จุดเริ่มตต้นของฝิ่น ข้อมูลในเว็บไซต์ของ "หอฝิ่น อุทยานสารเหลี่ยมทองคำ" ตั้งอยู่ ใน จ. เชียงราย ระบุว่าประวัติศาสตร์ของฝิ่นเร่ิมขึ้นตั้งแต่ประมาณ 3,400 ปี ก่อนคริสตกาล เมื่อชาวไรทางตอนต้ของเมโสโปเตเมียเพาะปลูกพืชชนิดนี้ นับแต่นั้นผุ้คนก็ได้เพาะปลูกและใช้ฝิ่นเป็นสารเสพติด และเป็นยารักษาโรค
ฝิ่นมีผลกระทบต่อทวปเอเชียอยางมาก อังกฤษได้กำไรมหาศาลจากการต้าฝิ่น และเพราะต้องการรักษาผลประโยชน์นี้ ไว้จึงทำให้เกิดสงครามกับจีนถึงสองครั้ง..เปิดเผยว่ฝิ่นซึ่งมักเรียกกันว่า
"ทองคำสีดำ" เป็นสิ่งที่มีค่ามากจนคนสมัยนั้นใช้ทองคำแทนเงินในการซื้อ ขาย ในช่วงปลายปีระหว่าง พ.ศ. 2443-2542 การค้าฝิ่นทำให้ "สามเหลี่ยมทองคำ"เป็นที่รู้จักทั่วโลก
สามเหลี่ยมทองคำ เป็นชื่อที่บรรดาพ่อค้าฝิ่นตั้งให้กับบริเวณที่มีัลักษณะเป็นพท้นที่สามเหลี่ยมบรรจบกันและรอยต่อระหว่างสมประเทศ ไ้แก่ ไทย ลาวและพม่า ิดนแดนสามเหลี่ยมทองคำครอบคลุมพื้นที่มากกว่า แสนตารางกิโลเมตร ซึ่ง่วนใหญ่เป็นเทือกเขา ตรงกลางของสามเหลี่ยมทองคำมีแม่น้ำสองสายไหลมาบรรจบกัน คือ แม่น้ำโขงและแม่น้ำรวก
"ยาเสพติจากอินแดนสามเหลี่ยมทองคำเข้าสู่กัมพุชาผ่านทางแนวชายแดนไทย ลาวและพม่า จกนั้นจึงเดินทางฝ่านกัมพุชาเข้าสู่ประเทศไทยและเวียดนามเพื่อส่งออกไปยังภูมิภาคอื่น" ตามข้อมูลในหนังสือ ประเด็นข้อตกลงเรื่องมุมมองของเอเชีย ในเรื่องที่ท่าสทายความมั่นคงข้ามชาติ (2533) ระบุว่าประเทศที่มีพรมแดนติดกับสามเหลี่ยมทองคำมีความพร้อมอย่างเต็มที่ในการผลิตและค้ายาเสพติด ตัวอย่างเช่น "ห้องปฏิบัติกาลับที่ได้รับการสนับสนุนจากองค์กรอาชญากรรมผลิตยาผิดกฎหมายในพื้นที่ที่มีประชารเบาบางของกัมพูชา" นอกจากนี้ชายแดนที่เต็มไปด้วยช่องโหว่ยังดึคงดูดให้นักลักลอบค้ายาใช้กัมพุชาเป็นเส้นทงขนยาเสพติด
รายงานยุทธศาสตร์การควบคุมสารเสพติดระหว่างประเทศในปี พ.ศ. 2553 ของกระทรวงการต่างประเทศ สหรัฐอเมริการะบุว่าประเทศไทยเป้น "จุดพักของสารกระตุ้นในกลุ่มแอมเฟตามีนก่อนที่จะส่งออกไปยังประเทศต่าาง๐ ทั้งนี้ยาบ้าจากพม่าจะถูกลักลอบขนข้ามชายแดนทางภาคเหนือเข้าสู่ประเทศไทย นอกจากนี้ยังมีข้อมูลที่เชื่อได้ว่ายาเสพติดถูกขนอออกจากแหล่งผลิตในพม่าผ่านทางลาวเข้าสู่กัมพูชาแล้วผ่านเข้าสู่ประเทศไทยทางพรมแดนไทย-กัมพูชา
ตามรายงานระบุว่าการลักลอบขนส่งยาบ้าจากสามเหลี่ยมทองคำมีปริมาณเพ่ิมมากขึ้น ตัวอย่งในปี พ.ศ. 2551 ทางการจีนยึดยาบ้าน้ำหนักกว่า 2.4 ตันได้ในมณฑฃยูนนาน
นอกจากนี้ ตามรายงานยังเปิดเผยว่า จีนและอินเดียเป็นผถ้ผลิตอีเฟดรีนและซูโดอีเฟดรีนอย่างถุกกฎหมายรายใหญ่ แต่สารทั้งสองชนิดนี้ถูกนำไปใช้อย่างผิดกฎหมายในการผลิตยาบ้า...
ลำดับเหตุการณ์ของสิ่งเสพติดบริเวณสามเหลี่ยมทองคำผลข้างเคียง
พ.ศ. 2143-2242 ผุ้ที่อาศัยในเปอร์เซียนและินเดียดื่ม และรับประทานอาหารที่มีฝ่ินเป้ฯส่วนผสมเพื่อความบันเทิง เหล่าพ่อค้าชาวโปรตุเกสเป็นผุ้นำฝิ่นอินเดียเข้าสู่ประเทศจีน
พ.ศ. 2243-2342 ชาวดัตท์ส่งออกฝิ่นอินเดียสู่ประเทศจีนและเกาะต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ่อค้าเหล่านี้ยังเป็นผุ้แนะนำชาวจีน ให้รู้จักการสูบฝิ่นโดยใช้กล้องยาสูบ
พ.ศ. 2272 จักรพรรดิ์หย่งเจิ้นแห่งจีน สั่งห้ามการสูบฝิ่น และห้ามขายฝิ่นในประเทศ ยกเวิ้นจะได้รับอนุฐาตให้ใช้เพ่อวัตถุประสงค์ทางการแพทย์
พ.ศ.2310 การนำเข้าฝิ่นสู่ประเทศจีนของบริษัทบริติช อีสต์ อินเดีย มีปริมาณสูงถึ 2,000 หีบต่อปี หีบหนึ่ง จะบรรจุฝิ่นดิบถึง 60 กิโลกรัม
พ.ศ. 2354 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ หล้านภาลัย ทรงสั่งห้ามการขายและการสูบฝิ่น
พ.ศ.2382 พระบาทสมเด็จพระนั่งเหล้าเจ้าอยู่หัวทรงกำหนดโทษประหารชีวิตสำหรับผุ้ลักลอบค้าฝิ่นรายใหญ่ อย่างไรก็ตาม ปัญหาฝ่ินก็ได้แพร่หลายเกินกว่าที่ทางการจะควบคุมได้
พ.ศ. 2385 อังกฤษชนะจีนในสงคราฝิ่นค้งแรกที่เกิดขึ้นในช่วงปี พ.ศ. 2385 จีนยกฮ่องกงให้กับอังกฤษ หลังจากที่อังกฤษบังคับให้จีนคงการเปิดเส้นทางฝิ่นไว้ ฮ่องกงจึงกลายเป็นจุดหลักสำหรับการส่งผิ่นอินเดียต่อไปสู่ตลาดจีนที่กว้างใหญ่
พ.ศ.2399 อังกฤษและฝรั่งเศสต่อสุ้กับจีนในสงครามฝิ่นครั้งที่สองระหว่างปี พ.ศ. 2399-2403 ผลจากสงครามครั้งนี้ทำให้การนำเข้าฝิ่นกลายเป็นสิ่งถูกกฎหมาย ในปี พ.ศ. 2403 จีนจึงเร่ิมปลูกฝิ่นเองบนพื้นทีทมหาศาล
พ.ศ. 2441 นายไฮน์ดริก เดรสเซอร์ ซึ่งทำงานให้กับบริษัทไบเออร์ ที่เมืองเอลเบอร์เฟลด์ ประเทศเยอรมนี ค้นพบว่าถ้าเอามอร์วินเจื่อจางด้วยอะซิติล จะทำให้ได้ตัวยาที่ไม่มีผลข้างเคยยง ไบเออร์จึงเริ่มผลติดยาดังกล่าวและตั้งชื่อว่า "เฮโรอีน" ซึ่งมาจากคำว่า Heroisch ในภาษาเยอรมันที่แปลว่า วีรบุรุษ
พ.ศ. 2443-2542 สมาคมการกุศลเซนต์เจมส์ในสหรัฐฯ ส่งเฮโรอีนฟรีทางไปรษณีย์แก่คนติดมอร์ฟีนที่พยายามหาทางเลิกอังกฤษและฝรั่งเศสประสบความสำเร็จในการควบคุมการผลิตฝิ่นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อย่างไรก็ตามในที่สุดสามเหลี่ยมทองคำก็มีบทบามสำคัญในการต้าฝินที่มีกำไรมหาศาลระหว่าง พ.ศ. 2483-2492
พ.ศ.2453 หลังจาก 150 ปีที่จีล้มเหลวในการกำจัดฝิ่นให้หมดไปจากประเทศ ในที่สุดจีนก็ประสบความสำเร็จในการโน้มน้างอังกฤษให้ยกเลิกการต้าฝิ่นระหว่งอินเดียกับจีน
พ.ศ. 2483-2492 สงครามโลกครั้งที่สองตัดเส้นทางการต้าฝิ่นจากอินเดียและเปอรเซีย เนื่องจากเกรงว่า จะสูญเสียความเป็นเจ้าตลาดฝิ่น ฝรั่งเศสจึงสนับสนุนให้เกษตรกรชาวม้ง ที่อาศัยอยู่ตามเทือกเขาทางภาคใต้ของจีนขยายพื้นที่เพาะปลูกฝิ่น
พ.ศ. 2491 พม่าได้รัีบเอกราชจากอังกฤษ ฟลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง การเพาะปลูกแลค้าฝิ่นเริ่มเฟื่องฟูในรัฐฉาน
พ.ศ.2493-2502 สหรัฐฯ พยายามจำกัดการแพร่กระจายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในเอเชีย โดยการผูกสัมพันธ์กับบรรดาชนเผ่าและผุ้นำทางทหารต่างๆ ในบริเวณสามเหลี่ยมทองคำ ทำให้สามารถเข้าถึงกและมีการคุ้มครองตามแนวชายแดนทางตอนใต้ของจีน พรรคชาตินิยมของจีน(ก๊กมินตั๋ง) ถอยร่นออกมาอยู่ในพื้นที่รอบๆ สามเหลี่ยมทองคำหลังจากถูกกองทัพแดง ของพรรคคอมมิวนิสต์จีนปราบปราม ในการหาเงินทุนสนับสนุนภารกิจต่อต้านการรุกรานของลัทธิคอมมิวนิสต์ ก๊กมินตั๋งชักชวน ชาวไร่ชาวนาที่เป็นชนเผ่าในพม่าให้หันมาปลูกฝิ่นมากขึ้น ยังผลให้ปริมษรฝิ่นจากพื้นที่สามเหลี่ยมทองคำเฉพาะสวนที่อยู่ในพื้นที่ประเทศพม่าเพ่ิมขึ้นถึง 10-20 เท่า จาก 30 ตันเป็น 300-600 ตัน
พ.ศ. 2503-2521 ขุ่นส่าพ่อค้าฝิ่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งโรงงานสกัดเฮโรอีนขึ้นเป้ฯครั้งแรกในช่วงปี พ.ศ. 2503-2512 บนเทือกเขาในลาว ซึ่งอยู่ฝั่งตรงข้ามแม่น้ำโขงกับ อ.เชียงของ ในประเทศไทย หลังจากนั้นก็มีการสร้างดรงงานเพิ่มบริเวณชายแดนไทย-พม่า
พ.ศ. 2515 ขุนส่า ผุ้นำชนกลุ่มน้อยชาวพม่าควบคุมการสงออกเฮโรอีนจกสามเหลี่ยมทองคำ ซึ่งเป็นแหล่งผลิต ฝิ่นดิบที่มบทบาทสำคัญในการต้ายาเสพติด
พ.ศ. 2521 การต้าเฮโรอีนจากเอเชียสะดุดลง ทำให้พ่อค้ายาเสพติดต้องเสาะหาแหล่งผลิตฝ่ินดิบแห่งใหม่ และได้พบกับ เชียร่า มาเตร ในเม็กซิโก "โคลนจากเม็กซิโก" สามารถแทนที่เฮโรอีน "สีขาวของจีน" ได้เพียงชั่วคราวจนถึงปี พ.ศ. 2521 เท่านั้นในปีเดียวกันนี้ รัฐบาลสหรัฐฯ และเม็กซิโกได้โปรยสารเคมีสีส้มลงบนพื้นที่เพาะปลูกฝิ่นในเชียร่ามาเดร ทำให้ปริมาณ "โคลนจาเม็กซิโก" ในสหรัฐฯ ลดลง เพื่อุดช่องว่างในตลาด ดินแดนพระจันทร์เสี้ยวสีทอง ในอิหร่านอัฟกานิสถานและปากีสถานจึงผลิตและค้าเฮโรอีนผิดกฎหมายมากขึ้น
พ.ศ.2531 การผลิตฝิ่นมีการเพ่ิมปริมาณมากขึ้นในสมัยการปกครองของกำลังทหารพม่า ที่มีชื่อว่า กฎหมายและข้อบังคับ ของคณะกรรมการฟื้นฟูการสั่งซื้อ ทำให้ทางสหรัฐฯ สงสัยว่าเฮโรอีนน้ำหนัก 1088 กิโลกรัมที่จับได้ในเมืองไทยขณะกำลังจะลงเรือไปนิวยอร์กน่าจะมีแหล่งผลิตอยุ่ที่สามเหลี่ยมทองคำ
พ.ศ. 2536 กองทัพไทยโดยการสนับสนุของหน่วยปราบปรามยาเสพติดของสหรัฐฯ ดำเนินปฏิบัติการทำลายไร่ฝิ่นจำนวนหลายพันไร่ในบริเวณสามเหลี่ยมทองคำ
พ.ศ.2538 สามเหลี่ยมทองคำเป็นผุ้นำในการผลิตฝิ่น โดยแต่ละปีสามารถผลิตฝิ่นได้มากถึง 2,500 ตันผุ้เชียวชาญด้านยาเสพติดของสหรัฐฯ ชว่านักค้ายาเสพติดใช้เส้นทางใหม่ในการบลำเลียงยาเสพติดโดยขนยาจากพม่าผ่านลาวเข้าสู่ตอนใต้ของจีน กัมพูชาและเวียดนาม เปรียบเทียบกับในปี พ.ศ. 2530 พม่าผลิตฝิ่นดิบได้ 836 ตัน แต่ในปี พ.ศ. 2438 ปริมาณการผลิตเพิ่มึ้นเป็น 2,340 ตัน
พ.ศ.2542 อัฟการนิสาถานผลิตฝิ่นมากึถง 4,600 ตัน ทั้งนี้โครงการควบคุมยาเสพติดแห่งสหประชาชาติประมาณการว่าอัฟการนิสถานผลิตเฮโรอีนถึงร้อยละ 75 ของปริมาณเฮโรอีนทั่วโลก
พ.ศ.2545 สำนักงานควบคุมยาเสพติดและอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ ประกาศว่าอัฟกานิสถานเป้นประเทศที่ผลิตฝิ่นมากที่สุดในโลก
พ.ศ. 2546 ความพยายามของเกาหลีเหนือในการเจาะตลาดเฮโรอีนของออสเตรเลียด้วยการลักลอบค้าเฮโรอีนที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐเริ่มประสบกับปัญหา
พ.ศ. 2549 สำนักงานว่าด้วยยาเพติดและอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติรายงานว่า ในปี พ.ศ. 2549 อัฟกานิสถานจะผลิตฝิ่นได้มากถึง 6,100 ตัน ซึ่งนับเป็นตัวเลขที่สูงสุดเป็นประวัติการณ์ หรือคิดเป็นประมาณร้อยละ 92 ของปริมาณฝิ่นทั่วโลก
พ.ศ. 2550 ขุนส่าราชายาเสพติด แห่งสามเหลี่ยมทองคำและอดีตผุ้นำกลุ่มแบ่งแยกดินแดนรัฐฉานได้เสียชีวิต ในยุคที่เขาเรืองอำนาจอาณาจักรยาเสพติดของขุนส่าผลิตและส่งออกเฮโรอีนประมาณ 1ใน 4 ของปริมาณเฮโรอีนทั้งหมดในตลาดโลก
พ.ศ. 2553 แม้ว่าการเพาะปลูกฝิ่นจะลดลงอย่างต่อเนื่องในช่วงสามปีที่ผ่านม แต่พม่าก็ยังเป้ฯผู้ผลิตฝิ่นรายใหญ่ อันดับสองของโลกรองจากประเทศอัฟกานิสถาน โดยปีที่แล้วพม่าสามารถผลิตฝิ่นได้ 330 ตัน หรือร้อยละ 17 ของปริมาณฝิ่นทั้งหมด ตามข้อมุลใน "รายงานยาเสพติดโลกประจำปี พ.ศ. 2553" ของสหประชาชาติwww.oncb.go.th/ncsmi/doc3/%E0%B8%88%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9D%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%99.pdf
วันจันทร์ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2560
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น