเดือน อธิบายว่าสาเหตุที่ขุนส่าเลือกเอกบ้านหินแตกเป็นฐานที่มั่น ก็เพราะบ้านหินแตกเป็นที่ที่ชาวไทยใหญ่อพยพเข้ามาตั้งรกรากอยู่ก่อนแล้ว เป็นที่พักแรมของบรรดาพ่อค้าวัว และยังเป็นจุดศูนย์กลางการต้าระหว่งรัฐฉานกับรัฐโยนก ไม่นานนักบ้านหินแตกก็เจริญขึ้นอย่างรวดเร็ว มีการสรี้างโรงพยาบาล สร้างโรงเรียน บูรณะซ่อมแซมวัดวาอารามต่างๆ โดยนำเงินที่ได้จากการขายฝิ่นมาสร้างสิ่งเหล่านี้
           
  ขุนส่าลักลอบขนฝิ่นจาก รัฐฉานมายังบ้านหินแตก ด้วยการปะปนมากับคาราวานม้าต่างๆ ของพ่อค้านายทุน จากฐานที่มั่นเมืองดอยหม่อเข้าเมืองต้างยาน บ้านผาผึ่ง บ้านหนองคำ ข้ามแม่น้ำสาละวินที่ทาวันนอง ปากันฮ่อก ข้ามถนนใหญ่เส้นทางเชียงตุง-ตอง จีที่เมืองเปีียง เข้าเมืองขอน เมืองปั๊ก เมืองลุงข้ามแม่น้ำสายเข้าประเทศไทยที่บ้านผาจี ห้วยอื้น บ้านหินแตก เขาทำการต้ายาเสพติดมานานและด้วยปริมาณที่มากมายที่กระจายไปทั่วโลก ชื่อของขุนส่าจึงติดอนดับราชายาเสพติดโลกในชัวเวลาไม่นานเมื่อขุนสามาสร้างหลักปักฐานอยู่ที่บ้านหินแตก ทางการพม่าก็เร่ิมไม่ไว้วางใจราชายาเสพติดโลกคนนี้เพิ่มมากขึ้น ประกอบกับรัฐบาลไทยมีนโยบายปราบปรามยาเสพติดให้หมดไปจากราชอาณาจักร โดยได้รับความช่วยเหลือจากองค์กรสหประชาติ การกวาดล้างผลักดันครั้งใหญจึงเกิดขึ้น
            ขณะที่ทางการพม่าเองก็พยายามกัน ตัวเองให้พ้นจาข้อครหาของปรชคมโลกว่ เป้ฯผุ้อยู่เบื้องหลังการต้ายาเสพติดของขุนส่า เพื่อแสดงความบริสุทธิ์ใจจึงจับกุมขุนส่าไปจำคุก ทว่าก็เป็นแค่ช่วงเวลาสั้นๆ เพียง 5 ปีเท่านั้น เพราะลูกสมุนขุนส่าได้ลักพาตัวแพทย์ชาวรัศเซีย ไปกักขังไว้ที่บ้านหินแตก พร้อมกับื่อนข้อเสนอให้แลกเปลี่ยนตัวประกัน นายกรัฐมนตรีของไทย ร่วมกับเอกอักครราชทูตรัสเซียนประจำประเทศไทย เป้นตัวแทนช่วยเจรจากับทางกรพม่า นำมาสู่การแลกเปลี่ยนตัวประกันในที่สุด แต่กระนั้นก็ใช้เวลานานถึง 6 เพื่อน กว่าการเจรจาจะเป็นผลสำเร็จ
            เหตุการณ์ครั้งนั้นทำให้ประเทศไทยตื่นตัว และเริ่มดำเนินนโบายผลักดันกองกำลังติดอาวุธของขุนส่าอย่างจริงจัง นำมาสู่ยุทธการบ้านหินแตกboard.postjung.com/924303.html
ต.ช.ด.ประจำฐานปฏิบัติการบ้านหินแตก

            เมื่อครั้ง พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเมื่อปี 2423 ประเทศไทยได้รับการตำหนิจากนานาชาติว่า ไม่เอาจริงเอาจังกับการปราบปรามยาเสพติด บางคำหล่วหาก็ตั้งข้อสงสัยว่ารัฐบาลไทยร่วมมือกับขุนส่า ข่าวปรากฎค่อนข้างัดเจนว่าขุนส่าได้มาตั้งฐานผลิตเฮโรอีอยู่ที่บ้านหินแตก ซึ่งอยู่ลึกเข้ามาในเขตแดนไทย กว่า 10 กิโลเมตร เรื่องทำลายแหล่งผลิตยาเสพติดจึงนับเป็นนโยบายเร่งด่วยประการหนึ่งของท่าน โดยเฉพาะโรงานผลิตเฮโรอีนที่บ้านหินแตก ซึ่งในกองทัพบกช่วงนั้น พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ เป้นผู้บัญชาการทหารบก
              พล.อ,อรพันธ์ วัฒนวิบูลย์ ซึ่งปัจจุบันเกษียณอายุแล้วเล่าให้ฟังว่... "พล.อ.เปรมฯ ได้หารือกับกองทัพบกว่ากองทัพบกรับทำเรื่องน้ได้ไหม กองทัพบกก็ตอบรับ เรื่องไม่ได้พูดกันกว้างขวางชนิดว่ามีหนังสือโต้ตอบกัน เป้ฯการพูดเฉพาะตัว เพราะเป็นเรื่องที่รั่วไหลไม่ได้
              พล.อ.ชวลิต.. ท่านได้รับเรื่องมาแล้ว ผมจำได้ว่าเป็นปลายเดือน ก.ค. 2524 ท่านเรีกผมไปพบ ตอนนั้นผม่ยศเป็นพันเอก มีตำแหน่งเป้นผุ้บงคับการกรมรบพิเศษที่ 2 ท่านบอกว่ามีงานที่สำคัญชิ้นหนึ่ง เป้นงานในระดบรัฐบาลมอบหมายมาให้กองทัพบก..ท่านบอกว่าจะใช้กำลังต่อกลุ่มบุคคลหรือกองกำลังกลุ่มหนึ่ง แต่ไม่พุดว่าเป้นปัญหายาเสพติด ท่านบอกว่าบริเวณตะเขช็บชายแดน ในการเดินเข้าไปนั้น ไม่ใช่เรื่องง่าย ท่านบอกว่าอยากได้กำลังที่เข้มแข็งกล้าหาญเอาจริงเอาจังและกล้าตาย เราไม่สามารถใช้คนมาเพราะเป้ฯการทำงานที่ล่อแหลมมาก ไม่สามารถจะให้คนรู้มา รู้เท่าที่จำเป็นเท่านั้น"
           
อดีตไร่ฝิ่นที่บ้านหินแตก
เมื่อรับภารกิจมาแล้วท่านก็เร่ิมเตรียมการทันที่ใช้รุปการจัแบบหน่วยจู่โจมเฉพาะกิจซึ่งเรกียกเป้นรหัสของหน่วยว่า "หน่วยเฉพาะกิจเสือดำ" ประกอบด้วยกำลังพลเพียง 62 คน แต่เป็น 62 คนที่ผ่านการคัดเลือกมาแล้วเป็นอย่างดีและเมื่อผ่านการฝึกอย่างหนักแล้วก็เคลื่อ่นย้ายกำลังออกจาค่ายปักธงชัยเพื่อเข้าสู่พื้นที่ปฏิบัติการเมือ 26 ก.ย. 2524 ทั้งนี้อยู่ในการรักษาความลับอยางเช้มงวด
            "เราเดินทางโดยใช้รถ 6 ล้อ 2-3 คัน เมื่อลงรถเราเดินลัดเลาะเข้าไปใกล้ๆ ทางขึ้นดอยตุง แถวนั้นเป็นดงของขุนส่าซึงมีอิทธิพลในหมุ่บ้าห้วยไคร้ เป็นหมู่บ้านไทยใหญ่ เขามีหน่วยสนับสนุน หน่วยส่งกำลังที่จัดตั้งไว้ รวมทั้งสืบความเคลื่อนไหวของเจ้าหน้าที่ด้วย เพาระฉะนั้นเมือไปถึงบริเวณนั้นเกือบ 5 ทุ่มแล้วไม่มีคนสนใจ ไม่มีคนรุ้เห็น หน่วยเดินตัดขึ้นเขา พอถึงสันเขาชายแดนก้รู้สึกจะเป็นเวลา ตีสอง ตีสามแล้ว จากนั้นก็ลงหาลำน้ำแม่สาย ตอนนั้นน้ำป่าเชี่ยวกราก เราอาศัยเกาะห่วงยาง แพยางที่จัดหาไปจากรุงเทพ เราเตรียมไปเสร็จ มีอินหราเรดตายจการณ์กลางคือ ลำน้ำแม่สายถึงแม้ไม่กว้างนักแต่กระแสน้ำเชี่ยวจัด เราเดินตัดข้ามกลับไปกลับมาหลายครั้ง ..แต่ทหารเดินเหมือนเคยเดินมาแล้ว เพาะศึกาาจาแผนที่ ที่จำลองและขยายดูรายละเอียด
              เราเดินตั้งแต่วันที่ 28 ก.ย.จนถึงวันที่ 3 ต.ค. ใช้เวลาหลายวน เดินกลางคือนนอนกลางวันไม่ต้องการหให้ใครเห็นตัวโรงงานผลิตนั้นอยุ่ลึกมาก มันเป็นเวิ้งเข้าไป มีโรงเรือนหลายหลัง เป้นโรงงานค่อนข้างใหญ่ มีกำลงคุ้้มกันเป็นกองร้อย
             คนของเราที่เข้าไปนั้นประมาณ 30-40 คน ส่วนผมควบคุมอยู่บนยดอดดอยสูงด้วยการติดต่อสื่อสารทางวิทยุเข้ารหัสไม่ไกลากเป้าหมายมากนักบริเวณตะเข็บชายแดน
              หลังจากเคลื่อกำลังเป็นวันที่ 6 ก็ถึงที่หมาย เราเดินกลางคือพอกลางวันก็หยุดพัก ในที่สุดก็เข้าโจมตี
              พอเข้าไปก็เจอกับกองรักษาด่าน จุเผ้าตรวจเหมือนกับการปฏิบัติของทหาร มีกำลังติดอาวุธเป็ฯกองร้อยเรียกว่ากองกำลังฉานเสตรท คือกองกำลังของขุนส่ามีหลายพันคน มีอาวุธคอ่นข้างทันสมัย มีอาวุธเอ็ม 16 เอ็ม 79 มีเครืองมือติดต่อสื่อสารทันสมัย มีวิทยุมือถือให้ใช้กัยอย่งมาก (มีเงินมาก) กระทั่งเราเข้าจ่อตรงบรเวิณโรงงานตอนกลางคือและเผ้าอุย่จถึงรุ่งเช้า วางแผนว่าตอนบ่ายจะเข้าตี
             ประมาณ 4 โมงเย็น เข้าโจมตีโดยชาร์จเข้าไปทั้งหน่วย ตอนนั้นเริ่มจะเข้าฤดูหนาว ประมาณสัก 6 โมงเย็นก็มืดสนิท เมื่อชาร์จลไปเขาไม่สู้ (เขารู้ตัวก่อนล่วงหน้า มีการเผาเรือนนอนและแตกตื่นคนวิ่งกันไปมาตั้งแต่ช่วงบ่าย) แตกตื่อนหนีกันอุตลุด จากนั้นเราก็เข้าไปวางระเบิด อย่างระเบิดเพลิงและเผาซ้ำเข้าไป แต่เข้าใจว่าจะขนบางส่วนหนีไปได้ แต่ที่หนีไม่ได้ก็เยอะ
บ้านหินแตกในปัจจุบัน
             ตอนที่ถอนตัว เราตีฝ่าจุดสกัดของฝ่ายตรงข้ามเข้ามาด้านฝั่งไทยซึ่งพวกนี้ยัไงไม่ถอน เราเข้าโจมตีกลางคือ มีอินฟราเรดช่วยนำทางเข้าไปประชิด ยุทธวิธีการรบแบบจู่โจมและการกระจายกำลังกันตีหลายๆ จุดพร้อมๆ กัน เมื่อมารวมกันที่สันชายแดนก็เริ่มสว่างแล้ว ตอนนี้แหละเขาไใช้กำลังจากบ้านหินแกา มีกำลัง กองทัพบรัฐฉาน อยู่ที่บ้านหินแกตหลายกองร้อยเข้าล้อมกรอบตามเส้นทางต่าง ๆเขาชำนาญเส้นทางกว่าเรา เราก็เลยจำเป็นต้องลงตามร่องน้ำแม่คำ ตอนนี้เขารุกเราหลายกองร้อย เขาได้แต่สงสัยแต่หาที่ตั้งเราไม่แน่นอนไม่เจอ เขาใช้ ปืน ค. ระดมยิงรายรอบพื้นที่เป็นระยะยๆ ต่อเนื่องมา 2 วัน...
            เมื่อวันที่เราเข้าโจมตีเป้าหมายโรงานนั้น ทางด้าน พล.อ.เปรมฯ อยุ่ที่สหรัฐกำลังไปพบประธานาธิบดีเรแกน เราเข้าตีวันที่ 6 ของแผนปฏิบัติการ รุ่งเข้าวันที่ 7 ก็ถอนกำลัง ตอนเช้าของวันที่เราถอนตัว ข่าวถึงสหรัฐทางสหรัฐก็รายงานถึงวอชิงตัน พล.อ.เปรมกับท่านเรแกนทราบตลอด..(จากผลอันนี้ทำให้ทางหสรัฐมีความรู้สึกเชื่อมั่นว่าไทยมีความจริงใจในการปราบปรามยาเสพติด ตอนนั้นเหตุการ์ครึกโครมไปทั่วโลก รู้ว่าเป็นกองกำลังของไทย แต่ไ่รู้ว่าหน่วยไหน แม้ในกองทัพบก หลายคนที่ไม่เกี่ยวข้องก็ไม่รู้ ..)
              หลังจากเข้าตีแล้ว ก็ถอนตัวใช้เวลา 2 วัย ฝ่ายเราก็ถูกเก็บไปเรื่อง เราตายวันละคนสองคน เบ็ดเสร็จรวมทั้งหมด 7 คน นายทหาร-นายสิบ 4 ยนาย ทหารพราน 3 นาย ตามศพได้ตามลำจ้ำ ส่วนมากจะบาดเจ็บ มาก่อนที่เราจะล่องนำ้แม่คำ
               น้ำแม่คำเป็นน้ำที่ไลงลงมาจากภูเขามาออกเกือบจะถึงอำเภอแม่จัน เรานำคนเจ็บ่องตามน้ำมาถูกหินกระแทกบ้าง อะไรบ้าง มีการจมน้ำเสียชีวิตบ้าง นอกนั้นบาดเจ็บสาหัสอีก กว่า ยี่สิบคน ครึ่งหน่วยในส่วนโจมตี ส่วนหน่วยสนับสนุน หน่วยปฏิบัติการลวงไม่บอบช้ำมากนัก..
               จากนั้นพอถึงเดือน มกราคม ปีถัดมา รัฐบาลจึงตัดสินใจใช้กำลัง ตชด. จำนวนหลายพันคนเข้าปฏิบัติการจนสามารถเข้ายึดบ้านหินแตกได้อย่างเบ็ดเสร็จ ใช้เวลาประมาณ 1 สัปดาห์ จนทำให้กองกำลังขุนส่าต้องถอยร่อนออกไปจากแผ่นดินไทยอย่างถาวรจากวันนั้นจนบัดนี้www.clipmass.com/story/8237
             

วันจันทร์ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2560

Opium Story

              จุดเริ่มตต้นของฝิ่น ข้อมูลในเว็บไซต์ของ "หอฝิ่น อุทยานสารเหลี่ยมทองคำ" ตั้งอยู่ ใน จ. เชียงราย ระบุว่าประวัติศาสตร์ของฝิ่นเร่ิมขึ้นตั้งแต่ประมาณ 3,400 ปี ก่อนคริสตกาล เมื่อชาวไรทางตอนต้ของเมโสโปเตเมียเพาะปลูกพืชชนิดนี้ นับแต่นั้นผุ้คนก็ได้เพาะปลูกและใช้ฝิ่นเป็นสารเสพติด และเป็นยารักษาโรค
              ฝิ่นมีผลกระทบต่อทวปเอเชียอยางมาก อังกฤษได้กำไรมหาศาลจากการต้าฝิ่น และเพราะต้องการรักษาผลประโยชน์นี้ ไว้จึงทำให้เกิดสงครามกับจีนถึงสองครั้ง..เปิดเผยว่ฝิ่นซึ่งมักเรียกกันว่า
"ทองคำสีดำ" เป็นสิ่งที่มีค่ามากจนคนสมัยนั้นใช้ทองคำแทนเงินในการซื้อ ขาย ในช่วงปลายปีระหว่าง พ.ศ. 2443-2542 การค้าฝิ่นทำให้ "สามเหลี่ยมทองคำ"เป็นที่รู้จักทั่วโลก
               สามเหลี่ยมทองคำ เป็นชื่อที่บรรดาพ่อค้าฝิ่นตั้งให้กับบริเวณที่มีัลักษณะเป็นพท้นที่สามเหลี่ยมบรรจบกันและรอยต่อระหว่างสมประเทศ ไ้แก่ ไทย ลาวและพม่า ิดนแดนสามเหลี่ยมทองคำครอบคลุมพื้นที่มากกว่า แสนตารางกิโลเมตร ซึ่ง่วนใหญ่เป็นเทือกเขา ตรงกลางของสามเหลี่ยมทองคำมีแม่น้ำสองสายไหลมาบรรจบกัน คือ แม่น้ำโขงและแม่น้ำรวก
             "ยาเสพติจากอินแดนสามเหลี่ยมทองคำเข้าสู่กัมพุชาผ่านทางแนวชายแดนไทย ลาวและพม่า จกนั้นจึงเดินทางฝ่านกัมพุชาเข้าสู่ประเทศไทยและเวียดนามเพื่อส่งออกไปยังภูมิภาคอื่น" ตามข้อมูลในหนังสือ ประเด็นข้อตกลงเรื่องมุมมองของเอเชีย ในเรื่องที่ท่าสทายความมั่นคงข้ามชาติ (2533)  ระบุว่าประเทศที่มีพรมแดนติดกับสามเหลี่ยมทองคำมีความพร้อมอย่างเต็มที่ในการผลิตและค้ายาเสพติด ตัวอย่างเช่น "ห้องปฏิบัติกาลับที่ได้รับการสนับสนุนจากองค์กรอาชญากรรมผลิตยาผิดกฎหมายในพื้นที่ที่มีประชารเบาบางของกัมพูชา" นอกจากนี้ชายแดนที่เต็มไปด้วยช่องโหว่ยังดึคงดูดให้นักลักลอบค้ายาใช้กัมพุชาเป็นเส้นทงขนยาเสพติด
              รายงานยุทธศาสตร์การควบคุมสารเสพติดระหว่างประเทศในปี พ.ศ. 2553 ของกระทรวงการต่างประเทศ สหรัฐอเมริการะบุว่าประเทศไทยเป้น "จุดพักของสารกระตุ้นในกลุ่มแอมเฟตามีนก่อนที่จะส่งออกไปยังประเทศต่าาง๐ ทั้งนี้ยาบ้าจากพม่าจะถูกลักลอบขนข้ามชายแดนทางภาคเหนือเข้าสู่ประเทศไทย นอกจากนี้ยังมีข้อมูลที่เชื่อได้ว่ายาเสพติดถูกขนอออกจากแหล่งผลิตในพม่าผ่านทางลาวเข้าสู่กัมพูชาแล้วผ่านเข้าสู่ประเทศไทยทางพรมแดนไทย-กัมพูชา
             ตามรายงานระบุว่าการลักลอบขนส่งยาบ้าจากสามเหลี่ยมทองคำมีปริมาณเพ่ิมมากขึ้น ตัวอย่งในปี พ.ศ. 2551 ทางการจีนยึดยาบ้าน้ำหนักกว่า  2.4 ตันได้ในมณฑฃยูนนาน
             นอกจากนี้ ตามรายงานยังเปิดเผยว่า จีนและอินเดียเป็นผถ้ผลิตอีเฟดรีนและซูโดอีเฟดรีนอย่างถุกกฎหมายรายใหญ่ แต่สารทั้งสองชนิดนี้ถูกนำไปใช้อย่างผิดกฎหมายในการผลิตยาบ้า...
            ลำดับเหตุการณ์ของสิ่งเสพติดบริเวณสามเหลี่ยมทองคำผลข้างเคียง
           
พ.ศ. 2143-2242 ผุ้ที่อาศัยในเปอร์เซียนและินเดียดื่ม และรับประทานอาหารที่มีฝ่ินเป้ฯส่วนผสมเพื่อความบันเทิง เหล่าพ่อค้าชาวโปรตุเกสเป็นผุ้นำฝิ่นอินเดียเข้าสู่ประเทศจีน
            พ.ศ. 2243-2342 ชาวดัตท์ส่งออกฝิ่นอินเดียสู่ประเทศจีนและเกาะต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ่อค้าเหล่านี้ยังเป็นผุ้แนะนำชาวจีน ให้รู้จักการสูบฝิ่นโดยใช้กล้องยาสูบ
            พ.ศ. 2272 จักรพรรดิ์หย่งเจิ้นแห่งจีน สั่งห้ามการสูบฝิ่น และห้ามขายฝิ่นในประเทศ ยกเวิ้นจะได้รับอนุฐาตให้ใช้เพ่อวัตถุประสงค์ทางการแพทย์
           พ.ศ.2310 การนำเข้าฝิ่นสู่ประเทศจีนของบริษัทบริติช อีสต์ อินเดีย มีปริมาณสูงถึ 2,000 หีบต่อปี หีบหนึ่ง จะบรรจุฝิ่นดิบถึง 60 กิโลกรัม
           พ.ศ. 2354 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ หล้านภาลัย ทรงสั่งห้ามการขายและการสูบฝิ่น
           พ.ศ.2382 พระบาทสมเด็จพระนั่งเหล้าเจ้าอยู่หัวทรงกำหนดโทษประหารชีวิตสำหรับผุ้ลักลอบค้าฝิ่นรายใหญ่ อย่างไรก็ตาม ปัญหาฝ่ินก็ได้แพร่หลายเกินกว่าที่ทางการจะควบคุมได้
           พ.ศ. 2385 อังกฤษชนะจีนในสงคราฝิ่นค้งแรกที่เกิดขึ้นในช่วงปี พ.ศ. 2385 จีนยกฮ่องกงให้กับอังกฤษ หลังจากที่อังกฤษบังคับให้จีนคงการเปิดเส้นทางฝิ่นไว้ ฮ่องกงจึงกลายเป็นจุดหลักสำหรับการส่งผิ่นอินเดียต่อไปสู่ตลาดจีนที่กว้างใหญ่
          พ.ศ.2399 อังกฤษและฝรั่งเศสต่อสุ้กับจีนในสงครามฝิ่นครั้งที่สองระหว่างปี พ.ศ. 2399-2403 ผลจากสงครามครั้งนี้ทำให้การนำเข้าฝิ่นกลายเป็นสิ่งถูกกฎหมาย ในปี พ.ศ. 2403 จีนจึงเร่ิมปลูกฝิ่นเองบนพื้นทีทมหาศาล
          พ.ศ. 2441 นายไฮน์ดริก เดรสเซอร์ ซึ่งทำงานให้กับบริษัทไบเออร์ ที่เมืองเอลเบอร์เฟลด์ ประเทศเยอรมนี ค้นพบว่าถ้าเอามอร์วินเจื่อจางด้วยอะซิติล จะทำให้ได้ตัวยาที่ไม่มีผลข้างเคยยง ไบเออร์จึงเริ่มผลติดยาดังกล่าวและตั้งชื่อว่า "เฮโรอีน" ซึ่งมาจากคำว่า Heroisch ในภาษาเยอรมันที่แปลว่า วีรบุรุษ
           พ.ศ. 2443-2542 สมาคมการกุศลเซนต์เจมส์ในสหรัฐฯ ส่งเฮโรอีนฟรีทางไปรษณีย์แก่คนติดมอร์ฟีนที่พยายามหาทางเลิกอังกฤษและฝรั่งเศสประสบความสำเร็จในการควบคุมการผลิตฝิ่นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อย่างไรก็ตามในที่สุดสามเหลี่ยมทองคำก็มีบทบามสำคัญในการต้าฝินที่มีกำไรมหาศาลระหว่าง พ.ศ. 2483-2492
           พ.ศ.2453 หลังจาก 150 ปีที่จีล้มเหลวในการกำจัดฝิ่นให้หมดไปจากประเทศ ในที่สุดจีนก็ประสบความสำเร็จในการโน้มน้างอังกฤษให้ยกเลิกการต้าฝิ่นระหว่งอินเดียกับจีน
           พ.ศ. 2483-2492 สงครามโลกครั้งที่สองตัดเส้นทางการต้าฝิ่นจากอินเดียและเปอรเซีย เนื่องจากเกรงว่า จะสูญเสียความเป็นเจ้าตลาดฝิ่น ฝรั่งเศสจึงสนับสนุนให้เกษตรกรชาวม้ง ที่อาศัยอยู่ตามเทือกเขาทางภาคใต้ของจีนขยายพื้นที่เพาะปลูกฝิ่น
           พ.ศ. 2491 พม่าได้รัีบเอกราชจากอังกฤษ ฟลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง การเพาะปลูกแลค้าฝิ่นเริ่มเฟื่องฟูในรัฐฉาน
         
พ.ศ.2493-2502 สหรัฐฯ พยายามจำกัดการแพร่กระจายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในเอเชีย โดยการผูกสัมพันธ์กับบรรดาชนเผ่าและผุ้นำทางทหารต่างๆ ในบริเวณสามเหลี่ยมทองคำ ทำให้สามารถเข้าถึงกและมีการคุ้มครองตามแนวชายแดนทางตอนใต้ของจีน พรรคชาตินิยมของจีน(ก๊กมินตั๋ง) ถอยร่นออกมาอยู่ในพื้นที่รอบๆ สามเหลี่ยมทองคำหลังจากถูกกองทัพแดง ของพรรคคอมมิวนิสต์จีนปราบปราม ในการหาเงินทุนสนับสนุนภารกิจต่อต้านการรุกรานของลัทธิคอมมิวนิสต์ ก๊กมินตั๋งชักชวน ชาวไร่ชาวนาที่เป็นชนเผ่าในพม่าให้หันมาปลูกฝิ่นมากขึ้น ยังผลให้ปริมษรฝิ่นจากพื้นที่สามเหลี่ยมทองคำเฉพาะสวนที่อยู่ในพื้นที่ประเทศพม่าเพ่ิมขึ้นถึง 10-20 เท่า จาก 30 ตันเป็น 300-600 ตัน
          พ.ศ. 2503-2521 ขุ่นส่าพ่อค้าฝิ่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งโรงงานสกัดเฮโรอีนขึ้นเป้ฯครั้งแรกในช่วงปี พ.ศ. 2503-2512 บนเทือกเขาในลาว ซึ่งอยู่ฝั่งตรงข้ามแม่น้ำโขงกับ อ.เชียงของ ในประเทศไทย หลังจากนั้นก็มีการสร้างดรงงานเพิ่มบริเวณชายแดนไทย-พม่า
           พ.ศ. 2515 ขุนส่า ผุ้นำชนกลุ่มน้อยชาวพม่าควบคุมการสงออกเฮโรอีนจกสามเหลี่ยมทองคำ ซึ่งเป็นแหล่งผลิต ฝิ่นดิบที่มบทบาทสำคัญในการต้ายาเสพติด
            พ.ศ. 2521 การต้าเฮโรอีนจากเอเชียสะดุดลง ทำให้พ่อค้ายาเสพติดต้องเสาะหาแหล่งผลิตฝ่ินดิบแห่งใหม่ และได้พบกับ เชียร่า มาเตร ในเม็กซิโก "โคลนจากเม็กซิโก" สามารถแทนที่เฮโรอีน "สีขาวของจีน" ได้เพียงชั่วคราวจนถึงปี พ.ศ. 2521 เท่านั้นในปีเดียวกันนี้ รัฐบาลสหรัฐฯ และเม็กซิโกได้โปรยสารเคมีสีส้มลงบนพื้นที่เพาะปลูกฝิ่นในเชียร่ามาเดร ทำให้ปริมาณ "โคลนจาเม็กซิโก" ในสหรัฐฯ ลดลง เพื่อุดช่องว่างในตลาด ดินแดนพระจันทร์เสี้ยวสีทอง ในอิหร่านอัฟกานิสถานและปากีสถานจึงผลิตและค้าเฮโรอีนผิดกฎหมายมากขึ้น
             พ.ศ.2531 การผลิตฝิ่นมีการเพ่ิมปริมาณมากขึ้นในสมัยการปกครองของกำลังทหารพม่า ที่มีชื่อว่า กฎหมายและข้อบังคับ ของคณะกรรมการฟื้นฟูการสั่งซื้อ ทำให้ทางสหรัฐฯ สงสัยว่าเฮโรอีนน้ำหนัก 1088 กิโลกรัมที่จับได้ในเมืองไทยขณะกำลังจะลงเรือไปนิวยอร์กน่าจะมีแหล่งผลิตอยุ่ที่สามเหลี่ยมทองคำ
             พ.ศ. 2536 กองทัพไทยโดยการสนับสนุของหน่วยปราบปรามยาเสพติดของสหรัฐฯ ดำเนินปฏิบัติการทำลายไร่ฝิ่นจำนวนหลายพันไร่ในบริเวณสามเหลี่ยมทองคำ
           
 พ.ศ.2538 สามเหลี่ยมทองคำเป็นผุ้นำในการผลิตฝิ่น โดยแต่ละปีสามารถผลิตฝิ่นได้มากถึง 2,500 ตันผุ้เชียวชาญด้านยาเสพติดของสหรัฐฯ ชว่านักค้ายาเสพติดใช้เส้นทางใหม่ในการบลำเลียงยาเสพติดโดยขนยาจากพม่าผ่านลาวเข้าสู่ตอนใต้ของจีน กัมพูชาและเวียดนาม เปรียบเทียบกับในปี พ.ศ. 2530 พม่าผลิตฝิ่นดิบได้ 836 ตัน แต่ในปี พ.ศ. 2438 ปริมาณการผลิตเพิ่มึ้นเป็น 2,340 ตัน
             พ.ศ.2542 อัฟการนิสาถานผลิตฝิ่นมากึถง 4,600 ตัน ทั้งนี้โครงการควบคุมยาเสพติดแห่งสหประชาชาติประมาณการว่าอัฟการนิสถานผลิตเฮโรอีนถึงร้อยละ 75 ของปริมาณเฮโรอีนทั่วโลก
             พ.ศ.2545 สำนักงานควบคุมยาเสพติดและอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ ประกาศว่าอัฟกานิสถานเป้นประเทศที่ผลิตฝิ่นมากที่สุดในโลก
             พ.ศ. 2546 ความพยายามของเกาหลีเหนือในการเจาะตลาดเฮโรอีนของออสเตรเลียด้วยการลักลอบค้าเฮโรอีนที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐเริ่มประสบกับปัญหา
             พ.ศ. 2549 สำนักงานว่าด้วยยาเพติดและอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติรายงานว่า ในปี พ.ศ. 2549 อัฟกานิสถานจะผลิตฝิ่นได้มากถึง 6,100 ตัน ซึ่งนับเป็นตัวเลขที่สูงสุดเป็นประวัติการณ์ หรือคิดเป็นประมาณร้อยละ 92 ของปริมาณฝิ่นทั่วโลก
             พ.ศ. 2550 ขุนส่าราชายาเสพติด แห่งสามเหลี่ยมทองคำและอดีตผุ้นำกลุ่มแบ่งแยกดินแดนรัฐฉานได้เสียชีวิต ในยุคที่เขาเรืองอำนาจอาณาจักรยาเสพติดของขุนส่าผลิตและส่งออกเฮโรอีนประมาณ 1ใน 4 ของปริมาณเฮโรอีนทั้งหมดในตลาดโลก
             พ.ศ. 2553 แม้ว่าการเพาะปลูกฝิ่นจะลดลงอย่างต่อเนื่องในช่วงสามปีที่ผ่านม แต่พม่าก็ยังเป้ฯผู้ผลิตฝิ่นรายใหญ่ อันดับสองของโลกรองจากประเทศอัฟกานิสถาน โดยปีที่แล้วพม่าสามารถผลิตฝิ่นได้ 330 ตัน หรือร้อยละ 17 ของปริมาณฝิ่นทั้งหมด ตามข้อมุลใน "รายงานยาเสพติดโลกประจำปี พ.ศ. 2553" ของสหประชาชาติwww.oncb.go.th/ncsmi/doc3/%E0%B8%88%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9D%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%99.pdf

วันอาทิตย์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2560

ASEAN-NARCO

             15 กันยายน พ.ศ. 2557 ที่สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พล.อ.ไพ
บุลย์ คุ้มฉายา รัฐมตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานประชุมหัวหน้าหน่วยงานกลางด้านยาเสพติดของประเทศอาเวียนทั้ง 10 ประเทศ และประเทศคู่เจรจา 3 ประเทศ ได้แก่ จีน ญี่ป่นุ เกาหลี เพื่อเตียมพร้อมก่อนไทยเข้าสู่ประชาคมอเซียน ในปีหน้าเนื่องจากคาดการณ์ เมื่อเปิดเสรีอาเซียนแล้ว ปัญหายาเสพติด จะทวีความรุนแรงขึ้น ขณะเดียวกัน ไ้มีการเปิดสำนักงาน ป.ป.ส. อาเซียน อย่างเป็นทางการ เพื่อตอบสนองนดยบายของรัฐบาลในการแก้ปัญหาเสพติดในกลุ่มปรเทศอาเซียน ให้เป้นไปอย่างมีประสทิะิภา โดยมีไทยเป็นแกนนำ ประสานงานการสืบสวนคดียาเสพติดที่เป็นเป้าหมายกับประเทศอาเซียนอื่นๆ
           พล.อ.ไพบูลย์ กล่าวว่า การเปิดสำนักงาน ป.ป.ส.อาเวียน จะใช้เป็นศูนย์กลางในการกำหนดมาตรการป้องกันปราบปรามยาเสพติดในภูมิภาค ซึ่งจะมีการประชบุมระดับทวิภาคีกับประเทศต่างๆ ดดยเฉพาะ สหภาพเมียนมาร์ ซึ่งเป็นแหล่งผลิตยาเสพติดสำคัญ เพื่อหาแนวทางร่วมสำคัญ เพื่อหาแนวทางรวมสกัดกั้นยาเสพติด นอกจากนี้ จะมีการหารือร่วมกันถึงต้นตอของปัญายาเสพติดที่แท้จริง เนื่องจาก สภาพเศราฐกิจไทยช่วงที่ผ่านมา แม้จะซบเซา กลับมีปัญหารยาเสพติดเพิ่มขึ้น จึงต้องหาที่มาว่าเกิดจากอะไรเพื่อให้สามารถแก้ปัญาได้อย่าวตรงจุดมากขึ้นwww.posttoday.com/crime/318392
            24 กุมภาพันธ์ 2559 โรงแรมเซ็นจูรี่ปาร์ ถ.รชปรารภ กทม.ได้มีการประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทำรายงานการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดอาเซียน ครั้้งที่ 1/2559 โดยมีจ้าหน้าท่สำนักงาน ป.ป.ส., สำนักงานเลขาธิการอาเซียนและเครื่อข่ายองค์กรวิชากรสารเสพติด ผู้แทนจากประเทศในภูมิภาคอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ และประเทศคู่เจรจา 3 ประเทศ  ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น เกาะหลี เข้าร่วมประชุม เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเฝ้าระวังอาเซียนและกำหนดแนวทางในการจัดทำรายงานการเผ้าติดตามยาเสพติดในอาเซียน ประจำปี 2016 และเตรียมเสนอร่างรายงานดังกล่าวในการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติดครั้งที่ 37 ซึ่งกำหนดจะจัดขึ้นในปี 2559 ที่ประเทศไทย
         
 นางนฤมล ช่วงรังษี รองเลขาธิการ ป.ป.ส. กล่าวว่า สือบเนื่องจากการจัดประชุมเชิ
ปฎิบัติการดังกล่าว ดดยมีผุ้แทนจากประเทศอาเวียนผุ้แทนประเทศคู่เจรจา และองค์กรระหว่งประเทสเข้าร่วมการประชุมฯ ทั้งนี้ ที่ประชุมมีมติเห็นชอบให้มีการเชื่อมโยงเครือข่ายข้อมูลเฝ้ระวังปัญหายาเสพติดภายในประชาคมอาเซียนร่วมกันและให้ดำเนินการจัดตั้ง คอนแทค เพอร์ซัน ด้านอุปทาน และอุสงค์ ประเทศละ 2 คน เพื่อทำหน้าที่ประสานและร่วมเป็นทีมวิเคราะห์ข้อมูลในการจัดทำรายงานเกี่ยวกับยาเสพติด
               โดยกล่าวต่อว่า สำหรบสำนักงาน ป.ป.ส. ประเทศไทย ในฐานะผุ้ประสานงานกลางของกลุ่มประทเศสมาชิกอาเซียน ได้นำผลการประชุมเชิงปฏิบัติการเชื่อมเครือข่ายข้อมุลเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดอาเซียนฯ ดังกล่าวพร้อมทั้งแผนการดำเนินงานวิเคราะห์และเชื่อมดยงข้อมุล้าระวังปัญหารยาเสพติดอาเซียนระยะ 1 ปี เสนอต่อมี่ประชุม ในปี 2558 ณ ประเทศสิงคโปร์ และที่ประชุม มีมติเห้นขอบเแล้ว
               "การประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทำรายงานการเผฝ้าระวังปัญหายาเสพติดอาเซียน ครั้งที่ 1/2559 ของสำนักงาน ป.ป.ส.อาเซียน จึงเป็นการเชิญผุ้ประสานประจำแต่ละประเทศ และองค์กรที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมประชุมมีมวิเคราะห์ข้อมูลเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดอาเวียน เพื่อแสดงห้เห็นถึงความก้าวหน้าอีกระดับหนึ่งของการรวมตัวในการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดเชิงรุกในประชาคมอาเวียนได้อย่างมีประสทิธิภาพต่อไป" รองเลขาธิการ ป.ป.ส. กล่าวwww.manager.co.th/Crime/ViewNews.aspx?NewsID=9590000019899
                 ป.ป.ส. ขับเคลื่อนความร่วมมือเฝ้าระวังยาเสพติด ระดับภุมิภาคอาเซียน เมื่อวันที่ 30 ก.ค. 60 นายพิภพ ชำนิวิกัยพงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดหรือ ป.ป.ส. เป็นประธานเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการเครือข่ายเฝ้าระวังยาเสพติดอาเซียน ครั้งที่ 4 โดยมีผุ้แทนจากประเทศในภูมิภาคอาเซียนที่ 10 ประเทศ และประเทศคูเจรจา 3 ประเทศผู้แทนจากสำนักเลขาธิการอาเซียน, เครือข่ายองค์กรวิชาการสารเสพติด และเจ้าหน้าที่ฝ่ายไทยที่เกี่ยวข้อง
               การประชุมครั้งนี้จัดขึ้นเพื่อร่วมกันจัดทำรารงานเ้าระวังสถานการณืยาเสพติดอเาซียน ประจภปี 2559 ฉบับที่ 2 เพื่อเตรียมความพร้อมของประเทศสมาชิก สำหรับการพัฒนาฐานข้อมูลเผ้าระวังสถานการณ์ยาเสพติดอาเซียนบน เวปไซด์ อาเซียน-นาร์โค รวมถึงเพื่อส่งเสริมความร่วมมือและการแลกเปลี่ยนด้านวิชาการที่เกี่ยวข้อกับยาเสพติด ระหว่างประเทศสมาชิกอาเวียน และเครื่อข่ายอาเซียนเฝ้าระวังยาเสพติด
             จากสถานการณืปัญหายาเสพติดที่เพ่ิมากขึ้นในภูมิภาคอาเวียน ประเทศไทยโดยสำนักงาน ป.ป.ส. จึงได้มีการจัดตั้งเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหายาเพติดอาเซียน ในปี 2558ื ภายใต้กรอบการปฏิบัติงานของศูนย์ประสานงานความร่วมมือด้านยาเสพติดอาเซียน หรือ สำนักงาน ป.ป.ส. อาเซียน
             อย่างไรก็ตาม สำนักงานป.ป.ส. ประเทศไทย ในฐานะเจ้าภาพได้จัดประชุม เพื่อร่วมกันจัดทำรายงารเฝ้าระวังยาเสพติดมาแล้ว 3 ครั้งได้รับความร่วมมือจากทุกประเทศเป้อย่างดี ซึ่งเป้นตครั้งแรกที่ประเทศในภุมิภาคได้มีการจัดทำรายงานสถานกาณณ์ยาเสพติดประจำปี 2558 ร่วมกัน ซึ่งสถานการณืยาเสพติดในภุมิภาคอาเซียนในปี 2559 ได้รับความร่วมมือจากประเทศสมชิกในหารเปิดเผยข้อมูลมากขึ้น
              ทั้งนี้ พบว่าในพื้นที่หลายๆ ประเทศ มีผุ้กระทำความผิดเกี่ยวกับเมทแอมเฟตามีนมากว่าคตรึ่งหนึ่งของภูมิภาคโดยมีข้อเสนอจากประเทศสมาชิกว่าควรเพ่ิมการเผ้าระหวังการซื้อขายยาเสพติดผ่านทาง โซเชียล เน็ตเวิร์ค รวมถึงการใช้ยาในทางทีผิดมากยิ่งขึ้น และควรเพ่ิมสายด่วนระหว่างประเทศสมชิก ในการแก้ไขปัญหายาเสพติด เพื่ให้สามารถสื่อสารถึงกันได้ทันท่วงที
             สำหรับแผนการดำเนินงานที่สำคัญอีกประการหนึ่งของการจัดตั้งเครือข่ายเผ้าระวังาเสพติดอเซียน คือ การสร้างฐานข้อมุลเฝ้าระวังยาเสพติดของอาเวียน จากแบบสอบถามที่ประเทศสมาชิกได้ออกแบบร่วมกันเืพ่อเก็บข้อมูลยาเสพติดในภุมิภาค เพื่อให้ประเทศสมาชิกสามารถนำเข้ข้อมูได้โดยตรง
             นายพิภพ กล่าวว่า ส่ิงสำคัญในารจัดประชุมครั้งนี้ คือ ประเทศสมาชิกได้ร่วมกันกำหนดนโยบายในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เพื่อดำเนินการต่อยาเสพติดหลักที่แร่ระบาดในภุมิภาคให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน นอกจากนี้ ประเทศสมาชิกยังได้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และแจ้เงเตือนตัวยาใหม่ที่ค้นพบว่าเร่ิมมีการแพร่ระบาดในภูมิภาค
            ทั้งนี้ เพื่อร่วมกันเฝ้าระวังและควบคุมได้ทันท่วงที่ โดยแจ้งแตือนหากพบสัญญาของปัญหาที่เกิดขึ้นในกลุ่มประเทศสมาชิกตามวาระ ซึ่งเป้นที่ตกลงกันของประเทศสมาชิก และร่วมกันตรวจสอบรายงานเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด ปี 2559 ซึ่งเป็นรายงานฉบับที่ 2 ภูมิภาคwww.thairath.co.th/content/1020869
       
  ป.ป.ส. อาเซียน 4 ยุทธศาสตร์สกัดค้ายาข้ามชาติ
            การจัดตั้ง สำนักงาน ป.ป.ส. อาเซียน มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นศูนย์กางข้อมุลเกี่ยวยาเสพติด สนองตอบนโยบายปราบยาของชาติสมาชิกประชาคมอาเซียน 10 ประเทศ
            ที่ผท่านมาสถิติการจับกุมปุ้ต้องปาชาวต่างชาติในคดรยาเสพติดในประเทศไทย ระหว่างปี 2551-2555 พบว่ามีกลุ่มคนจาชาติอาเซยรถูกจับกุมในไทยเพื่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยสัญชาติที่ถูกจับมากที่สุดคือ ลาว รองลงมาคือพม่า กัมพูชา และมาเลเซีย ส่วนชนิดยาเสพติดที่มีการจับกุมมากเป็นอันดับต้นๆ ได้แก่ ยาบ้า ไอซ์ เฮโรอีน และกัญชา
             ท้งนี้ ตลอดหลายสิบปี ปัญหายาเสพติดถือเป้นปัญหาเรื้อรัวและทวีความรุนแรงมากขึ้นนภูมิาภคอาเซียน ตั้งแต่การลักลอบลปลูกฝิ่นและผลิตเฮโรอีนในพื้นที่ "สามเหล่ยมทองคำ" ซึ่งเป็นเขตแดนติดต่อกันของ 3 ประเทศ คือเมียร์มาร์ ลาว และไทย ตามด้วยการลักลอบปลูกกัญชาทั้งในไทย ลาว อินโนีเซีย ไม่เว้นแม้กระทั่งฟิลิปปินส์
             ประเทศต่างๆ ในอาเวียนถูกใช้เป็นจุดแวะพักยาเสพติดจากสามเหลี่ยนมทองคำ ก่อนลำเลียงต่อไปยังประเทศทีสามในทวีปยุโรป อเมริการและออสเตรเลีย
              จากสถานการณ์ดังกล่าว ทำให้ใการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน ครั้งที่ 31 เมื่อ 2541 ประเทศฟิลิปปินส์ รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน 9 ประเศ ได้ลงนาน ปฎิญญาร่วมว่าด้วยการปลอดยาเสพติดในอาเซียน ค.ศ. 2020 พร้อมวางเป้าหมายแสดงเจตนารมณ์ทางการเมืองที่สำคัญ คื อการประกาศปฎิยญาร่วว่าด้วยการปลอดยาเสพติดในอาเซียนฯ เพื่อเน้นย้ำถึงความพยายามของชาติสาชิกในการต่อสู้กับการแพร่ระบาด การต้า และการใช้ยาเสพติดในศตวรรษที่  21 และการตั้งสำนังาน ป.ป.ส. อาเซียน ก็เป็นผลผลิตหนึ่งจากปฏิญญาดังกล่าว เพื่อเป็นหน่วยงานกลางบูรณาการเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจากทั้ง 10 ประเทศให้มาร่วมทำงานกันอย่างใกล้ชิด โดยกำหนดยุทธศาสตร์สำคัญ 4 ข้อที่จะต้องดำเนินการ คือ
              1 ยุทธศาสตร์การสร้างความร่วมมือด้านการปราบปราม ซึ่งจะร่วมมือทั้งด้านการข่าว การปราบปรามกลุ่มผุ้ผลิตในประเทศเมียนมาร์ การสกัดกั้นตามแนวชายแดน ท่าอากาศยาน ละการติดตามยึดทรัพย์สินของขบวนการต้ายาเสพติดข้ามชขาติทั้งในกลุ่มอาเวียนและประเทศอื่นๆ
              2. ยุทธศาสตร์การลดพื้นที่ปลูกพืชเสพติด ด้วยรูปแบบการพัฒนาทางเลือกตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
              3. ยุทธศาสตร์การลดการแพร่ระบาดในกลุ่มที่กำหนเป็นเป้าหมาย ร่วมกันสกัดวงจรผุ้สพรายใหม่ โดยเฉพาะเยาวชนอาเซียน พร้อมทั้งสร้างมารตรฐานร่วมกันในด้านการบำบัดรักาาและฟื้นฟูสมรรถภาพผุ้ติดยาเสพติด
              4. ยุทธศาสตร์ด้านการวิจัย วิชาการ การพัฒนาความรวมมือด้านนิติวิทยาศาสตร์ กฎหมาย เพื่อให้ความร่วมมือของกลุ่มอาเว๊ยนมีความก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น
              นอกจากการตั้ง ป.ป.ส. อาเซียนแล้ว ประชาคมอาเว๊ยนยังมีกลไกความร่วมือด้านยาเสพติดอีกหลายกลไก ที่สำคัญคือการยกสถานะของคณะผุ้เชี่ยวชาญด้านยาเสพติดอาเซียนขึ้นเป็นระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียน ซึ่งจะรายงานปัญหาตรงต่อคณะกรรมการประจำอาเซยน ซึงเป้ฯองค์กรสูงสุดในการบริหารความร่วมมือในกรอบอาเซียนในด้านต่างๆ
          รวมทั้งการตั้งคณะกรรมการเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านอาชญากรรมข้ามชาติ โดยยาเสพติดเป็น 1  ใน 8 สาขาของความร่วมมือเพื่อปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติต้องจัดทำรายงานเสนอตรงต่อที่ประชุมรับยมนตรีอาเซียนว่าด้วยอาชญากรรมข้ามชาติด้วยwww.bangkokbiznews.com/news/detail/605360
             

วันเสาร์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2560

Drug Matters

             ในบรรดาปัญหาของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน นอกจากปัญหาการระบาดของโรค
ติดต่อร้ายแรง เช่น การติดเชื่อเอชไอวี โรเอดส์แล้ว ปัญหายาเสพติดยังเป้นอีกปัญหาหนึ่งเป็นภัยคุกคามต่อความมั่นคงต่อประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนมากเช่นกัน เนื่องจากยาเสพติดจะทำลายศักยภาพของประชาชนและเยาวชนอาเซียนและจะส่งผลต่อขีดความสามารถในการพัฒนาในอนาคต หากพิจารณาลักษระและความเกี่ยวข้องกับปัญหายาเสพติดของประเทศต่างๆ ในอาเซียน  ซึ่งแบ่งเป็น
              ประเทศที่มีสถานะผุ้ผลิตยาเสพติด ได้แก่ เมียนมาร์ ซึ่งเป็นผุ้ผลิตฝิ่น เฮโรอีน ยาบ้า และไอซ์
              ประเทศที่มีสถานะเป็นทางผ่านยาเสพติด หรือเป็นเส้นทางลำเลียงยาเสพติดจากแหล่งผลิตในเมียนมาร์ไปยังประเทศอื่นๆ ได้แก่ ไทย ลาว กัมพุชา เวียดนาม มาเลเซีย
           
ประเทศที่มีสถานะเป็นผุ้บริโภคหรือเป็นแหล่งแแพร่ระบาดยาเสพติด ได้แก่ ไทย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย
              สาเหตุที่ไม่มีประเทศบรูไนและสิงคโปร์ ปรากฎในการจำแนกหลุ่มประเทศที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด เนื่องจากเป้นประเทศที่มีปัญหายาเสพติดน้อยเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ในกลุ่มอาเวียน แต่ก็ไม่ได้หมายคึวามว่าต่างก็เป็นประเทศที่ปลอดยาเสพติดอย่างสิ้นเชิง เนื่องจากเมื่อศึกษาข้อมุลเกี่ยวกับลักษระของปัญหายาเสพติดหลักที่แพร่ระบาดในประศสมาชิกอาเซียน และการดำเนินงานของอาเซียนจะพบว่า
            - พ.ศ. 2519 มีการประกาศปฎิญญาอาเซียนว่าด้วยหลักการในการต่อต้านการใช้ยาเสพติดในทางที่ผิด
            - พ.ศ.2541 มีการประกาศปฎิญญาว่าด้วยการปลอดยาเสพติดในอาเซียน พ.ศ. 2563
            - พ.ศ.2543 รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนเห้นควรให้ร่นเวลาการปลอดยาเสพติดในอาเวียนจากปี พ.ศ. 2563 เป็นปี พ.ศ. 2558
แอมเฟตามีน
            - พ.ศ. 2548 มีการยกร่างแผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อต่อต้านการลักลอบค้่ายาเสพติด
            - พ.ศ. 2552 เจ้าหน้าที่อาวุโสอเาซียนด้านยาเสพติดให้การรับรองแผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อต่อต้านการลักลอบค้ายาเสพติด
            - พ.ศ.2553 มีการกำหนดเกณฑ์วัดผลสำหรับการดำเนินงานการปราบปามการผลิตและการลักลอบลำเลียงยาเสพติด ได้แก่
                   การขจัดเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการผลิตยาเสพติด
                 
 การขจัดเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการลักลอบลำเลียงยาเสพติด
                   การขจัดการลักลอบและการนำสารตั้งต้นไปใช้ในการผลิตยาเสพติด
                   การส่งเสริมความร่วมมือข้ามพรมแดนและการปฏิบัติการด้านการปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติ
               เพื่อให้การปราบปรามการผลิตและการลักลอบวำเบียงยาเสพติดเกิดผลในทางปฏิบติ ประเทศสมาชิกอาเซียนได้ใช้ปฏิญญาว่าด้วยการปลอดยาเสพติดในอาเซียน พงศ. 2558 ซึ่งหมายถึง "การดำเนินกิจกรรมการควบคุมยาเสพติดที่ผิดกฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพและประสบผลสำเร็จ พร้อมทั้งลดผลต่อเนื่องต่างๆ ในเชิงลยอันอาจเกิดขึ้นกับสังคม" เป็นกรอบความคิดหลัก และได้กำหนดกรอบทางยบุทธศาสตร์ไว้ 6 กรอบความร่วมือ ดังนี้
             1. กรอบความร่วมมือในด้านการลดอุปทานยาเสพติด คือการดำเนินการปราบปรามยาเสพติด ทั้งในด้านการข่าว การปราบปรามกลุ่มการต้ายาเสพติด การสกัดกั้นตามท่าอากาศยาน การยคึดทรัพย์สิน ฯลฯ
            2. กรอบความร่วมมือในด้านการเสริมสร้างความมั่นคงชายแดน คือ การดำเนินงานในด้านการสกัดกั้นยาเสพติดตามแนวชายแดน การเสริมสร้างชุมชนตามแนวชายแดนในเข้มแข็ง การจัดระเบียบชายแดน ฯลฯ
            3. กรอบความร่วมมือการลดพื้นที่ปลูกพืชเสพติดด้วยการพัฒนาทางเลือก คือ การใช้แนวทางการพัฒนาทางเลือกตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ มาลดปัญหาการปลูกฝิ่น
           
4. กรอบความร่วมมือด้านการสร้างภุมิคุ้มกันป้องกันยาเสพติด คือการดำเนินการด้านการป้องกนยาเสพติดในกลุ่มี่กำนดเป็นเป้าหมายร่วม สกัดวงจรของผุ้เสพยาเสพติดรายใหม่ในกลุ่มประเทศอาเซียน
เมทแอมเฟตามีน
            5. กรอบความร่วมมือด้านการแด้ไขผุ้เสพยาเสพติด คือการดำเนินการด้านบำบัดรักษาผุ้เสพยาเสพติด การพัฒนาความพร้อมเมื่อเกิดเงื่อนไขการเคลื่อนย้ายประชากรในกลุ่มประเทศอาเซียน
            6. กรอบความร่วมมือด้านการพัฒนาวิชาการและการพัฒนาในด้านต่างๆ ได้แก่ การพัฒนาความร่วมมือในด้านการวิจัย วิชาการ การพัฒนาความร่วมมือด้านนิติวิทยาศาสตร์ต่างๆ ดังกล่าว จะเห็นว่าถ้าทุกประเทศในประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนให้ความร่วมมือดำเนินการตามกลยุทธ์ต่างๆ ที่กำหนดไว้อย่างต่อเนื่อง จริงจัง และจริงใจ เชื่อได้ว่าปัญหายาเสพติดในประเทศอาเวียนน่าจะคลี่คลาย ลงได้ตามสมควร ถึงแม้ว่าอาจจะไม่บรรลุถึงเป้าหมายการเป็นอาเวียนปลอดยาเสพติด ภายใน พ.ศ. 2558 ดังที่กำหนดไว้ก็ตามwww.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=4203&filename=index
              ประเทศในกลุ่มอาเซียนมีความร่วมมือกันมากนานแล้วในเรื่องของปัญหายาเสพติด แต่ด้วยสถานกาดรณืของอาชญากรรมข้ามชาติในรูปแบบยาเสพติดซึ่งเป้นปัญหาใหม่ที่เกิดขึ้น จำเป้นอย่งย่ิงที่ความร่วมมือในเรื่องนี้ต้องมีความเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนมากขึ้น โดยเฉพาะเมื่ออยู่ภายใต้กรอบความร่วมมือของประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
            อาชญากรรมข้ามชาติในรูปแบบยาเสพติดเป็นอาชญากรรมที่กระทำโดยองค์กรอาชญากรรม มีการทำงานแบบลับ มีกระบวนการซับซ้อนเพื่อหลีกเลี่ยงการถูกจับกุมกวาดล้าง ด้วยเหตุนี้ในการดำเนินการด้านการสืบสนวนติดตามจึงต้องใช้เทคนิคการสืบสวนแบบพิเศษเข้ามาดำเนินการด้วย
             ในการประชุมสุดยอดผุ้นำอาเซียน ครั้งที่ 21 (2555) ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพุชา มีการับรองปฏิญญาร่วมของผุ้นำอาเวียน เพื่อให้เกิดการเป้นอาเวียนที่ปลอดยาเสพติดในปี 2015 (พ.ศ.2558) ซึ่งเป้นการเลื่อนกำหนดการปลอดยาเสพติดของอาเซียนให้เร็วขึ้นอีก 5 ปี จากเดิมที่กำหนดไว้ในการประกาศวิสัยทัศน์ของการเป็นเขตปลอดยาเสพติดอาเวียนภายในปี 2020 ( พ.ศ. 2563) ทั้งนี้ ได้มีการกำหนดยิยามของ "ประชาคมที่ปลอดยาเสพติด" ว่าหมายถึง การที่สมาชิกอาเวียนสามารถควบคุมปัญหายาเสพติดได้อย่งมีประสทิธิภาพและประสบผลสำเร็จ โดยไม่สงผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตที่เป็นปกติสุขของสังคม
            ประเทศในอาเซียนที่ประสบปัญหาในเรื่องการเสพยาเสพติดในระดับรุนแรง ได้แก่ อินโดนีเซีย เมียนมาร์ ฟิลิปปินส์ ไทย ในขณะที่ กัมพุชา ชาว มาเลเซีย และเวียดนาม ปัญหาการเสพยาเสพติดอยู่ในระดับปานกลาง สำหรับประเทศบรูไนและสิงคโปร์จัดเป็นประเทศที่มีปัญหายาเสพติดน้อย
            การป้องกันและแก้ไขปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติในรูปแบบยาเสพติดโดยลำพังเฉพาะประเทศใดๆ จะกระทำได้ยากลำบากเนื่องจากสาเหตุหลายประการ เนื่องจาก
           - ความหลากหลายของรูปแบบการกระทำผิด กล่าวคือมีการขนส่ง การลักลอบลำเลียงในรูปแบบใหม่ที่แตกต่างไปจากเดิม ชเ่น การขนส่งทางทะเล ช่องทางไปรษณีย์ การปลอดแปลงเอกสารเพื่ให้ผ่านพิธีการศุลกากร
            - การกระทำผิดบนพื้นที่คาบเกี่ยวระหว่างประเทศ ผุ้ร่วมกระทำผิดมีมากกว่าหนึ่งเชื้อชาติ การว่าจ้าง มีกระบวนการที่ซับซ้อนโดยที่ผุ้รับจ้างไม่รู้ถึงผู้รับจ้างต้นทางที่แท้จริง
            - กระบวนการระหว่งประเทศในเรื่่องยาเสพติดที่ความล่าช้า เนื่องจากข้อจำกัดทางกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องพยานหลักฐานและนโยบายของแต่ละประเทศในการให้ความร่วมมือค้นหาพยานหลักฐาน
            - ยังประสบปัญหารเรื่องขอบเขตอำนาจในการจับกุมและดำเนินคดีผุ้กระทำผิดข้ามพรมแดน
            ด้วยเตหุนี้เอง หากประเทศอาเซียนต้องการแก้ไขปัญหารอาชญากรรมข้ามชาติในรูปแบบยาเสพติดอย่งจริงจังแล้ว จำเป้นจะต้องร่วมมือกันในการวางกรอบกฎหมายระหว่างประเทศให้มีความรัดกุมและมีประสิทธิภาพ เพื่อให้การจัดการกับปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติในรูปแบบยาเสพติดมีความคล่องตัวมากขึ้น เพื่อให้คาดหวังได้ว่าการเป็นอาเวียนที่ปลอดยาเสพติดใน พงศ. 2558 เป็นความฝันที่ใกล้ความจริงมากยิ่งขึ้นthailand.prd.go.th/1700/ewt/aseanthai/ewt_news.php?nid=4531&filename=index

           
            -

วันศุกร์ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2560

ASEAN Structure

          โครงสร้างอาเซียน 
         

         ประกอบด้วย การประชุมสุดยอดอาเซียน คณะมนตรีประสานงานอาเซียนซึ่งแบ่งออกเป็นสามเสาหลัก ประกอบด้วย 1) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Comunity - ASC) 2) ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน (ASEAN Socio3Cultural Comnunity - ASCC) อาเซียนกำลังเร่งรวมตัวทงเศราฐกิจเพื่อสร้างเขตการต้าเสรีอาเซียนและเขตการลงทุนอาเซียน เพื่อพัฒนาอาเซียน ซึ่งมีประชากรกวา 567 ล้านคน และมีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ให้ป็นตลาดและฐานการผลิตที่เป้นหนึ่งเดียวภายในปี 2558 ซึ่งจะทำให้อาเวียนน่าสนใจและมีอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจ 3) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม ASEAN Socio-Cultural Community - ASCCASEAN Socio-Cultural Community - ASCCอาเวียนกำลังมุ่งพัฒนาความร่วมมือในสาขาการศึกาา วัฒนธรรม สาธารณสุข พลังงาน สวัสดิการสังคม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งมีเป้าหมายให้ประชาชนในภูมิภาค รู้จักและเข้าใจกันมากขึ้นมีความรุ้สึกเป้นส่วนหนึ่งของประชาคมอาเซียนนี้
          คณะมนตรีประสานงานอาเซียนประกอบด้วยรัฐมนตรีต่างประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียนทำหน้าที่เตรียมกรประชุมสุดยอดอาเซียน ประสานงานความตกลงและข้อตัอสินใจของที่ประชุมสุดยอดอาเซียนประสารงานระหว่าง 3 เสาหลัก ดูแลการดำเนินงานและกิจการต่างๆ ของอาเวียนในภาพรวม คณะมนตรีประสานงานอาเวียนจะมีการประชุมอย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี และมีองค์กรเฉพาะสาขา
          คณะมนตรีประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย คณะมนตรีประชาคม 3 เสาหลัก ได้แก่ คณะมนตรีการเมืองและความมั่นคงอาเซียน คณะมนตรีประชาคมเศราบกิจอาเวียน และคณะมนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ซึ่งเป็นผู้แทนที่ประเทศสมาชิกแต่งตั้งให้เป็นผุ้รับผิดชอบแต่ละเสาหลัก มีอำนาจหน้าที่ในการประสานงานและติดตามการทำงานตามนโยบาย ดดยเสอนรายงานและข้อเสนอแนะต่อที่ประชุมผุ้นำ มีการประชุมอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง ประธานการประชุมเป็นรัฐมนตรีที่เหมาสมจากประเทศสมชิกซึ่งเป็นประธานอาเซียน
        องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา องค์การระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา (เช่น ด้านสาะารณสุข ด้านกลาโหม ด้านการศึกษาฯลฯ) ประกอบด้วยรัฐมนตรีเฉพาะสาขา มีหน้าที่ปฏิบัติตามข้อตกลงและข้อตัดสินใจของที่ประชุมสุดยอดอาเซียนที่อยู่ในขอบข่ายการดำเนินงานของตน และเสริมสร้างความร่วมมือในสาขาของแต่ละองค์กรให้เข้มแข็งขึ้น เพื่อสนับสนุนการรวมตัวของประชาคมอาเซียน
        เลขาธิการอาเซียนและสำนักเลขาธิการอาเซียน สำนักเลขาธิการอาเซียนได้จัดตั้งขึ้นตามข้อตกลงที่นามโดยรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเวียน ครั้งที่ 1 ในปี 2519 เพื่อทำหน้าที่ประสารงานและดำเนินงานตามดครงการและกิจกรรมต่างๆ ของสมาคมอาเซียน และเป็นศุนย์กลางในการติดต่อระหว่างสมาคมอเซียน คณะกรรมการ ตลอดจนสถบันต่างๆ และรัฐบาลของประเทศสมชิกสำนักเลขาธิการอาเซียนตั้งอยู่ที่รุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซียน โดยมีหัวหน้าสำนักงาน เรียกว่า ไลขาธิการอาเซียน" ซึ่งได้รับการแต่างตั้งดดบที่ปรชุมสุดยอดอาเซียน โดยมีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี และต้องได้รับเลือกจากคนชาติของรัฐสมาชิก โดยหมุนเวียนตามลำดับตัวอักษร ผุ้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนคนปัจจุบันเป็นคนไทย คือ ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ ซึ่งมีวาระดำรงตำแหน่งระหว่างปี่ ค.ศ. 2008-2012 (พ.ศ. 2551-2555)
        คณะกรรมการผุ้แทนถาวรประจำอาเซียน เป็นผุ้แทนระดับเอกอัตรราชทุตที่แต่างตั้งจากประเทศสาชิกให้ประจำที่สำนักงานใหญ่อาเซียน กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซียน มีหน้าที่สนับสนุนการทำงานของคณะมนตรีประชาคมอาเซียนและองค์กรระัดบ รัฐมนตรีเฉพาะสาขา ประสานงานกับเลขาธิการสำนักงานอาเซียนและสำนักงานเลขาธิการอาเซียนในเรื่องที่เกี่ยวข้อง และประสานงานกับสำนักงานเลชาธิการอาเซียนแห่งชาติและองค์กรระดับรัฐมนตรีอาเวียนเฉพาะสาขา
         สำนักงานอาเซียนแห่งชาติ หรือกรมอาเวียน เป็นหน่วยงานระดับกรมในกระทรวงการต่างประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน วึ่งแต่ละประเทศได้จักตั้งขึ้นเพื่อทำหน้าที่รับผิดชอบประสานงาน สนับสนุนภารกิจและความร่วมมือต่างๆ เกี่ยวกับอาเวียนในประเทศนั้นๆ สำหรับประเทศไทยหน่ยงานที่รับผิดชอบ คือ กรมอาเวียน กระทรวงการต่างประเทศ
         องค์กรสิทธิมนุษยชนอาเซียน เป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นโดยความประสงค์และหลักการของกฎบัตรอาเซียนเกี่ยวกับการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขึ้นพื้นฐาน ซึ่งคณะทำงานและอำนาจหน้าทีจะได้กำหนดโดยที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนต่อไป
          มูลนิธิอาเซียน มูลนิธิกาเวียสนับสนุเลขาธิการอาเวียนและดำเนินการร่วมกับอค์กรของอาเวียนที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการสร้างประชาคมอาเวียน โดยการส่งเสริมความสำนึกที่เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับอัตลักษณ์ของอาเซียน การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชาชน การดำเนินงานร่วมกันที่ใกล้ชิดระหว่งภาคธุรกิจ ภาคประชาสังคม นักวิชาการ และผุ้มีส่วนได้เสียอื่นๆ ในอาเซียนregion2.prd.go.th/main.php?filename=asean_structure
         ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 
          แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังตมและวัฒนธรรมอาเซียน ประกอบด้วย
          การพัฒนามนุษย์ 
          - ให้ความสำคัญกับการศึกษา
          - ลงทุนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
          - ส่งเสริมการจ้างงานทีเหมาะสม
          - ส่งเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศ
          - การอำนวยความมสะดวกในการเข้าถึงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงประยุกต์
          - เสริมสร้างทักษะในการประกอบการสำหรับสตรี เยาวชน ผุ้สูงอายะ และผุ้พิการ
          - พัฒนาสมรรถภาพของระบบราชการ
         การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม 
          - การขจัดความยากจน
          - เครือข่ายความปลอดภัยทางสังคมและความคุ้มกันจากผลกระทบลบจากการรวมตัวอาเซียนและโลกาภิวัฒน์
          - ส่งเสริมความมั่นคง และความปลอดภัยด้านอาหาร 
          - การเข้าถึงการดุแลสุขภาพและส่งเสริมการดำรงชีวิตที่มีสุขภาพ
          - การเพิ่มศักยภาพในการควบคุมโรคติดต่อ
          - รับประกันอาเซียนที่ปลอดยาเสพติด
          - การสร้างรัฐที่พร้อมรับกับภัยพิบัติและประชาคมที่ปลอดภัยยิ่งขึ้น
         ความยุติธรรมและสิทธิ
          - การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิและสวัสดิการสำหรับสตรี เยาวชน ผุ้สูงอายุ และผุ้พิการ
          - การคุ้มครองและส่งเสริมแรงงานโยกย้ายถิ่นฐาน
          - ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ
         ส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม
          - การจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมของโลก
          - การจัดการและการป้องกันปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมข้ามแดน
          - ส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม และการมีส่วนร่วมขอประชาชน
          - ส่งเสริมเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม
          - ส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานการดำรงชีวิตในเขตเมืองต่างๆ ของอาเซียน และเขตเมือง
          - การทำการประสานกันเรืองนดยบายด้านส่ิงแวดล้อมและฐานข้อมูล
          - ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรชายฝัง และทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน
          - ส่งเสริมการจัดการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาิต และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน
          - ส่งเสริมความยั่งยืนของทรัพยากรน้ำจืด
          - การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการจัดการต่อผลกระทบ
          - ส่งเสริมการบริหารจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน
          การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
           - ส่งเสริมการตระหนักรับรุ้เกี่ยวกับอาเซียน และความรู้สึกของการเป็นประชาคม
           - การส่งเสริมและการอนุรักษณ์มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน
           - ส่งเสริมการสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรมและอุตสาหกรรม
           - การมีส่วนเกี่ยวข้องกับชุมชน
           การลดช่องว่างทางการพัฒนา

วันพฤหัสบดีที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2560

ASEAN Education Watch

            ด้วยทิศทางการศึกษาโลกในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงในหลากหลายรูปแบบ เพราะปัจจัยขององค์ประกอบทางด้านการศึษาและความต้องการของตลาดแรงงานมีพลงัติอยู่ตลอดเวบลา จึงทำให้แนวทางด้านการศึกษาจำเป็นจ้องมีการปรับเปลียนวิธีการและแนวทางเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
            "ประชาชาติธุรกิจ" มีโอกาสสัมมทภาณืพิเศษ" ศ.ตร.วาสิลิโอส อี เอฟเทอนาคิส" นายกสมาคมเวิลด์ไดดัก และสมาคใไดดักต้า แห่งประเศเยอรมนี กูรูด้านการศึกษาระัับโลก ถึงประเด็นและทิศทางของการศึกษาในปัจจุบัน
             เบื้องต้น "ศ.ตร.วาสิลิโอส อี เอฟเทอนาคิส" หล่าวว่าสถานกาณณ์การศึกษาทั่วโลกในปัจจุบันต้องเผชิญกับส่ิงที่ท้าทาย โดยในช่วงเวลา 40 ปี ที่ผ่านมาถือว่ามีคบวามแตกต่างกับปัจจุบันเป็นอย่งมากโดยเฉพาะเรื่องความต้องการของเด็ก ทำใหต้องเกิดการปฏิรูปาการศึกษาทั่งระบบ เพื่อรับกับการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
            "สิ่งที่จะต้องทำในการปฏิรูปการศึกษา ประกอบด้วย  ปรเด็นหลักก ๆ คือการปฏิวัติทฤษฎีการศึกษาระบบการสอนและดิจิทัล ซึ่งในเรื่องของการปฏิวัติทฤษฎีการศึกษา โดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความต้องการของเด็ก การมองว่าเด็กต้องเป็นศูนย์กลาง และระบบที่เป็นตัวกำหนดการเรียนรู้ของเด็ก ซึ่งวิธีคิดแบบเดิมนี้ถือว่าใช้ไม่ได้"
              ทฤษฎีใหม่ของการศึกษานับจากนี้ไป คือต้องเปลี่ยนวิธีคิดและเน้นให้การศึกษามีความสัมพันะ์กับสังคมรอบตัว ทั้งการสัมผัส สื่อสาร และติดต่อระหว่างกัน ตัวอย่างเช่น ภาษา ต้องทำให้เกิดการติดต่อระหว่งบุคคลที่ 3 ซึ่งจะทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน เกิดการแสดงความคิดเห็นและถกเถียงระหว่งเพื่อนในชั้นเรียน ฉะนั้น ความรุ้ที่เกิดขึ้นจะป็นการข้ามกันไปข้ามกันมา ทัเ้งระหว่างครู นักเรียน และผุ้ปกครอง ซึ่งจากรายงาน Co-Construction ของนิวซีแลนด์ ระบุว่า วิธีการใหม่จะทำให้เกิดประสิทธิภาพในการเรียนรุ้สูงมาก
Worlddidac Asia 
              "ทฤษฎีนี้จะเป็นกุญแจใหม่ที่สร้างการเรียนรู้ของเด็ และจะกำหนดครุให้รู้จักตั้งคำถามมากว่าการบอกเล่าซึ่งจะทำให้เด็กเรียนรุ้ด้วยวิะีการใหม๋ ๆ และส่ิงทนี้จะเป้ฯการเปลี่ยนแลงครู จนนำมาสู่การเปลี่ยนแปลงทฤษฎีการสอนต่อไป"
               ทั้งนี้ "ศ.ดร.วาสิลิโอส อี เอฟเทอนาคิส" กลาวเพิมเติมว่า เมื่อวิะีการเปลี่ยน ทั้งวิธีการเรียน วิธีการสอน จะทำให้ทั้งเด็ก และครูตื่นตัวอยุ่เสมอ แต่ส่ิงสำญต้องทำให้เกิดบรรยากาศการมัส่วนร่วมในชั้นเรียน ทั้งการถกประเด็นการแสดงความคิดเห็น เพ่อการกระตุ้นการเรียนรุ้ในอีกทางหนึ่ง
               "วิธีการสอนใหม่ต้องมีการแบ่งอายุ เพศ วัฒนธรรม เพื่อให้เกิดการกำหนดรายละเอียดที่มีความแตกต่างกัน ซึงการแบ่งแยกนี้จะทำให้เกิดการกำหนดวิธีกาเรรยนรู้ของแต่ละบุคคล โดยทฤษฎีใหม่จะเนนความสามารถในด้านเด่ินของเด็กมากขึ้น เพราะมนุษย์ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงจุดด้อยได้"
               ฉะนั้น จะต้องพัฒนาจุดเด่นให้ดีขึ้น เข้มแข็งขึ้น ที่สำคัญแนวทางนี้จะเื้อใเห้เกิดการเรียนรุึ่ให้กับคนทุกกลุ่ม สร้างความเท่าเทียมในการเข้าถึงการศึกาา แม้ว่าการเรียนรุ้ซึ่งกันและกันของคคนจะเป็น่ิงสำคัญ แต่ประเด็นของเรื่องดิจิทัล และเทคโนโลยีก็ถือเป็นปัจจัยส่วนหนึ่งที่สำคัญต่อการเรียนรู่เนื่องจากเทคโนดลยีปัจจุบันสามารถบันทึกข้อมุลสถิติของพัฒนาการการเรียนรู้ได้ ซึ่งสามารถนำข้อมุลเห่านั้นมาวิเคราะห์ เพื่อการสร้างรูปแบบของการเรียนรู้ได้
           

            "ศ.ดร.วาสิลิโอส อี เอฟเทอนาคิส" กล่่าวเพิ่มเติมอีกวา นอกจาก 3 ประเด็นที่จะต้องทำในการปฏิรูปการศึกษาแล้ว ประเด็นเรืองของความเท่าเทียมและการเข้าถึงทางการศึกษา ยังเป็นประเด็นท้าทายของรัฐบาลและนักการศึกษาทั่วโลก ทั้งเรื่องของประสิทธิภาพและคุณภาพของการเตรียมนักเรียนให้พร้อม เป็นบุคลากรที่มีความสามารถสำหรับดลกและเศรษบกิจของโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการยกระดับความสำคัญของอาชีวศึกษาที่ไม่ใช่เพียงเป็นเรื่องชของการเพ่ิมศักยภาพทางการสอน แต่ตวมถึงการสร้างการยอมรับศักดิ์ศรีและบทบาทสู่สายตาสาะารณชน
             "สำหรับประเทศไทยและประเทศในอาเซียนถือว่ามีปัฐหาคลายกันในประเด็นของอาชีวศึกาาทั้งเรื่องการไม่เป้นที่ยอมรับเท่าที่ควรในสังคม การขาดแคลนครู อาจารย์ที่มีคุณภาพและเครื่องมือการสอนที่เหมาะสมที่สำคัญคือเรื่องของกรอบความคิด โดยเฉพาะเด็กนักเรียนที่เรียนดีที่มักจะเลือกเรีวนสายสามัญมากกว่าที่จะสนใจอาชีวศึกษา ซึ่งวิธีคิดแบบนี้ควรเปลี่ยแปลงไป"
              อย่างไรก็ตาม ประเทศในอาเซียนต่างตระหนักถึงปัญหาเหล่านี้ดีอยู่แล้ว ดังนั้น การเตรียมความพร้อมทีจะนำเรื่องอาชีวศึกาาให้เป็นหนึ่งในสาระสำคัญ เพื่อรับความเปลี่ยนแปลงของประชาคมอาเซียนที่เปิดกว้างของตลดาแรววาน จึงเกิดความพยายามที่จะทำให้มีการยอมรับสถานภาพของนักศึกษาอย่างเท่าเทียมกันในกลุ่มประเทศอาเซียน        
              "ตัวอย่างที่เห็นชัดเจนคื อประเทศไทยและลาว ซึ่งได้ทำงานร่วมกันในเรื่องของอาชีวศึกษา โยทำความตกลงในการเป็นโรงเรียนเครือขายกันของสองประเทศใเรื่องของอาชีวะ ซึ่งรัฐบาลลาวให้ความสำคัญเรื่องอาชีวศึกษาเป็นอย่งดี โดยมีการกำหนดวบประมาณที่เพิ่มขึ้น ละมีการให้เงินเดือนแก่นักเรียนที่พร้อมจะทำงานในขณะที่ศึกษาอยุ่ด้วย
             
"ศ.ดร.วาสิลิโส อี เอฟเทอนาคิส" กล่าวอีกว่าเรื่องปัญหาของคุณภาพของครู และเทคนิคการสอนของกลุ่มประเทศอาเซียนนับว่าเป้นประเด็นที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งเด่วย รวมไปถึงการสอนและอุปกรณ์การเรียนทีมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น รวมถึงโอกาสฝึกงานที่ดี ซึงรัฐลาลทุกประเทศควรไให้ความสำคัญในเรื่องนี้มากขึ้น
               ส่วนอุปสรรคของการพัฒนาด้านการศึกษา คือการขอดแคลนสถิติ และข้อมุล ที่แม่นยำ และทันเหตุการณ์ โดยเฉพาะเรื่องการลงทุนทางเทคโนดลยีและอุปกรณ์การเรียนการสอน ซึงประเทศในอาเซียนอย่าง สิงคโปร์ ถือเป็นผุถ้นำในเรื่องการลงทุนในอุปกรณ์การเรียนการสอนอย่างเห็นได้ชัดและสำหรับประเทศไทยมีความพยายามในการลงทุนในเรื่องนี้มากขึ้นเช่นกัน
               ทั้งนี้ สมาคมเวิลด์ไดดัก และไดดักต้านับเป็นสมาคมที่มีบทบาทอย่างมากในการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีเพื่อการสอนและการเรียน ซึงในปีนี้จะมีการจัดกิจกรรมสนับสนุนและพัฒนาระบบการศึกษาสากล ทั้งงานไดดกต้า งานแสดงวัสดุ อุปกรณ์สื่อเทคโนโลยี การเรียนการสอนที่ใหญ่ที่สุดในโลก ที่เมืองโคโลญจ์ ประเทศเยอรมนี และงานเวิลด์ไดดัก เอเชีย ที่ฮ่องกง (2016)

              - www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1453357879

วันพุธที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2560

Labor for AEC Job Market

             การผลิดแรงงานฝีมือของไทยหรือประเทศต่างๆ ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอาจพิจารณาตลาดแรงงานที่หว้างขึ้นและมีอิทะิพลต่อการแข่งขันของแรงงานในภูมิภาค ประเทศในประชาคมเศรษบกิจอาเซบยนเป็นส่วนหนึ่งของระบบเศณาฐกิจระหว่างประเทศ ตลาดแรงงานในเอเชียมีความต้องการอาชีพทางด้านการขาย วิศวกรรมในทุกสาขา บัญชีและการเงิน นักวิจัย และพนักงานสำนักงาน มากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการแรงงานในประเทศไทยมีมีความต้องการแรงงานในอาชีพที่เกี่ยวกับงานวิศวกรรม งานขาย บัญชีธุรการ และเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นจำนวนมาก โดยกลุ่มอุตสาหกรรมในประเทศไทยที่มองหาผู้สมัครงานมากที่สุด ได้แก่กลุ่ทยานยนต์กลุ่มอิเลกทรอนิกส์ กลุ่มสินค้าอุปโภคบริโภค กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ และกลุ่มธุรกิจก่อสร้าง
           ความไม่สอดคล้องของการผลิตแรงงานกับควมต้องการของตลาดแรงงาน การผลิดบุคลากรที่มีคุณสมบัติไม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานทำให้เกิดปัญหาการว่างงานและขาดแคลนแรงงานอเด็คโก้กรุ๊ป ประเทศไทย อ้างถึงข้อมุลจาก Deloitte และ PWC ว่าภูมิภาคเอเชียตะวันอกเฉียงใต้และคาบสุทรแปซิฟิกกำลังประสบกับปัญหาการขาดแคลนแรงงาน และมีแนวโน้มว่าปัญฐหาจะีความรุนแรงขึ้น เห้นได้จากอัตราการว่างงานในภาพรวมของตลาดแรงงานในภู๔มิภาค ซึ่งคาดว่าจะมแนวโน้มมากขึ้นถึง 6 % ไปจนถึงปี 2560 ประเทศที่ประสบปัญหามากที่สุดได้แก ญี่ปุ่น ตามด้วยเวียดนาม ไทย โอ่งกง มาเลเซีย สิงคโปร์ ไต้หวั และจีน จะเห็นได้่ว่าเวยดนามและไทย ประสบกับปัญหาความไม่สอดคล้องของคุณสมบัติของแรงงานกับความต้องการของนายจ้างในอันดับต้นๆ และยังมีประเทศสมาชิกในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เช่น มาเลเซย และสิงคโปร์ ที่ประสบปัญหาเดียวกัน นอกจากนี้ประเทศไทยกไลังขาดแคลนบุคลากรที่มีความสามารถเฉพาะทาง โดยเฉพาะอย่างวยิ่ง ช่างเทคโนิคหรือช่างฝีมือชั้นสูง ปัญหาดังกล่าวทำให้ผลผลิตและการแข่งขัน รวมถึงประสิทธิภาพในการตอบสนองต่อลูกค้าของอุตสาหกรรมลดลง สาเหตุสำคัญของปัญหาได้แก่ การขาดแคลนบุคลากรที่มีความสามารถเฉาพะทาง รองลงมาคคือสถานที่ทำงานไม่ดึงดูดใจ การที่ผุ้สมัครไม่มีประสบการณ์การทำงานเป้นสาเหตุอันดับสมของปัญหา และความไม่สอดคล้องกันของเงินเดือนที่ผุ้สมัครงานต้องการและนาย้างสามารถจ่ายได้เป็นสาเหตุในอันดับถัดมา และสาเหตุอันดับสุดท้ายคือทะเลที่ตั้งของสถานที่ทำงานที่ไม่ดึงดูดใจผุ้สมัค บางประเทศแก้ปัญหาด้วยนโยบายนำเข้าแรงงนที่ขาดแคลน เช่นสิงคโปร์และมาเลเซียนำเข้าแรงงานฝีมือระดับสูง ในขณะที่ประเทศไทยนำเข้าแรงงานฝีมือที่เป็นช่างเทคนิคและแรงงานในระดับผู้บริหาร นักวิชาการ และนักกฎหมาย
            ความไม่สอดคล้องของคุณลักษณะของแรงงนกับความต้องแารแรงงานของสถานประกอบการเป็นหนึ่งในปัญหาของแรงงานไทย ท้งในด้านการศึกษาและด้านอายุของแรงงาน จำนวนแรงงานในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและระดับอาชีวะมีแนวโน้มลดลง ในขณะที่กลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่ตลาดแรงงานมีความต้องการมากที่สุดทั้งนี้เป็นผลมาจากปัจจัยทางด้านค่านิยมในการเรียนสายสามัญมากว่าสายอาชีพ ความต้องการต่างจ้างที่สุงขึ้นเนื่องจากต่าจ้างของแรงงานในระดบปริญญาตรีสุงกว่าค่าจ้างของแรงงานในระดับอาชีวศึกษา และนโยบายการส่งเสริมการศึกษา เช่น กาองทุนกุ้ยืมเพื่อการศึกษา เปิดโอากสทางการศึกษาให้กับแรงงานมากขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่าผุ้ที่สำเร็จการศึกษาทั้งในสายอาชีวะและสายสามัญโดยเฉพาะในสาขาวิชาที่เป้นที่ต้องการของผุ้ประกอบการ เช่น ด้านช่างอุตสาหกรรม และสายวิทยาศาสตร์ ยังมีสัดส่วนน้อยมากเมื่อเทียบกับความต้องการของตลาดแรงงาน และยังพบว่าช่วงอายุของแรงงานที่มีการจ้างงานในภาคธุรกิจมากที่สุดคือช่วงอายุ 20-39 ปี โดยพบว่แรงงนในภาคการผลิตส่วนใหญ่จะมีอายุไม่เกิน 34 ปี และจำนวนแรงงานที่มีอายุมากกว่า 34 ปีมีแนวโน้มลดลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งคาดว่าจำนวนแรงงานที่ลดลงส่วนนี้ออกไปทำงานนอกระบบแทน...
         
ปัจจุบันรัฐบาลไทยให้ความสำคญกับการศึกษาสายวิชาชีพเป็นอย่างมาก และมีนโยบายส่งเสริมให้นักเรียนหันมาสนใจศึกษาสายวิชาชีพ เพื่อลดความเสี่ยงของการว่างงานหลังจบการศึกษาระดับปรญญา เพราะคุณสมบัติไม่ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้วิเคราะห์ทักษะของแรรงานและความต้องการของนายจ้าง....
            การผลิตแรงงานฝีมือ : การศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
            การศึกษาในระดับอาชีวะศึกษาและอุดมศึกษาเป็นแหล่งผลิตบุคลากรและแรงงานฝีมือที่สำคัญของประเทศภาคธุรกิจ โดยเฉพาะภาคการผลิตต้องการแรงานระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ขึ้นไป ร้อยละ 36.2 อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ต้องกรารแรงงานระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสุง (ปวส.) มากที่สุดส่วนภาคบริการและอื่นๆ ต้องการแรงงาระดับปรญญาตรีมากที่สุด
             การศึกษาในระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกาามีเป้าหมายและระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษาแตกต่างกัน นักเรียนระดับอาชีวศึกษาเป็นนักเรียนที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นหรือมัธยมศึกษาปีที่ 3 ใช้ระยะเวลาเรียน 3 ปี เมื่อสอบผ่านการศึกาาในระดับอาชีวะจะได้ประกาศนียบัตริวิชาชีพ (ปวช) และหากศึกษาต่อในสถาบันอาชีวะระดับชั้นที่สุงขึ้น เมื่อสอบผ่านจะได้รับประกาศนียบัติวิชาชีพชั้นสุง (ปวส) ซึ่งจะใช้เวลา 2 ปี ส่วนนักเรียนที่ศึกษาในระดับอุดมศึกษาโดยทั่วไปเป็นนักเรียนที่จบการศึกษาระดับมัธยมปลาย (หรือสายสามัญ) และเมื่อจบการศึกษาจะได้รับวุฒิบัตรปริญญาตร ผุ้ที่ได้รับประกาศนียบัติวิชาชีพชั้นสุงจะสามารถศึกาต่อในสถาบันการศึกษาที่มีหลักสูตรการศึกษาต่อเพนื่องเพื่อให้ได้รับวุฒิบัตรปริญญาตรี โดยทั่วไปใช้เวลาประมาณ 2 ปี...
              ... ข้อมูลจากการสัมภาษณืรองประธานสมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย ประธารกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และประธานสภาพอุตสาหกรรมท่องเทียวแ่หงประเทสไทย ยืนยันความต้องการแรงงานท้งประมาณและคุณภาพ ความต้องการแรงงานส่วนมากเป้นแรงงานฝีมือระดับอาชีวศึกษา และถัดมาคือแรงงานระดับประญญา ส่วนที่เหลือเป็นแรงงานไร้ฝีมือ เปรียบเทียบในกลุ่มอุตสาหกรรมทั้งสามนี แรงงานด้านเทคนิคในตลาดอุตสาหกรรมยานยนต์มีความต้องการมากที่สุด มากว่าครึ่ง (ร้อยละ 55 ) เป้นแรงงานระดับล่าง รองลงมาคือแรงงานด้ารเทคนิค (ร้อยละ 35 ) และสุดท้ายคือแรงงานระดับการจัดการ (ร้อยละ 10) อย่างไรก็ตาม ในอีก 5 ปีข้างหน้านี้ คาดการณ์ว่าความต้องการในส่วนผุ้เชี่ยวชาญด้านเทคนิคจะเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 50 ของแรงงานในกลุ่มอุตสาหกรรมเดียวกันนี และความต้องการแรงงานระดับล่างจะลดลงเหลือประมาณร้อบละ 35 ส่วนคุณสมบัติของแรงงานนั้นมีความแตกต่างกันไปตำแหน่งงานและสายการผลิต

ปัจจุบันอุตสาหกรรมอาหารจะมีความต้องการแรงงานส่วนมากอยุ่ในกลุ่มพนักงานระดับปฏิบัติงาน (ประมาณ ร้อยละ 20 ) รองลงมาคือระดับหัวหน้างานประมาณร้อยละ 10 และระดับแรงงานปริญญาประมาณร้อยละ 5 เนื่องจากอุตสาหกรรมประเภทนี้มีสายโซ่มุลค่าที่ยาว ความต้องการแรงงานที่เพ่ิมากขึ้นในอีก 5 ปีข้างหน้า จะอยู่ในกลุ่มการผลิตอาหารและระบบลอจิสติกส์ ลักษระงานท่ี่ต้องการอันดับแรกเป้นงานด้านเทคนิคเพื่อโุแลเครื่องจักรลำดับถัดมาคือผู้ตรวจคุณภาพตามมาตรฐานอาหารสากล
              ส่วนความต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในปัจุบันประมาณร้อยละ 50 เป็นกลุ่มที่อยุ่ในธุรกิจโรงแรม อยู่ในกลุ่มร้อนอาหารร้อยละ 20 ธุรกิจสปาร้อยละ 15 และการท่องเที่ยวและของที่ระลึกประมาณร้อยละ 15 โดยดาดการณ์ว่าจะมีความต้องการแรงงานเพ่ิมถึงประมาณ 1 แสนคนเมื่อเปิดเขตเศรษฐกิจอาเซียน...

              - บางส่วนจาก บทความ "ข้อท้าทายในการผลิตแรงงานฝีมือไทยเพื่อเข้าสูตลาดแรงงานประชาคมเศรษบกิจอาเซียน" จงจิตต์ ฤทธิรงค์ (อาจารย์ประจำ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล), รีนา ต๊ะดี (นักปฏิบัติการวิจัย สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล)

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...