วันพฤหัสบดีที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2560

Environmental Sound Technology (EST)

             "ประชาคมอาเซียน" เป็นเป้าหมายของการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเวียน เพื่อเพิ่มอำนาจต่อรองและขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีระหว่างประเทศในทุกด้าน รวมถึงความสามารถในการรับมือกับปัญหาใหม่ๆ ระดับโลกที่ส่งผลกระทบต่อภูมิภาค เช่น ภาวะดลกร้อน การก่อการร้าย หรืออาจกล่าวได้ว่าการะเป้ฯประชาคมอาเว๊ยนคือ การทำให้ประเทศสมาชิกรวมเป้น "ครอบครัวเดียวกัน" มีควแข็งแกร่งและมีภูมิต้านทานที่ดี สมาชิกมนครอบครัวมีสภาพความเป็นอยุ่ที่ดี ปลอดภัย และสามารถทำมาค้าขายได้อย่างสะดวกย่ิงขึ้น...
             อาเซียนมีความร่วมมือด้านสังคมและวัฒนธรรมหลายด้าน ทั้งการส่งเสริมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น การแก้ไขปัญหาหมอกควันไฟป่า การสร้างความร่วมมือเพื่อนุรักษ์มรดกทางธรรมชาติของอาเซียน การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ การจัดตั้งศุนย์ความหลากลายทางชัวภาพอาเว๊ยน โครงการฟื้นฟูป่าและระบบนิเวศ การสร้างความร่วมมือในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ เช่น การดำเนินมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติต่อ การสร้างความปลอดภัยด้านอาหาร ความร่วมมือด้านเทคนิคเกี่ยวกับยาการจัดการภัยพิบัติ เช่น การช่วยเหลือบรรเท่าทุกข์ผุ้ประสบภัยในกรณีที่เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ การจัดทำแผนปฏิบัตการ การฝึกอบรม การสื่อสารประสานงานอาเวียน เพื่อให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม และด้านการอนุรักษ์และส่งเสริมมรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน เช่น การจัดทำโครงการศึกษาวิจัย และจัดทำการผลิตร่วมกันในเรื่องการอนุรักษ์โบราณสถาน ศิลปะการแสดงดั้งเดิม และสิ่งที่ถือเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของภูมิภาค เป็นต้น
          โครงสร้างและกลไกบริหารอาเซียนด้าน่ิงแวดล้อม แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ
           1. การประชุมของรัฐมนตรีด้านสิ่งแวดล้อมของประเทศสมาชิกอาเซีัยน มีวัตถุประสงค์เพื่อประชุมหารือในประดเ็นปัญหาที่สำคัญและกำหนดแนวทางระดับนโยบาย และความร่วมมือด้าน่ิงแวดล้อมของภูมิภาคอาเซียน ตลอดจนทบทวนข้อตัดสินใจต่างๆ ซึ่งจะมีการประชุมร่วมกันทุกปี
           2. ระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม  การประชุมระดับเจ้าหน้าที่อสุโสด้าสิ่งแวดล้อมเป้นการประชุมในระดับปลัดกระทรวง หรือเที่ยบเท่าของประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อทำหน้าที่กำกับดูแล และติดตามงานด้านสิ่งแวดล้อมในภูมิภาคอาเซียน ซึ่งประเทศไทยมีปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทำหน้าที่เป้ฯประธานเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเวียนด้านสิ่งแวดล้อม โดยจะมีการประชุมร่วมกันทุกปี
            3. คณะทำงานอาเว๊ยนด้านส่ิงแวดล้อม คณะทำงานอาเวียนด้านส่ิงแวดล้อม เป้นการทำางานของเจ้าหน้าที่ในระดับปฏิบัติเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินกความร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งแบ่งออกเป็น 7 คณะทำงาน ดังนี้
                     - คณะทำานอาเวียนด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มีสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเป้นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
                     - คณะทำงานอาเวียนด้านการอนุรักษ์ธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ มีสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาิติและส่ิงแวดล้อมเป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
                      - คณะทำงานอาเวียนด้านส่ิงแวดล้อมทางทะเลและชายฝั่ง มีกรมควบคุมมลพิษเป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
                       - คณะทำงานอาเวียนด้านข้อตกลงพหุภาคีด้านสิ่งแวดล้อม มีกรมควบคุมมลพษเป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
                        - คณะทำงานอาเวียนด้านส่ิงแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน มีสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเป็นหน่วยงสานกลางประสานการดำเนินงาน
                       - คณะทำงานอาเวียนด้านการจัดการทรัพยากรน้ำ มีกรมทรัพยากรน้ำเป้นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
                       - คณะทำงานอาเวียนด้านส่ิงแวดล้อมศึกษา มีกรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อมเป้ฯหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
                นอกจากคณะทำงานอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อมแล้ว การดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมของอาเซียนยังมีกรอบเวทีหารือประเด็นสำคัญด้านส่ิแงแวดล้อม และการดำเนินการที่คาบเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้แก่
              Meeting of the Conference of the Partiesto the ASEAN Agreement Transboundary Haze Polluution โดยมีกรมควบคุมมลพิษเป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
              Meeting of Sub-Regionnal Ministerail Steering Committee (MSC Mekong) Transboundary Haze Pollution โดยมีกรมควบคุมมลพิษเป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
              The Governing Board (GB) Meeting of the ASEAN Centre for Biodiversity (ACB) โดยมีสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป้นหน่วยงานกลางระสานการดำเนินงาน
              คณะกรรมการอาเซียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ( ASEAN Committee on Science and Technology : ASEAN COST) โดยมีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโ
ยีเป้นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน ซึ่งกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งเป็นหน่วยประสานงาานคณะอนุกรรมการอาเซียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางทะเล
             การประชุมระดับรัฐมนตรีอาเวียนด้านการเกษตรและป่าไม้ มีกระทรวงเกษตรและสหกรณืเป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก เพื่อกำหนดแนวทางในระดับนโยบายและทบทวนข้อตัดสินใจ ดดยมีกรมป่าไม้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเป็นหนวยรสานงานเจ้าหน้าที่อสวุโสอาเซียนด้านป่าไม้ ซึ่งเป็นการประชุมภายใต้พันธกรณีของอาเซียนด้านป่าไม้ นอกจากนั้ ยังมีคณะทำงานซึ่งมีการดำเนินงานจัดตั้งเครือข่ายการบังคับใช้กฎ่หมายด้านสัตว์ป่าและพืชป่าในภุมิภาคอาเซียน โดยมีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืชเป็นหน่วยงานหลักในการทำหน้าที่กำกับยดูแล
             การปรุชมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านแร่ มีกระทรวงอุตสาหกรรมเป้นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก และกรมทรัพยากรธรณี ร่วมเป็นคณะทำงานด้านสารสนเทศและฐานข้อามุลแร่
           บางส่วนจาก "ควมรุ้ด้านอาเซียนสิ่งแวดล้อมและการดำเนินงานด้านอาเซียนสิ่งแวดล้อม"
 ***
            ความร่วมมืออาเซียนดด้านสังคมและวัฒนธรรม หมวด D สิ่งแวดล้อม ในข้อ D4 ว่าด้วย "การส่งเสริมเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม(EST)" มีเป้าหมายเชิงกลยุทธ์คือ ใช้เทคโนโลยีด้านส่ิงแวดล้อมเพื่อบรรลุป้าหมายเรื่องการพัฒนาที่ยั่งยืนดดยให้มีผลกระทบน้อยที่สุดต่อสิ่งแวดล้อม
             มาตรการ
             i. ดำเนินการตามเครือข่ายอาเวียนว่าด้วยอีเอสที่ (อาเซียน-เนสต์) ภายในปี 2558
             ii. มุ่งไปสู่การรับรองในเรื่องการจัดการสิ่งแวดล้อมทั่วทั้งภูมิภาค/กลไกในการติดป้ายประกาศเพื่อส่งเสริมการเติบโตทางเศราบกจิและปกป้องทงสิ่งแวดล้อมภายในปี 2558
             iii. ส่งเสริมการประชุมอีเอสทีเพื่อประเมินความตร้องการในการพัฒนาเทคโนโลยีและการพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน
             iv. ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอเาซียนภายใต้กรอบความร่วมมือใต้-ใต้ และกรอบความร่วมมือเหนือ-ใต้ เพื่อส่งเสริมการถ่ายทอดเทคโนโลยี
             v. แสวงหาแนวทางในการจัดตั้งศูนย์อีเอสทีสำหรับประเทศสมาชิกอาเซียน (เช่น ศูนย์ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด)
             vi ขยายความร่วมมือในการทำวิจัยร่วม การพัฒนาการเคลื่อนย้ายและการถ่ายทอดอีเอสทีmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d4/
           
              ในปัจจุบันแนวโน้มการพัฒนาของเทคโนโลยียานยนต์โลกและการผลิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมมากขึ้น โดยในแผนแม่บทอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยปี พงศ. 2555-2559 ได้ตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องนี้เช่นเดียวกันซึ่งได้มีวิสัยทัศนืในด้านการผลิตยานยนต์สีเขียนและเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
ดังนี้ "ประเทศไทย
              เป้นฐานการผลิตยานยนต์ของโลกดวยห่วงโซ่อุปทาน ที่สร้างมูลค่าเพิ่มในประเทศและเป็นเมติรกับส่ิงแวดล้อม" รวมถึงแนวโน้มกฎหมายข้อบังคับสำหรับยานยนต์ด้าน่ิงแวดล้อมในโลกรวมถึงประเทสไทยก็มีแนวโน้มที่เข้มงวดขึ้นด้วย ดดยถ้าผุ้ประกอบการผุ้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทยไม่ปรับตัวหรือปรับตัวไม่ทันต่อแนวโน้มก็อาจจะทำให้เสียโอกาสในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป้นมติรกับส่ิงแวดล้อมและสูญเสียความสามารถในการแข่งขันในอนาคต โดยผู้เขียนจะขอยกตัวอย่างแนวโน้มเทคโนดลยีและการผลิต เพื่อเป้นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมที่อุตสาหกรมมยานยนต์ไทยต้องตระหนักและพร้อมปรับตัวดังนี้
             1. การปรับปรุงกระบวนการผลิตให้เป็นไปตามมาตรฐานข้อบังคัยด้านสิ่งแวดล้อมแนวโน้มในอุตสาหกรรมยานยนต์มีแนวโน้มว่าจะมีมาตรการด้านกฎหมาย ข้อบังคับด้านสิ่งแวดล้อมให้เข้มข้นมากขึ้นเรื่อยๆ เช่นแนวโน้มในอุตสาหกรรมยานยนต์มีแนวโน้มว่าจะมีมาตรฐานด้านกฎหมาย ข้อบังคับด้านส่ิงแวบด้อมให้เข้มข้นมากขึ้นเรื่อยๆ เช่น
              มาตรฐาน ELVs ซึ่งเป็นมาตรการบังคับใช้ในกลุ่มประเทศยุโรปโดยภาพรวมแล้วระเบียบ ELVs ส่งผลต่อผุ้ประกอบการในอุตสาหกรรมยานยนต์ต้องปรับกระบวนการผลิตให้สามารถผลิตผลติภัณฑ์ที่สามารถ รีไซเคิล, รียูธ และรีคัฟเวอร์ โดยมีเป้าหมายคือ
           
 - สัดส่วนการใช้ซ้ำ/การดึงทรัพยากรกลับ ไม่ต่ำกว่าง 05% โดยน้ำหนัก และการใช้ซ้ำ/การรีไซเคิล ไม่ต่ำกว่า 80% โดยน้ำหนัก ตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2549
             - สัดส่วนการใช้ซ้ำ/การดึงทรัพยากรกลับ มาใช้และการนำกลับมาใช้ ไม่ต่ำกว่า 85% โดยน้ำหนัก และการใช้ซ้ำ/การรีไซเคิล ไม่ต่ำหว่าง 85%โดยน้ำหนัก ตั้งแต่ 1 มกรคม พ.ศ. 2558
           
ทั้งนี้มาตรฐาน ELVs ยังมีการระบุว่าการห้ามใช้ดลหะหนัก 4 ชนิด : ยานยนต์และอะไหล่สำหบยานยนต์ที่นำเข้าตลาดหลัง 1 กรกฎาคม 2546 ต้องปราศจากตะกั่ว ปรอท แคดเมียม และโครเมียมเฮกซะวาเลนซ์ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปใด ยกเว้นการใช้งานเฉพาะบางอย่างมี่ระบุให้เป็นข้อยกเว้น
             โดยมาตรฐานนี้จะมีการบังคับกับบานยนต์ที่่งออกไปจำหน่ายยังประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป โดยบังคับผ่านบริษัทผลติรถยนต์โดยผุ้ผลิตยานยนต์ก็จะมีการระบุเป็นข้อกำหนดของบริษัทตัวเอง เพื่อให้บริษัทผุ้ผลติช้ินส่วนยานยนต์ปฏิบัติตามอีกทอดหนึ่งซึ่งผู้ผลิตยานยนต์และชิ้นส่วนก็จะต้องมีกรปรับกระบวนการผลิตให้เข้ากับมาตการดังกล่าว
            มาตรการไอเสียรยตน อีมิสชั่น
            แนวโน้มมาตรฐานไอเสียยานยนต์โลกนั้น มีแนวโน้มจะมีความเข้มงวดมากขึ้นเรื่อยๆ โดยมีแนวโน้มในการปรับใช้มาตรฐานของกลุ่มสหภาพยุโรปมาบังคับใช้ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยด้วย ดดยประเทศไทยถือว่าเป้นผุ้นำในการผลิตรถยต์ที่มีมาตฐานที่เข้มงวดที่สุดประเทศหนึ่งในกลุ่มอาเซียน
            ซึ่งแนวโน้มการบังคับใช้มาตรฐาน ที่เข้มงวดนี้ก็จะมีผลต่อการผลติชิ้นส่วนยานยนต์ที่จะต้องผลิตชิ้นส่วนให้มีคุณสมบัติสอดรับกับมาตฐานใหม่ๆ อาทิ ชิ้นส่วนระบบการจ่ายน้ำมนเชื้อเพลิงก็จะต้องสามารถทนต่อแรงดันในการฉีดได้มากขึ้น ซึ่งก็จะทำให้วัตถุดิบและเทคโนโลยีการผลิตเปลี่ยนไปและผุ้ผลิตชิ้นส่วนยายนต์ก็จะต้องปรบกระบวนการผลิตให้สอดรับกับเทคโนโลยีใหม่ข้างต้น...
           2. การปรับกระบวนการผลิตใด้สอดคล้องกับพัฒนาการของเทคโนโลยียานยนต์ที่มีแนวโน้มเป็สเขียน การปรับกระบวนการผลิตให้สอดคล้องกับพัฒนาการของเทคโนโลยียานยนต์ให้มีแนวโน้มเป้นสีเขียวนั้นมีความสำคัญมาก เพราะถ้าผุ้ประกอบการปรับตัวไม่ทันก็จะทำให้ผลิตสินค้าไม่เป้นที่ต้องการของตลาดหรือลุกค้าและก็ทำให้ขายสิค้าไม่ได้...
           3. สภาวะการแข่งขันในอุตสาหกรรมยานยนต์ที่สูงขึ้น ทำให้ผุ้ประกอบการยานยนต์จะต้องลดต้อนทุนโดยต้องนำวิธีการในการเพ่ิมประสิทธิภาพและผลิตภาพมาประยุกต์ใช้มากขึ้น เช่น กระบวนการลดต้นทุน ไม่ว่าจะเป้นการลดการสูญเสียในกระบวนการผลิต การออกแบบให้ต้นทุนถูกลง การเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลติและที่เกี่ยวข้องโดยใช้กระบวนการต่าง โดยทั้งหมดจะนำไปสู่กระบวนการผลิตที่เปลี่ยนไป ซึ่งมีกล่าวมาทั้งหมดในบทความนี้เป็นเพียงตัวอย่างปัจจัย แนวโน้มการเลปี่ยนแปลงในด้านเทคโนดลยีและการผลติยานยนต์ที่จะทำให้กระบวนการผลิตในอนาคตเปลี่ยนแปลงไปในเชิงที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมมากขึ้น ถ้าผุ้ประกอบการไทยโดยเฉพาะผุ้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไม่รีบปรับตัวพัฒนาผลิตภัฒฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมก็จะทำใหสูญเสียโอกาสสูญเสียความสามารถในการแข่งขันได้ โดยในประเทศ ASEAN คู่แข่งคนสำคัญของเราก็คือประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งมีประชากรประมาณ 240 ล้านคน และอินโดนีเซียมีเปาหมายในการจะขึ้นเป็นที่ 1 ในอาเวียนเช่นเดียวกัน ถ้าเราขยับตัวเร็วดดยมีการพัฒนาผุ้ประกอบการ พัฒนาบุคลากร และกระบวนการผลิตที่เเข็งแกร่งตามแยวโน้มเทคโนโลยีที่เป้ฯมิตรกับส่ิงแวลด้อมอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับการพัฒนาความแข็งแกร่งของ ซับพราย เชน ซึงรวมถึงการบูรณาการความร่วมมือกับประเทศ CLMV และนธยบายทางด้านภาษีที่เอื้อต่อการลงทุน ซึ่งมีจำนวนประชากรรวมทั้งหมดไม่น้อยไปกว่าอินโดนีเซียก็จะทำให้ประเทศไทยรักษาความเป็นผู้นำในด้านการผลิตยานยนต์ในอาเวียนภายใต้นโยบายการผลิตทีเ่ป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมได้อย่างแน่นอน และท้ายที่สุดแล้วอุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศไทย ก็จะมเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยลดภาวะโลกร้อนและรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยสถาบันยานยนต์พร้อมที่จะเป้ฯหนึ่งในฟันเฟืองหลักที่จะช่วยในการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยให้ก้าวต่อไป...www.thaiauto.or.th/2012/th/news/news-detail.asp?news_id=3156
             

วันอังคารที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2560

Eco-School

             ประชาคมสังและวัฒนธรรมอาเซียน ในหมวด D ว่าด้วยสิ่งแวดล้อม การส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยการศึกษาสิ่งแวดล้อมและการมีส่วนร่วมของประชาชน อยู่ในหมวด D3 โดยมีเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ที่จะทำให้อาเซียนเขียวและสะอา มั่งคั่งด้วยประเพณีวัฒนธรรม เป็นที่ซึ่งค่านิยมและธรรมเนียมปฏิบัติของประชาชนสอดคล้องกลมแลืน และประสานกับธรรมชาติด้วยการที่ประชาชนมีความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม เต็มไปด้วยชาติพันธุ์ทางสิ่งแวดล้อมและมีความตั้งใจ และความสามารถในการส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนของภูมิภาค ดดยผ่านทางการศึกาาด้านสิ่งแวดล้อมและการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยมี มาตรการดังนี้
            i ปฏิบัตตามแผนงานอาเซียนว่าด้วยการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม (AEEAP) ปี 2551-2555
            ii จัดทำการประเมินสำหรับหลักสูตรการศึกษาแห่งชาติในระบบการ ศึกาาขั้นพื้นฐานเรื่องเนื้อหาครอบคลุมการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม (EE) และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (ESD)
            iii จัดทำฐานขั้นต่ำเพื่อประเมินโครงการการศึกษาวิชาชีพครู่ รวมทั้งการให้บริการฝึกอบรมทั้งก่อนและระหว่างนั้นได้ครอบคลุมประเด็นออีและอีเอสดีในทางทฤษฎีและแนวทางปฏิบัติ
            iv ส่งเสริมให้มีระบบการรับประกันคุณภาพในการศึกาษที่เป้นทางการเพื่อให้ครอบคลุมอีอีและอีเอสดีในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
            v ส่งเสริมการทำวิจัยในเรื่องอีอีและอีเอสดีเพื่อให้แน่ใจว่าจะมีการพัฒนาในการศึษาที่เป็นทางการ
            vi ส่งเสริมแนวคิดรื่องโรงเรียนที่ยั่งยืน เช่น อีโดสกูลและโรงเรียนสีเขียว ในประเทศสมาชิกอาเซียน
            vii ส่งเสริมอีอีให้เป็นเครื่องมือำคัญสำหรับการพัฒนาเืองทีเ่ป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนในแต่ละประเทศสมาชิก
            ix ใช้อีอีอย่างเหมาะสมในการส่งเสริมแนวปฏิบัติของธุรกิจที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมอย่างยั่งยืน
            x ส่งเสริมสัปดาห์ส่ิงแวดล้อมอาเซียนเพื่อเป็นเวทีจัดกิจกรรมระดับชาติในการเฉลิมฉลองและส่งเสริมการตระหนักรับรู้เรื่องอสิ่งแวดล้อมในภูมิภาคกับผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียจากประเทศสมาชิกอาเซียน
            xi จัดทำเกณฑ์ขั้นต่ำของอีอีสำหรับความต้องการในการฝึกอบรมในด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนสำหรับผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียจากทุกภาคส่วนทั้งที่เป้ฯทางการและไม่เป้นทางการ
         
  xii จัดการฝึกอบรมเกี่ยวกบอีอีและอีเอสดีสำหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญ
            xiii จัดทำโครงการฝึกอบรมผู้นำด้านการพัฒนาอยางยั่งยืนในเรื่องอาเซียนอีอีสำหรับกลุ่มเป้าหมายหลัก เช่น ข้าราชการ สมาชิกรัฐสภา นัการเมือง รวมทังสื่อมวลชนและผุ้มีอยู่ในแวดวงการสื่อสาร เยาวชน สตรี เป็นต้น
            xiv จัดให้มีทุนการศึกษาเกี่ยวักบอีอีและอีเอสดีสำหรับผู้มีส่วนได้่ส่วนเสียในภูมิภาค
            xv ส่งเสริมและจัดการข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมในอาเว๊ยอย่างแข็งขันเพื่อให้เป็นศูนย์ข้อมูลในการแจกจ่ายและแลกเปลี่ยนและการเรียนรู้เรื่องอีอีและอีเอสดีในอาเซียน
             xvi พัฒนาเครือข่ายเยาวชนทั่วอาเซียนเพื่อส่ิงแวดล้อมที่ยังยืน
             xvii จัดให้มีการประชุมนานาชาติประจำปีเกี่ยวกับอาเวียนอีอี การประชุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในอีอีของภูมิภาคเพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนข้อมูล ข้อเท็จจริงประสบการณ์และเป็นการสร้างเครื่อข่าย เป็นต้น
            xix จัดตั้งเครือข่ายและกระชับความร่วมมือกับอค์กรเอกชน มหาวิทยาลัย และสื่อมวลชนทั่วภุมภาคเพ่อให้เป็นผุ้ปฏิบัติ ผู้้สนับสนุน ผุ้ถ่ายทอด และเป้นตัวแทนของการเปลียนแลปงสำหรับอีอ และอีเอสดี และ
            xx ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผุ้นำชุมชน เช่น ผุ้นำทางศาสนาซึ่งมีความใกล้ชิดกับชุมชนท้องถ่ินในการส่งเสริมเรื่องการตระหนักรับรู้แก่สาธารณชนเกี่ยวกับควมสำคัญของการพัฒนาที่ยั่งยืนและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับส่ิงแวดล้อมที่ยั่งยืนmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d3/
            Eco-School  หรือ โรงเรียนสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน มีจุดเร่ิมต้นจากการรวบรวมประสบการณ์การทำงานของบุคลากรหลักของศูนย์สิ่งแวดล้อมศึกษาระดับจังหวัดที่ต้องการจะเห็นการพัฒนากระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษา Environmental Education ในโรงเรียน ที่ตอบสนองเป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยที่ฌรงเรียนสามารดำเนินการได้อย่างกลมกลืนไปกับมิติการเรียนรู้ต่างๆ ของนักเรียน ทั้งในโรงเรียน ที่บ้าน ในชุมชนและสังคมภายนอก และที่สำคัญต้องไม่เป็นการเพ่ิมภาระงานให้กับโรงเรียน
           นิยามของอีโก้สคูล คือ "โรงเรียนที่มีการพัฒนาโรงเรียนทั้งระบบ เพื่อสนับสนุนกระบวนการเรียนรุ้ที่สงเสริมและพัฒนานักรเียนให้เติบโตขึ้นเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบ ตระหนักต่อปัญหารส่งิแวดล้อมและการพัฒนาของท้องถ่ิน มีความรู้ความเข้าใจอันเป็นผลจากระบวนการเรียนรู้และการลงมือปฏิบัติจริงและพร้อมที่จะข้าไปมีบทบาทในการป้องกัน ฟื้นฟู รักษา และใช้ประโยชน์จากสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนต่อไป"
           เป้าหมายสูงสุดของโรงเรียยอีโคสคูล คือ การพัฒนานักรเียนให้เติบโตขึ้นเป้น "พลเมือง" ที่ใช้ชีวิตอย่าง "พอเพียง" เพื่อสังคมและส่ิงแวดล้อมที่ "ยั่งยืน"
            ประโยชน์ที่จะได้รับ
            - สิงแวดล้อมในโรงเรียน (และชุมชน) ดีขึ้น
            - ชุมชนเห้ฯความสำคัญ และเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรุ้ของนักเรียน
            - โรงเรียนได้รับการพัฒนาให้เป็น "สังคมจำลอง" และเป็น "พื้นที่เรียนรู้" ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
            - โรงเรียนได้รับโอกาสและการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งหน่วยงานของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และหน่วยงานหรือองค์กรที่ทำงานด้านส่ิงแวดล้อมและการจัดกระบวนการเรียนรู้
            - ครูได้รับการพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อสร้างนักเรียน ให้เติบโตขึ้นเป็น "พลเมือง" ที่มีวิถีชีวิต "พอเพียง" เพื่อมุ่งสู่สังคมและส่ิงแวดล้อมที่ "ยั่งยืน"
            - ครูและผู้บริหารโรงเรียนสามารถนำผลงานไปใช้ประกอบการประเมินวิทยฐานะ
            - นักเรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงกล้าพูด กล้าแสดงความคิดเห็น และนำเสนอความคิด
            - นักเรียนสามารถคิดวเคราะห์ได้ดีข้น
            - นักเรียนรู้จักชุมชนของตนและเข้าใจประเด็นสิ่งแวดล้อมของชุมชนมากย่ิงขึ้น
            - นักเรียนมีจิตสำนึกรักบ้านเกิด
             - นักเรียนมีความตระหนัก รับผิดชอบ และดูแลสภาพแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน
           
 - นักเรียนเติบโตขึ้นเป็น "พลเมืองเพื่อสิ่งแวดล้อม"
             พันธกิจ
             การดำเนินงานโรงเรียนอีโคสคูลให้ประสบความสำเร็จโรงเรียนจำเป็นจะต้องนำหลักการจัดการโรงเรียนทั้งระบบ ( whole school Approch) มาใช้เพื่เป็นแนวทางในการบริหารจัดการ โดยกำหนดเป็ฯพันธกิจหลัก 4 ด้าน ที่เปรียบเสมือน "ฟันเฟือง"ชขับเคลื่อนการดำเนินงานโรงเรียนอีโคสคูล ซึงพันธกิจหลักประกอบด้วย นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมศึกาาและดครงสร้างการบริหารจัดการ, การจัดกระบวนการเรียนรู้, การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในโรงเรียน, การมีส่วนร่วมและเครือข่ายด้านสิ่งแวดล้อมศึกษา
            คุณลักษระสำคัญของโรงเรียนอีโคสคูล
            - มีการบริหารจัดการโรงเรียนทั้งระบบอย่างต่อเนือ่ง ตั้งแต่ระดับนโยบาย หลักสูตรสถานศึกษา และการจัดการด้านทรัพยากรธรรมชติและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
            - มีการจัดการเรียนรู้มุ่งสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน โดยใช้ "กระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษา"เป็นเครื่องมือหลักในการจัดการเรียรุ้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับบริบทของชุมชนและประเทศเน้นผุ้เรียนเป็นสำคัญ และเน้นการพัฒนาทักษระการเรียนรุ้ที่พร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงในสตวรรษที่ 21
            - มีการบูรณาการประเด็นสิ่งแวดล้อมท้องถ่ินเข้าในหลักสูตรการเรียนการสน และกิจกรรมพัฒาผุ้เรียน โดยมีการเชื่อมโยงให้เห็นถึงความสมพันธ์ของประเด็นสิ่งแวดล้อมในระดับท้องถ่ิน ประเทศ ภูมิภาค และระดับโลก
            - เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกคนทั้งดรงเรียนและชุมชนท้องถ่นดดยการบวนการทำงานจะต้องให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมทั้งจากผุ้บริหารโรงเรียน ครู บุคลากรในดรงเรียน นักเรียน และผุ้แทนชุมชน ดดยร่วมกันคิดค้อนแนวทาง/วิธีการ ป้องกัน และ แก้ไขปัญาสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนชุมชน
            -ช่วยเสริมพลังการทำงานตามภารกิจของโรงเรียนที่มีอยู่เดิม ให้มีประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น ดดยไม่เป็นการเพ่ิมภาระให้แก่โรงเรียน คือ เมื่อผุ้บริหารและทุกฝ่ายในโรงเรียนสมัครใจและมีความมุ่งมั่นจะพัฒนาโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนอีโคสคูลแล้ว จะต้องไม่รู้สึกว่าเป้นภาระงานที่เพิ่มมากขึ้นแต่อย่างใด
            คุณลักษณะของพลเมืองเพื่อสิ่งแวดล้อม
            พลเมือง หมายถึง ราษฎรหรือประชาชนที่นอกจากจะต้องเสียภาษีและปฏิบัติตามกฎหมายบ้านเมืองแล้ว ยังต้องมีบทบาทและสิทธิในการแสดงความคิดเห็นรวมถึงการเข้าร่วมทำกิจกรรมต่างไ เพื่อส่วนรวม นอกจากนี้ ควารมีความเข้าใจปัญหาของชุมชน และมีความเชื่อมั่นว่าสามารถที่จะดำเนินการเองได้ ซึ่งชุมชนหรือสังคมที่มีพลเมืองทีดี ย่อมส่งผลให้ชุมชนหรือสังคมนั้นมีความเข้ฒแข็ง
         
เป้าหมายสูงสุดของโรงเรียนอีโคสคูล คือ พัฒนานักเรียนให้เติบโตขึ้นเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบต่อสงคมและส่ิงแวดล้อม โดยใช้หลักการจัการโรงเรียนทั้งระบบ และน้อมนำหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อให้เกิดความยั่งยืนขึ้นในท้องถ่ินและสงคม หรือสรุปสั้นๆ ก็คือ การสร้าง "พลเมืองเพื่อสิ่งแวดล้อม" โดยสามารถสรุปคุณลักาณของพลเมืองเพื่อสิ่งแวดล้อมได้ดังนี้
            - รู้ัจักและขเข้าใจชุมชนอย่่างถ่องแท้
            - ติดตามข่าวสาร สภาพและปัญหาด้านส่ิงแวดล้อม เศราบกิจ และสังคม อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
            - สามารถคาดการณ์ถึงแนวโน้มสถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อมของชุมชนได้
            - รู้ถึงแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมกับสภาพสังคมและบริบทท้องถิ่น
            - มีจิตสำนึกรักประเทศชาติบ้านเกิด
            - กล้าแสดงความคิดเห็นนเรื่องต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมบนพื้นฐานหลักการประชาธิปไตย
            - ไม่เพิกเฉยต่อความอยุติธรรมในสังคม
            - มีวินัยและเคารพกฎกติการของสังคม
            - มีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชนและสังคมเมื่อมีโอกาส
            - มีพฤติกรรมและใช้ชีวิตประจำวันอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
            - มีความเป็นผุ้นำในงานหรือกิจกรรมการดูแลรักษาทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม
         
               คู่มือแนวทางการดำเนินงานโรงเรียนอีโคสคูล, กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

Basel Convention

         ประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย ประเทศสมาชิก 10 ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ไทย พม่า ลาว เวียดนาม กัมพูชา มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซียน บรูไนปละ ฟิลิปปินส์ "ปฎิญญาว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียน ฉบับที่ 2" ซึ่งกำหนดให้มีการสร้างประชาคมอาเซียนที่ประกอบ้บไปด้วย 3 เสาหลักได้แก่
           - ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มุ่งห้ประเทศกลุ่มสมาชิกอยู่ร่วมกันอย่างสัติ แกไขปัญหาระหว่างกันโดยสันติวิธี มีเสถียรภาพและความมั่นคงรอบด้าน เพื่อความม่นคงปลอดภัยของเหล่าประชาชน
           - ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน มุ่งเน้นให้เกิดการรวมตัวกันทางเศราฐกิจและความสะดวกในการติดต่อค้าขายระหว่างกัน เพื่อให้ประเทศสมาชิกสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆ ได้
           - ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน มุ่งหวังให้ประชากรมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี มีความมั่นคงทางสังคม มีการพัฒนาในทุกๆ ด้าน และมัสังคมแบบเอื้ออาทร โดยจะมีแผนงนสรร้างความร่วมือ 6 ด้าน คือ
           A.การพัฒนามนุษย์
                A1 ให้ความสำคัญกับการศึกษา
                A2 การลงทุนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
                A3 ส่งเสริมการจ้างานที่เหมาะสม
                A4 การอำนวยความสะดวกในการเข้าถึงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงประยุกต์
                A5 การอำนวยความสะดวกในการเข้าถึงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงประยุกต์
                A6 เสริมสร้างทักษะในการประกอบการสำหรับสตรี เยาวชน ผู้สุงอายุ และผุ้พิการ
                A7 พัฒนาสมรรถภาพของระบบราชการ
            B. การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม
                B1 การขจัดความยากจน
                B2 เครือข่ายความปลอดภัยทางสังคมและความคุ้มกันจากผลกระทบด้านลบจากการรวมตัวอาเซียนและโลกาภิวัฒน์
                B3 ส่งเสริมความมั่นคง และความปลอดภัยด้านอาหาร
                B4 การเข้าถึงการดูแลสุขภาพและส่งเสริมการดำรงชีวิตที่มีสุขภาพ
                B5 การเพิ่มศักยภาพในการควบคุมโรคติดต่อ
                B6 รับประกันอาเซียนที่ปลอดยาเสพติด
                B7 การสร้างรัฐที่พร้อมรับกับภัยพิบัติและประชาคมที่ปลอดภัยยิ่งขึ้น
           C. ความยุติธรรมและสิทธิ
                C1 การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิและสวัสดิการสำหรับสตรี เยาวชน ผุ้สุงอายุ และผุ้พิการ
                C2 การคุ้มครองและส่งเสริมแรงงานโยกย้ายถิ่นฐาน
                C3 ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ
            D. ส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม
                D1 การจัดการปัญหาส่ิงแวดล้อมของโลก
                D2 การจัดการและการป้องกันปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมร่วมของประชาชน
                D3 ส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม และการมีส่วนร่วมของประชาชน
                D4 ส่งเสริมเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม (อีเอสที)
                D5 ส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานการดำรงชีวิตในเขตเมืองต่างๆ ของอาเซียน และเขตเมือง
                D6 การทำการประสานกันเรื่องนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมและฐานข้อมูล
                D7 ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรชายฝั่ง และทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน
                D8 ส่งเสริมการจัดการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน
                D9 ส่งเสริมความยั่งยืนของทรัพยากรน้ำจืด
                D10 การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการจัดการต่อผลกระทบ
                D11 ส่งเสริมการบริหารตัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน
            E. การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
                E1 ส่งเสริมการตระหนักรับรู้เก่ยวกับอาเซียน และความรู้สึกของการเป็นประชาคม
                E2 การส่งเสริมและการอนุรักษณืมรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน
                E3 ส่งเสริมการสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรมและอุตสาหกรรม
                E4 การมีส่วนเกี่ยวข้องกับชุมชน
             F. การลดช่องว่างทางการพัฒนาwww.mfa.go.th/asean/th/customize/30643-%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99.html
           
            D2 การจัดการและการป้องกันปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดน เพื่อดำเนินมาตรการและส่งเสริมความร่วมมือระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศ เพื่อต่อต้านปัญหามลพิษจากส่ิงแวดล้อม ซึ่งรวมถึงปัญหามลพิษหมอกควันข้ามแดน การเคลื่อนย้ยปฏิกูลอันตรายข้ามแดน โดยการเสริมสร้างขีดความสามารถ ส่งเสริมการตะกหนักรับรู้ต่อสาธารณชน เพิ่มอำนาจการบังคับใช้กฎหมาย และสนับสนุนปฏิบัติการด้านสิ่งแวดล้อมที่ยังยืน และดำเนินการตามความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษหมอกควันข้ามแดน
          D2.1 มลพิษหมอกควันข้ามแดน...
          D2.2 มลพิษจากของเสียที่มีพิษข้ามแดน มาตรการ
          - ส่งเสริมการประสานงานนระดับภูมิภาคและการแลกเปลี่ยนข้อมุล ประสบการณ์และความสามารถในการจัดการของเสียอันตราย
          - ใช้ประโยชน์จากศูนย์ภูมิภาคอนุสัญญาบาเซลในการฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (BCRC-SEA) และบทบาทของคณะทำงานในการให้บริการแก่ภูมิภาคในเรื่องการถ่ายทอดเทคโนโลยีและการเสริมสร้างขีดความสามารถในการจัดการของเสียอันตราย
          - จัดตั้งกลไกระดับภูมิภาคที่มีประสิทธิภาพและพร้อมที่จะปฏิบัติการในการจัดการของเสียอันตรายข้ามแดน รวมทั้งการขนย้ายของเสียที่ผิดกฎหมายโดยให้สอดคล้องกับอนุสัญญาบาเซลmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d2/
             อนุสัญญาบาเซิล หรืออนุสัญญาบาเซลว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายข้ามแดนและการกำจัดซึ่งของเสียอันตราย เป็นสธิสัญญาระดับนานาชาติว่า ด้วยการจำกัดการเคลื่อนย้ายของเสียอันตรายระหว่างประเทศ โดยเฉพาะจากประเทศกำลังพัฒนาไปยังประเทศด้อยพัฒนา จุดมุ่งหมยคือลดปริมาณสารพิษที่เกิดจากของเสีย หรือ ขยะ
              อนุสัญญาบาเซิลเร่ิมลงนามเมือวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) ปัจจุบันมี 166 ประเทศที่ลงนาม โดยมีประเทศอัฟกานิสถาน ประเทศเฮติ และสหรัฐอเมริกาที่ลงนามแล้ว แต่ยังไม่ได้เริ่มเข้ากระบวนการปฏิบัติตามสนธิสัญญา
              ความเป็นมา สาระสำคัญและประโยชน์การเข้าร่วมเป็นภาคีอนุสัญญาบาเซล
             th.wikipedia.org/wiki/อนุสัญญาบาเซิล
             ความเป็นมาในช่วง 10 ปีที่ผ่านมาปัญหาการลักลอบนำของเสียอันตรายจากประเทศอุตสาหกรรมไปท้ิงในประเทศด้อยพัฒนาที่อยู่ทวีปแอฟริกาอเมริกากลาง และอเอเชียได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นตามลำดับโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ จึงได้จัดประชุมนานาชาติขึ้นตามลำดับโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ จึงได้จัดประชุมนานาชาติขึ้นเมือเดือนมีนาคม พ.ศ. 2532 ณ นครบาเซล ประ
เทศสวิตเซอร์แลนด์เพื่อจัดทำร่างอนุสัญญาบาเซลว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายและการกำจัดของเสียอันตราย้ามแดนโดยมีวัตถุประสงค์เพือควบคุมการนำเข้า ส่งออกและนำผ่านของเสียอันตรายให้เกิดความปลอดภัยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย รวมทั้งป้องกันการขนสงที่ผิดกฎหมายและช่วยเลหือประเทศกำลังพัฒนาในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการของเสียอันตราย โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อม ซึ่งต่อมาได้เปิดให้ประเทศต่างๆ ได้ลงนามเข้ารวมเป็นภาคตั้งแต่วันที่ 22 มีนาคม 2533 และมีผลใช้บังคับเมื่อวัีนที่ 5 พฤษภาคม 2535 ปัจจุบันมีประเทศสมาชิกที่ให้สัตยาบันเป็นภาคีสมาชิกอนุสัญญาแล้ว จำนวนทั้งหมด 169 ประเทศ (ข้อมูลเมื่อธันวาคม 2549) ประเทศไทยได้จัดส่งผุ้แทนเข้าร่วมการประชุมระดับนานาชาติเพื่อจัดทำร่างอนุสัญญาและกำหนดข้อตกลงต่างๆ มาโดยลำดับและได้ให้สัตยาบันเป็นภาคีสมาชิกอนุสัญญาบาเซลเมือวันที่ 24 พฤศจิกายน 2540 อนุสัญญาบาเซลมีผลบังคับใช้ต่อประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2541 เป็นต้นมา
th.wikipedia.org/wiki/อนุสัญญาบาเซิล

       

วันจันทร์ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2560

Wildfire

            ASCC : D2 การจัดการและการป้องกันปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมข้อมแดน
            เป้าหมายเชิงกลยุทธศาสตร์ ดำเนินมาตการและส่งเสริมความร่วมมือระดับภุมิภาคและรกว่างประเทศเพื่อต่อต้านปัญหามลพิษจากสิ่งแวดล้อม ซึ่งรวมถึงปัญหามลพิษหมอกควันข้ามแดน การเคลื่อนย้ายปฏิกูลอันตรายข้ามแดน โดยการเสริมสร้างขีดความสามารถ ส่งเสริมการตระหนักรับรู้ต่อสาธณชน เพ่ิมอำนาจการบังคับใช้กฎหมาย และสนับสนุนปฏิบติการด้านสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน และำเนินการตามความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษหมอกควันข้ามแดน
           มลพิษหมอกควันข้ามแดน มาตรการ
           - ดำเนินการตามความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษหมอกควันข้ามแดน โดยดำเนินกมาตรการป้องกันให้เป็ฯรูปธรรในการติดตามและลดผลกระทบ และริเริ่มกระบวนการจัดทำพิธีสารสำหรับการดำเนินการเพื่อให้เป็นไปตามความตกลง
          - จัดทำความร่วมมือที่อำนวยประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนที่ยอมรับกฎหมาย กฎ ระเบียบ และนโยบาย ระับชาติของกันและกัน ไม่ว่าจะเป้นควมร่วมมือระดับพหุภาคีหรือทวิภาคีโดยเน้นกิจกรรมในการป้องกัน
       
- ให้ศูนย์ประสานงานการควบคุมมลพิษจากหมอกควันข้ามพรมแดน โดยการบริจาคอย่างสมัครใจจากประเทศสมาลิกและด้วยความร่วมมือจากประเทศคุ่เจรจาเพื่อให้มีเงินทุนสำรองสำหรับการดำเนินการที่เป็นประสทิะภาพในการปฏิบัตความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควนข้ามพรมแดน
           -ควบคุมและสอดส่องดูแลพื้ที่และากรเกิดไฟป่าในภูมิภาคและส่งเสริมการจัดการอย่างยั่งยือนและการจัดการกับพื้นที่พรุในภูมิภาคอาเซียนเพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดไฟป่าและมลพิษจากหมอกควันโดยการดำเนินการข้อริเริ่มในการจัดการพื้นที่พรุในอาเซียน (APMI) ภายในปี 2558
           D 2.2 มลพิษจากของเสียที่มีพิษข้ามแดน มาตรการ
           - ส่งเสริมการประสานงานในระดับภูมิภาคและการแลกเปลี่ยนข้อมูล ประสบการณ์ และความสามารถในการจัดการของเสียอันตราย
           - ใช้ประโยชน์จากศูนย์ภูมิภาคอนุสัญญาบาเซลในการฝึกอบรมและถายทอดเทคโนโลยีในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
           - จัดตั้งกลไกระดับภูมิภาคที่มีประสิทธิภาพและพ้อมที่จะปฏิบัติการในการจัดการของเสียอันตรายข้ามแดน รวมทั้งการขนย้ายของเสียที่ผิดกฎหมายโดยให้สอดคล้องกับอนุสัญญาบาเซลmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d2/

           ไฟป่าในประเทศอินโดนีเซีย
            ประเทศอินโดนีเซียมีป่าไม้ในแถร้อนชื่นเป็นจำนวนมาก ซึ่งมีลักษณะของป่าไม้นี้จะมีความชื้นสูง อุณหภูมิสูง ปริมาณน้ำฝนมีมาก มีความหนาแน่นและหลากหลายของพันธุ์พืชมาก โดยปกติแล้ว การเกิดไฟป่าในป่าไม้ชนิดนี้ เกิดขึ้นไดค่อนข้างยาก แต่จากลักษณะของป่าไม้เป็นป่าทึบมใบไม้ทับถมกันสูงและหนาแน่น สภาพพื้นดินในส่วนที่เป้นป่ารกน้น ชั้นใต้ติดจะเป็นชันของถ่านหินซึงไฟป่าในปะเทอินโดนีเซียจะเป็นไฟป่าที่เกิดในชั้นใต้ดิน หากเป้ฯไฟใต้ตินสมบูรณืแบบ ซึ่งบยากในการตรวจสอบ บางรั้งไฟใหม้มาเกือบสองปีแล้วกว่าจะตรวจพบจนกระทั่งต้นไม่ที่่ถูกไฟไหม้ใน
ส่วนรากเร่ิมยืนแห้งตายพร้มอกันทั้งป่า และในบางแห่งจะเป็นไฟป่าแบบไฟกึ่งผิดินกึ่งใต้ดิน ว฿่งจะบพมาในเกาะสุมาตรา อีทั้งปรากฎการณ์ เอล นินโย ทำให้ป่าร้อนขชื้นกลายเป็นป่าที่แห้งแล้วประกอบกับพฤติการณ์ทั่วไปของมนุษย์ในการใช้ไฟ ไม่ว่าการต้งถ่ินฐานที่ดำเนินมานับพันๆ ปี และใช้ในการเพาะปลูกเพื่อช่วยในการปรับสภาพพื้นที่ อีกทั้งความหนาแน่นของจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นจึงเป็นที่จะต้องใช้เพนื่อที่ป่าเพื่อการเพาะปลูก
            การเกิดไฟป่าตามที่ศึกษามานั้ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1982 มีการเกิดไฟป่าครั้งใหญ่ถึง 5 ครัง้ง ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่ครั้งที่ใหญ่ที่สุดคือในประเทศอินโดนีเซีย ปี ค.ศ. 1997 ที่ทำลายพื้นที่ป่ามากกว่าเก้าล้านเฮกเตอร์ และปัจจัยที่ทำให้เกิดไฟป่าในครั้งนั้น มี 3 อย่าง คือ ความแห้งแล้งของวัสดุที่เป็นเชื้อเพลิง มีไฟเกิดขึ้นไม่ว่าด้วยเหตุใด และปัจจัยสุดท้ายคือลมที่เกิดการเผาไห้ได้อย่างสมบูรณ์ เมื่อเกิดปรากฎการ เอล นินโย ขึ้นจึงส่งผลให้ประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เกิดภัยแล้งเป็นบริเาวณกว้างอากาศร้อยอบอ้าวและกินระยะเวลายาวนานประมาณ 2-3 เอืน ก่อให้เกิดเชื้อเพลิงที่ง่ายต่อการติดไฟและมีความรุนแรงกว่าปกติทั่วไปบริเวณที่เกิดไฟป่านั้นเกิดในเกาะสุมาตราและเากกะลิมันตันของประเทศอินโดนีเซีย ที่มีลักษณะเป็นเกาะขนาดใหญ่และยังมีพื้ที่ป่าเป็นบริเวณกว้าง จุดที่เกิดไฟป่ามีจำนวนากกว่า 200-300 จุด
ทำให้ยากต่อการเ้ควบคุมไฟผ่าประกอบดกับการขาดเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการตรวจสสอบและควบคุม ความไม่เพียงพอของจำนวนเจ้าหน้าที่ที่เข้ควบคุมสไฟป่า ความแตกต่า
ของภพภูมิประเทศในพื้นทีแต่ละแห่งในกาเข้าไปด้บไฟ ผลของการเกิดไฟป่าครั้งนั้นก่อใหเิกกลุ่มหมอกควันขนาดใหญ่ โดยกลุ่มควันดังกล่วไใช้เวลาเดินทางไปยังน่านฟ้าประเทศเพื่อนบ้านที่อยู่บรเิวณใกล้เคียงและเริ่มส่งผลกระทบ โดยเฉลี่ยใช้ระยะเวลาประมาณ 24 ชั่วโมง หลังจากเกิดเกตุไฟป่า อย่างใน
ประเทศสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซีย ประเทศบรูไน ดารุซาลาม เกาะมินดาเปนาของประเทศฟิลิปปินส์ และหลายจังหวัดภาคใต้ของประเทศไทย คือ จังหวัดยะลา จังหวัดปัตตานี จังหวัดนราธิวาส จังหวัดสงขลา จังหวัดสตูล และจังหวัดตรัง การที่ประเทศไทยได้รับผลกระทบนอ้ยกว่าประเทศอื่นๆ เนื่องจากระยะควาห่างไกลจากพื้นที่เกิดเหตุ แต่ก็ส่งผลกระทบต่อ
ภาพรวมของการท่องเทียว เศราฐกิจ สิ่งแวดล้อม โดยหมกควันสีขาวเข้ามาบังทัศนะวิสัยในการมอง เห็นได้ไม่เกิดระยะ 100 เมตร และกลุ่มควันดังกล่าวครอบคลุมพื้นที่าภคใต้ของประเทศไทยเป็นระยะเวลาประมาณ 1 อาทิตย กลุ่มคควันถึงเร่ิมจางหายไป เนื่องจากมีฝนตกลงมาสถาณการณ์ในประเทศไทยจึงจะเข้าสู่ภาวะปกติ..
            ผลกระทบและความเสียหายที่เกิดจากมลพิษของหมอกควันจากไฟป่าข้ามแดน
            เมื่อเกิดไฟป่าและมีกลุ่มหมอกควันเกิดขึ้น ย่อมส่งผลกระทบที่ร้ายแรงในหลายๆ ด้าน ความเสียหายที่เกิดจากลุ่มหมอกควันนั้นไม่อาจคำนวนความเสียหายได้ชัดเจน ไม่ว่าความเสียหายด้านเศรษฐกิ ด้านสิ่งแวดลอ้มไ่ว่าทางอากาศ ดิน น้ำ หรือสัตว์ป่า ด้านสังคม และทั้งเป็นผลที่เกิดโดยตรงหรือโดยอ้อม ขอบเขตของผลกระทบนี้ก็ขึ้นอยู่กับควมถ่และควมรุนแรงของการเกิดไฟป่าและกลุ่มหมอกควัน โดยมีความเสียหารหลายด้าน อาทิ
            - ความเสียหายด้านเศรษกิจ จากกรณีไฟป่าประเทศอินโดนีเซีย พ.ศ. 2540 ประมาณการว่าประเทศอินโดนีเซียได้รับความเสียหายด้านเศราฐกิจถึง 6 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ รวมทั้งมีกาแารประเทิน
ค่าความเสียหายของประเทศต่างๆ ที่กลุ่มหมอกควันได้ครอบคลุมถึง คือ
           ประเทศสิงคโปร์มูลค่าความเสียหายเป็นเงินโดยประมาณ 4 พันล้าเหรียญสหรัฐฯ รวมถึงค่ารักษาพยาบาลและการขนส่งที่เกิดขัดข้อง
       
   ประเทศมาเลเซียก็ได้มีการคาดกาณ์ว่าเกิดความเสียหาย 9.3 พันล้านเหรียญสหรัฐรวมถึงค่ารักษาสุขภาพของประชาชนด้วย
           ประเทศไทย ได้มีการคาดการณ์มูลค่าความเสียหาย 1 พันล้านบาท รวมถึงค่ารักษาสุขภาพของประชาชน
           - ความเสียหายด้านสุขภาพ กลุ่มหมอกควัยขนาดใหญ่หนาทึบและสูงจาพื้นอินประมาณ 100-200 เมตรนั้น พัดพาไปครอบคลุมหลายประเทศส่งผลให้ประชาชน เกิดอันตรยต่อสุขภาพเป็นจำนวน 10 ล้านคน ส่งผลให้เกิดการระคายเคือยต่อระบบทางเดินหายใจและมีออาการแสบตา และผลกรทบต่อสุภาพที่เกิดมากหรือน้อยก็ขึ้นกับขนาออนุภาคของฝุ่นละอองที่สูดมเข้าไป...
            - ความเสียหายด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดกับพืช ก่อให้เกิดการสูญพันธ์ของพืชชนิดที่ไม่ทนไฟ ไฟป่าจะส่งผลต่อระบบนิเวศน์ของป่าไม้ สิ่งแวดล้อมที่อยุรอบตัวเราจะเสื่อลงเกิดการขยายตัวของทุ่งหญ้าเขตร้อน การเสือลงของความหลากหลายสายพันธุ์ในพืชและสัตว์กับป่าไม้ การสูญพันธุ์ของสัตว์ในป่าไ้ การเสียที่อยุ่อาศัยของสัตว์ป่า การสร้างมลพิษในปม่น้ำและปากแม่น้ำ, ดิน ผลกระทบของไฟป่าต่ออินจะมากหรือน้อยขึ้นอยุ่กับความุนแรงของไฟ ความยาวนานของการเกิดไฟและความชื้นของเชื้อเพลิง รวมทั้งความชื้นและชนิดของดินด้วย, น้ำ ผลจากการเกิดไฟป่าทำให้น้ำบ่าหน้าดินเพ่ิมขึ้นประมาณ 3 เท่าการพังทลายของดินเพิ่มขึ้น ธาตุอาหารพืชในดินถูกน้ำฝนชะล้างละลายไปกับน้ำ โดยเฉพาะถ้าเกิดไฟไหม้
อย่างรุนแรงและบ่อยครั้ง แหล่งน้ำตื้นเขิน ผิวน้ำเป็นกรมมากขึ้นและระบบนิเวศน์เปลี่ยนแปลง สัตว์น้ำบางชนิดที่ไม่อาจปรับตัวได้ต้องตายลง, อากาศ เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซน์เพิ่มขึ้นในบรรยากาศเป็นจำนวนมาก ทั้งนี้ เพราะว่าในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาจนทุกวันนี้วิวัฒนธากรของมนุษย์เจริญขึ้นอยา่งรวดเร็ว ย่ิงป่าไม้ถูกทำลายก๊าซคาร์บอนไดออกไซน์ยิ่งเพ่ิมขึ้นเนื่่องจากใบไม้จะเป็นผุ้ใช้ก๊าซในการปรุงอาหาร และไฟป่าก่อให้เกิดหมอกควันที่ทำให้สภาพอากาศของโลกเปลี่ยนแปลง เมื่อเกิดกลุ่มควันจาก๊าซคารบอนไดออกไซน์ที่มีความเข้มข้นสูงในชั้นบรรยากาศก๊าซสามารถดึงดูดความร้อนจากพื้นผิวโลกเข้าในตัวเอง ส่งผลให้อุณหภูมิในชั้นบรรยากาศของโลกสูงขึ้น, สัตว์ป่า ได้รับผลกระทบอย่างมากและรุนแรง digi.library.tu.ac.th/thesis/la/0813/07CHAPTER_2.pdf

วันอาทิตย์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2560

ASCC : D1

               ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ASEAN Socio-Cultural Community - ASCC มุ่งหวังให้ประชากรอาเซียนมีาภาพความเป็นอยุ่ที่ดี มีความมั่นคงทางสังคม มีการพัฒนาในทุกๆ ด้าน และมีสังคมแบบเอื้ออาทร โดยจะมีแผนงานสร้างความร่วมมือ 6 ด้าน คือ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม สทิะิและความยุติธรรมทางสังคม ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน การลดช่องว่างทางการพัฒนา
             หมวด D 1 ว่าด้วย กาจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมของโลก
             เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ : แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมของโลกโดยปราศจากผลกระทบต่อหลักการแข่งขันและการพัฒนาเณาฐกิจและสังคมโดยอยู่บนพื้นฐานของหลักความเท่าเทียม ยือดหยุ่น มีประสทิธิภาพ และหลักการความรับผิดชอบร่วมกันในระดับที่แตกต่างโดยสะท้อนถึงสภาพการพัฒนาทางเสณาฐกิจและสังคมของประเทศแตกต่างกัน
            มาตรการ
            - เพิ่มพูนความร่วมมือในระดับภูมิภาคเพรือปรับปรุงและเสริมสร้างศักยภาพ ในระดับประเทศและภูมิภาคในการจัดการประเด็นและพันธกรณีที่เกี่ยวข้องกับความตกลงพหุภาคีด้านสิ่งแวดล้อม โดยการวิจัยระดับภูมิภาค การส่งเสริมความตระกนักรับรู้ โครงการส่งเสริมขีดความสามารถและตัวเลือกนโยบายที่มีข้อมูลครบถ้วน
            - ส่งเสริมการประสานในการดำเนิงานกับ MEAs ที่เกี่ยวข้องโดยผ่านการกระชับความร่วมมือระดับภุมิภคในกาจัดการมาตรการต่างๆ ที่เีก่ยวข้องกับ MEAs ว่าด้วยเรื่องชั้นบรรยากาศ เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สารทำลายชั้นโอโซน และ MEAs ว่าด้วยเรื่องสารเคมีและของเสียที่เป้นสารเคมี
           - ส่งเสริมความเข้าใจ/และท่าทีร่วมของอาเซียนใน MEAs และ
           - การนำการจัดการแบบภาพรวมไปใช้ในกสรเสริมสร้างควาร่วมมือระดับภุมิภาคด้านสิ่งแวดล้อมโดยการมีส่วนร่วมของผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดที่เกี่ยข้องรวมถึงนักธุรกิจ นักวิชาการ องค์กรเอกชน และภาคประชาสังคมmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d1/
           ความตกลงพหุภาคีทางด้านสิ่งแวดล้อม Multilateral Environment Agreement : MEAs
           เป็นความตกลงระหว่างประเทศที่มีวัตถุประสงค์ในการเสริมสร้างความร่วมมือระดับสากลเพื่อการปกป้องและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยอาเศัยความรวมมือของประเทศภาคีในการสอดส่องดูแลความประพฤติของประเทศภาคีอื่นๆ
           กระแสการต้าโลในปัจจุบันมีแนวโน้มเชื่อมโยงเรื่องสิ่งแวดล้อมกับการต้ามากขึ้นเนื่องจากความตกลงพหุภาคีด้านส่ิงแวดล้อมส่วนใหญ่ไม่สามารถบังคับใช้ได้อย่างมีประสทิธิภาพ จึงทำให้มีความพยายามที่จะเชื่อมโยงเรื่องการต้าระหว่างประเทศกับการแก้ไัญหาสิ่งแวดล้อมเข้าด้วยกัน เพื่อช่วยบังคับให้ความตกลงด้านสิ่งแวดล้อมมีประสทิะภาพมากยิ่งขึ้นยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วอย่างสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรปที่มักจะกำหนดมาตรฐานสินค้าที่เข้มงวดโดยเชื่อมโยงไปกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม รวมทั้งพยายามผลักดันให้ประเทศกำลังพัฒนาอืนๆ ปรับเปลี่ยนมาใช้มตรการในระดับที่ใกล้เคียงกัน นโยบายดังกล่าวทำให้เกิดข้อสงสัยว่าเป้ฯการกำหนดมาตการโดยมีวัตถประส่งค์เพื่อรักาสิ่งแวดล้อมหรือเป็นการกำหนดโดยแอบแฝงไว้ซึ่งากรดีกันทงงการต้าซึ่งขัดต่อหลักการต้าเสรี ความตกลงพหุภาคีทางด้านส่ิงแวดล้อมที่สำคัญๆ ที่มีผลกระทบต่อการต้า ได้แก่
         
1 อนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ United Nation Framework Convention on Climate Change : UNFCCC มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2537 เพื่อรักษาระดับความหนแน่นของก๊าซเรือนกระจกที่สะสมอยู่ในบรรยากาศให้อยู่ในระดับที่ไม่เป็นอันตรยต่อโลก โดยจะต้องดำเนินการให้อยู่ภายในกรอบระยะเวลาที่กำหนดเพื่อให้ระบบนิเวศน์มีเวลาเพียงพอในการปรับตัวและให้เกิดความแน่ใจว่าการผลิตอาหาร ตลอดจนการพัฒนาเศรษบกิจจะไม่ถูกกระทบกระเทือน ปัจจุบัน ประเทศไทยได้ลงนามในอนุสัญญาเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2535 และเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาฯ โดยสมบูรณ์แล้วเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2537 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2538 มาตรการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ UNFCCC ไม่จำกัด/ควบคุมการค้าแต่มาตรการของประเทศภาคีอาจกระทบต่อการค้าได้
            2 พิธีสารเกี่ยวโต Kyoto Protocol มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2548 วัตถุประสงค์เพื่อให้กลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว (ตามภาคผนวก1) ต้องลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ปะกอบด้วย คาร์บอนไดอกไซด์ มีเทน ไนตรัสออกไซต์ และซัลเฟอร์ เฮกซะฟลูออไรด์ ก๊าซในกลุ่มไฮโดรฟลูโอโรคาร์บอน และก๊าซในกลุ่มเปอร์ฟลูออโรคาร์บอน เข้าสู่บรรยากาศโลกโดยตั้งเป้าหมายให้ต่ำกว่าปริมาณก๊าซที่ปล่อยในปี 2533 ร้อยละ 5 โดยเฉลี่ยให้ได้ในปี 2555 ปัจจุบันประเทศไทยให้สัตยาบันเมือวันที่ 28 สิงหาคม 2545 มาตรการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ ได้แก่ ประเทศภาคีในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วดำเนินการลดปริมาณารปล่อยก๊าซเรือนกระจกจึงส่งผลต่อการเพ่ิมต้นทุนการผลิต, กลไกการพัฒนาที่สะอาด (CDM) ที่อนุญาตให้ประเทศพัฒนาแล้วสมารถดำเนินการร่วมกับประเทศกำลังพัฒนาในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก อาจส่งผลต่อการลงทุนในกิจกรรมต่างๆ และก่อให้เกิดตลาดการต้าเครดิตที่เกิดจากการดำเนินโครงการด้วย
             3 พิธีการมอนทรีออลว่าด้วยสารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซน The Montreal Protocol on Substances that Deplet the Ozone Layer มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2532 วัตถุประสงค์เพื่อควบคุมการผลิต การใช้ การจำกัด กาลด หรือยกเลิกใช้สารเคมีที่ทำลายโอโซนในชัี้นบรรยากาศสตารโตสเฟียร์ เป็นข้อตกลงที่ต่อเนื่องจากอนุสัญญาเวียนนา ปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าร่วมเป้นภาคีโดยให้สัตยาบันเมือวันที่ 7 กรกฎาคม 2532 มีผลบังคับใช้วันที่ 5 ตุลาคม 2532 มาตรการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ ได้แก่ ข้อจำกัดการปล่อยสารที่ทำลายชั้นบรรยากาศ ซึงสารเคมีที่สามารถทอแทนได้มีสิทธิบัตรในหลายประเทศ ทำให้มีราคาแพง อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศกำลังพัฒนาไม่อาจใช้สารทดแทนนี้ในการผลิตเครืองปรับอากาศและตู้เย็นได้เพราะเป้นการเพิ่มต้อนทุนการผลิต, ห้ามการนำเข้าแลสงออกสารเคมีต้องห้ามจากประเทศที่ไม่ได้เป็นภาคี ซึ่งเป็นการเลือกปฏิบัติระหว่างประเทศภาคีและนอกภาคี
            ด้านสารเคมี
            4. อนุสัญญาบาเซลว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายและการกำจัดของเสียอันตรายข้ามแดน The Basel Convention on The Control of Transboundary Movements of Hazardous Wasted and their Disposal มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2435 จุดประสงค์ เพื่อลดความเสี่ยงจากความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ตรวจสอบติดตามการเกิดและการเคลื่อนย้าย "กากของเสียอันตราย" โดยกำหนดกลไกในการใช้การแจ้ง และการรับรองการแจ้งล่วงหน้า เกี่ยวกับการนำเข้า หรือการสงออกของเสียอันตรายซึ่งจะครอบคลุมถึง "ขยะอุตสาหกรรม" ปัจจุบันประเทศไทยได้ให้สัตยาบันเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาโดยสมบูรณ์แล้วเมืองันที่ 24 พฤศจิกายน 2540 และมีผลบังคับใช้ต่อประเทศไทยตั้งแต่วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2541 มาตรการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ ได้แก่ มาตรการเกี่ยว
กับการเคลื่อนย้ายของเสียอันตรายข้ามประเทศทั้งในด้านการส่งออกและนำเข้า โดยห้ามประเทศภาคีค้าของเสียอัจรายกับประเทศที่ไม่ได้เป็นภาคี, มีข้อห้ามการส่งออกสินค้าที่ไม่เป็นมิตรกับสิงแวดล้อมจนกว่าประเทศผุ้นำเข้าสามารถจะจัดการกับการนำเข้านั้นได้, มาตรการห้ามปล่อยของเสียอันตรายจากเขตการต้าที่ผิดกฎหมายและการปล่อยในที่ที่ไม่เหมาะสม, รัฐมีสิทธิที่จะห้ามการเคลื่อนย้ายของเสียอันตรายและของเสียอื่นๆ ในพื้นที่ของตน, มาตรการภาษี ในการนำกลับเข้ามาใหม่ ถ้าของเสียนั้นไม่สามารถกำจัดได้ในสภาวะที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
              5. อนุสัญยารอตเตอร์ดัมว่าด้วยกระบวนการแจ้งข้อมูลสารเคมีล่วงหน้าสำหรับสารเคมีอันตรายและสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์บางชนิดในกาต้าระหว่างประเทศ Rotterdam Convention the Prior Informed Consent Procedure for Certain Hazardous Chemical and Pesticides in Internatural Trade : PIC มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2541 วัตถุประสงค์เพื่อควบคุมการนำเข้าและส่งออกสารเคมีอันตรายต้องห้าม หรือจำกัดการใช้อย่างเข้มงวดและสูตรผสมของสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ที่เป็นอันตรายอย่างร้ายแรงเพื่อปกป้องสุขภาพอนามัยของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมจากอันตรายของ
สารเคมี และเพื่อส่งเสริมการใช้สารเคมีอย่างไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม ปัจจุบัน ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันต่ออนุสัญญาฯ เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2545 และมีผลบังคับใช้ต่อประเทศไทยตั้งแต่วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2547 มาตรการที่อาจมีผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ คือ การจำหน่ายสารเคมีอันตรายส่งไปยังประเทศกำลังพัฒนาหรือประเทศด้อยพัฒนา ก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรทางการค้า, มาตรการเกี่ยวกับการควบคุมการนำเข้าและส่งออกสารเคมีในกลุ่มประเทศภาคีอนุสัญญา, หลักการแจ้งข้อมูลสารเคมีล่วงหน้าสำหรับสารเคมีอันตราย และสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชในการค้าระหว่างประเทศ
               ด้านอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ
               6. อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชวภาพ The Convention on Biological Diversity : CBD มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2536 วัตถุประสงค์หลัก 3 ประการ คือ 1) เพื่ออนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ 2) เพื่อใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน และ 3) เพื่อแบ่งปันผลประโยชน์ที่ได้จาการใช้ทรัพยากรพัธุกรรมอย่างเท่าเทียมและยุติธรรม ปัจจุบัน ประเทศไทยลงนามรับรองอนุสัญญาฯ แล้วเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2535 ณ กรุงริโอ เดอจาเนโร ประเทศบราซิล และให้สัตยาบันเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาฯ โดยสมบูรณ์แล้วเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2546 มีผลบังคับใช้ต่อประเทศไทย เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2547 มาตรการที่อาจมีผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ ประกอบด้วยมาตรการเกี่ยวกับการต้าจะปรากฎในร่างพธีสารว่าด้วยความปลดภัยทางชวภาพ ซึ่งจะครอบคลุมการเคลื่อนย้าย ดูแลและการใช้สารเคมีที่ได้ผ่านกระบวนการทางชีวภาพที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมของส่ิงมีชีวิต ทุกชนิดโดยผุ้ส่งออกต้องได้รับความยินยอมจากผุ้นำเข้าตามกระบวนการที่กำหนด, การใช้ Precautionary Approach ในการพิจารณา
             7 อนุัญญาไซเตสว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ The Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Floras : CITES มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2518 วัตถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยกรธรรมชาติป้องกันการต้าพืช สัตว์คุ้มครอง เพื่อนำไปสู่การจัดการใช้ทรัพยากรชีวภาพอย่างยั่งยืน ปัจจุบันประเทศไทยเป็นภาคีสมาชิกโดยสมบูรณ์แล้วเมื่อวันที่ 21 มกราคม 2526 มาตรการที่อาจมีผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทสได้แก่ อนุสัญญาฯ ได้กำหนดกรอบปฏิบัติระหว่างประเทศเกี่ยวกับการส่งออกนำเข้า และนำผ่านชนิดพันธุ์สัตว์ป่าและพืชป่าที่กำลังจะนูญพันธุ์ เพื่อให้แน่ใจว่าการค้าระหว่างประเทศจะไม่มีผลกระทบต่อความเสี่ยงที่ชนิดพันธ์ุนั้นๆ จะสูญพันธ์, อนุญาตให้มีการต้ากับประเทสที่ไม่ใช่สมาชิก, กำหนดห้ามค้ากับประเทศที่ไม่ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์

                - กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ สำนักยุทธศาสตร์การเจรจาการค้า กรกฎา 2554 (Environmment_-_Overview.doc)

         

วันเสาร์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2560

Performance appraisal (ASCC)

           โครงการติดตามประเมินผล การดำเนินงานตามแผนการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2558 (ระยะสิ้นสุดแผน)
           จากการรวบรวมข้อมูลจากรายงานประจำปีการดำเนินงานตาม ASCC Blueprint ในระดับประเทศข้อมูลจากการประชุมระดับความคิดเห็นกลุ่มย่อยกับหน่วยงานที่ไ้รับมอบหมายให้ดำเะนินการตาม ASCC Blueprint ข้อมูลจากการทำแบบสำรวจความคิดเห็น และข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิและผุ้เชียวชาญในสาขาทุกสาขาที่เกี่ยวข้องกับ ASCC สามารถสรุปผลดำเนินการตามแผนงานการจัดตั้งปะชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน พ.ศ.2552-2558 ของประเทศไทย ระยะสิ้นสุดแผนได้ดังนี้
           สรุปผลการดำเนินการตาม ASCC ฺBlueprite 2009-2015 ของประเทศไทย
           ภาพรวมผลการอำเนินการตามแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน พงศ. 2552-2558 ของประเทศไทย ระยะสิ้นสุดแผน พบว่า จำนวนทั้งหมด 339 มาตรการ มีจำนวน 262 มาตรการ หรือร้อยละ 77 ที่ได้ดำเนินการแล้วเสร็จตามเป้าหมายที่กำหนดและได้เป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินการอย่างถาวรของหน่วยงานต่างๆ ต่อไป และมีจำนวน 33 มาตรการหรือร้อยละ 10 กำลังอยู่ในระหว่างการดำเนินการและอีกจำนวน 44 มาตรการหรือร้อยละ 13 อยู่ระหว่างการพิจารณาหรือไม่มีข้อมูลในการประเมิน หรือเป็นมาตรการที่ต้องมีการปฏิบัติในระดับนานาชาติ
             หมวด A การพัฒนามนุษย์ 61 มาตรการ ดำเนินงานข้ามหน่วยงาน 1 มาตรการ เสร็จสมบูรณ์/เสร็สมบูรณ์และเป็นกระบวนการต่อเนื่อง 55 มาตรการ(90%) อยู่ระหว่างการดำเนินงาน 6 มาตรการ (10%)
             หมวด B การคุ้มครองสวัสดิการสังคม จำนวน 94 มาตการ ตำเนินการข้ามหน่วยงาน 13 มาตรการ เสร็จสมบูรณ์/เสร็จสมบูรณ์และเป็นกระบวนการต่อเนื่อง 79 มาตรการ (84%)  อยู่ในระหว่างการดำเนินการ 7 มาตรการ (7%) อยู่ระหว่างการพิจารณา/ไม่มีข้อมูล แบ่งเป็นระดับภูมิภาค 3 มาตรการ ระหว่างการพิจารณา 1 มาตรการ ไม่มีข้อมูล 4 มาตรการ (รวมเป็น 9%)
              หมวด C ความยุติธรรมและสิทธิ 28 มาตรการ ดำเนินงานข้ามหน่วยงาน 7 มาตรการ เสร็จสมบูรณ์/เสร็จสมบูรณ์และเป็นกระบวนการต่อเนือง 27 มาตรการ (96%) อยุ่ระหว่างดำเนินการ 1 มาตรการ (4%)
           
หมวด D  ส่งเสริมความยั่งยือนด้านสิ่งแวดล้อม 98 มาตรการ ดำเนินงานข้ามหน่วยงาน 9 มาตรการ สถานะ เสร็จสมบูรณ์/เสร็จสมบูรณ์และเป้นกระบสนการต่อเนื่อง  57 มาตรการ (58%) อยู่ในระหว่างการดำเนินงาน 16 มาตรการ (16%) อยู่ระหว่างการพิจารณา/ไม่มีข้อมูล แบ่งออกเป็น ระดับภูมิภาค 2 มาตรการ ไม่มีข้อมูล 2 มาตรการ ระหว่างการพิจารณา 2 มาตการ (26%)
             หมวด E การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน 50 มาตรการ ดำเนินการข้ามหน่วยงาน 3 มาตรการ สถานะ เสร็จสมบูรณ์/เสร็จสมบูรณ์และเป็นกระบวนการต่อเนื่อง 40 มาตรการ (80%) อยู่ระหว่างพิจารณา/ไม่มีข้อมูล ระดับภูมิภาค 3 มาตรการ ไม่มีข้อมูล 3 มาตรการ ระหว่างการพิจารณา 1 มาตรการ (14%)
            หมวด F กาลดช่องว่างทางการพัฒนา 8 มาตรการ ไม่มีการดำเนินงานข้ามหน่วยงาน  สถานะ เสร็จสมบูรณ์/เสร็จสมบูรณ์และเป็นกระบวนการต่อเนื่อง 4 มาตรการ (50%) อยู่ระหว่างการพิจารณา/ไม่มีข้อมูล แบ่งออกเป็นระดับภูมิภาค 3 มาตรการ ไม่มีข้อมูล 1 มาตรการ (50%)
            รวม มาตรการทั้งสิ้น 339 มาตรการ เป็นมาตรการที่ดำเนินการข้ามหน่วยงาน 33 มาตรการ  สภานะ เสร็จสมบูรณ์/เสร็จสมบูรณ์และเป็นกระบวนการต่อเนื่อง 262 มาตรการ คิดเป็น 77 % อยุ่ในระหว่างดำเนินการ 33 มาตรการ คิดเป็น 10% รอการพิจารณา/ไม่มีข้อมูล 44 มาตรการ คิดเป็น 13%
             และเมื่อเปรียบเทียบกับการประเมินผลในระยะครึ่งแผน พบว่า ในรอบการประเมินผลครึ่งแผนมีจำนวนมาตรการที่ดำเนินการแล้วเสร็จตามเป้าหมาย 218 มาตรการหรือร้อยละ 64 จากจำนวนมาตรการทั้งหมด 339 มาตการ และอีก 54 มาตรการหรือร้อยละ 16 กำลังอยุ่ในระหว่างการดำเนินการ และอีก 67 มาตรการหรือร้อยละ 20 ที่อยุ่ระหว่างการพิจารณาหรือไม่มีข้อมูลในการประเมิน หรือ เป็นมาตรการที่ต้องมีการปฏิบัติในระดับนานาชาติ และจากทั้งหมด 6 เป้าหมาย เป้าหมาย C ความยุติธรรมและสิทธิ ยังคงมีสัดส่วนในการดำเนินแล้วเสร็จสูงสุดทั้งในระดับการประเมินผลในระยะครึ่งแผนและสิ้นสุดแผน
            การประเมินระบบ กลไก และทรัพยากรในการดำนินการตาม ASCC BLUEPRINT ของประเทศไทย
            ภาพรวมการประเมิน
            - ความเชื่อมโยง พบว่า เป้าหมายและมาตรการตาม ASCC Blueprint มีความเชื่อมโยงกับแนวนโยบาย ภารกิจ และแนวการดำเนินการของหน่วยงาานีี่เกี่ยว้องอยุ่ในระดับสุง
            - ประสิทธิผล พบว่า การดำเนินงานของหน่วยงานที่เกียว้องนับว่ามีประสิทธิผลอยู่ในระดับปานกลางดดยมีประเด็นร่วมที่สำคัญได้แก่ การจัดสรรวลบประมาณ และกระบวนการติดตามประเมินผลที่ยังขาดความชัดเจน
         
- ประสิทธิภาพ พบว่า การดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องม่ประสทิะภาพอยุ่นระดับปานกลาง โดยมีประเด็นร่วมที่สำคัญได้แก่ ข้อจำกัดของบุคลากรทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ ทั้งนี เมื่อขอบเขตงานมากขึ้น แต่จำนวนบุคลากรยังคงเดิมจึงก่อให้เกิดปัญหางานล้มมือ และที่สำคัญข้องจำกัดด้านขีดความสามารถของเจ้าหน้าที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งขีดความสามารถในสื่อสารภาษาต่างประเทศ
           - ความยั่งยืน พบว่า แนวการดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีความยั่งยืนอยู่ในระดับปานนกลางโดยทั่วไปพบข้อจำกัดด้านการประสานงานข้ามหน่วยงาน
           - ผลกระทบ พบว่า การดำเนินการตาม ASCC Blueprint ก่อให้เกิดผลกระทบเชิงบวกในวงกว้งอยุ่ในระดับกลาง ทั้งในระดับประเทศ ระดับชุมชน และระดับบุคคล

                       - โครงการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2558 (ระยะสิ้นสุดแผน)

วันศุกร์ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2560

ASEAN Environment

            กรอบความร่วมมืออาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม
            กลไกการดำเนินงานอาเวียนด้านสิ่งแวดล้อม
             ในปี พ.ศ. 2520 สิบปีหลังการก่อตั้งอาเซียน ประเทศสมาชิกได้ร่วมกันริเร่ิมโคึรงการควาร่วมมือด้านส่ิงแวดล้อมขึ้นเป้ฯครั้งแรกโดยความช่วยเหลือของโครงการส่ิงแวดล้อมแห่งสประชาชาติ จัดทำโครงการอนุภูมิภาคด้านส่ิงแวดล้อม พร้อมกับจัดตั้งคณะผุ้เชี่ยวชาญอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อม ภายใต้คณะกรรมการอาเวียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคนโลยี เป็นผุ้ดำเนินการโครงการ ASEP 1 ซึ่งระยะเวลา 5 ปี (พ.ศ. 2520-2524) หลังจากนั้นก็มีโครงการต่อเนื่องอีสองโครงการคือ ASEP II (พ.ศ.2525-2530)และ ASEP III (พ.ศ. 2531-2535)
            ในช่วงปี พ.ศ. 2535 ได้มีการปรับรูปแบบคณะผุ้เชี่ยวชาญอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อม(AEGE) โดยยกฐานะจากคณะผุ้เชี่ยวชาญเป็นคณะกรรมการ ซึ่งแยกออกจากคณะกรรมการด้านวิทยาศาสตร์ฯ เป็นเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อม มีหน้าที่กำกับดูแลงานด้านสิ่งแวดล้อมโยเฉพาะ เสนอแนนโยบาย และประสานการจัดการสิ่งแวดล้อมของภุมิภาคอาเซียน รวมทั้งส่งเสริมความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างกันในอาเซียน อาเซียนกับภูมิภาคอื่นๆ และอาเซียนกับองค์กรระหว่างประเทศ ซึ่อยุ่ภายใต้การกำกับดุแลของรัฐมนตรีอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม โดยที่เจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อมจะรายงานการดำเนินงานและเสนอกิจกรรมและดครงการต่อที่ประชุมรัฐมนตรีทุกปี
           
การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อม เป็นการประชุมเพื่อพิจารณากำหนดนโยบาย และทบทวนข้อตัดสินใจต่างๆ รวมทั้งให้ความเห็นชอบต่อแผนงาน/โครงการต่างๆ จะแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ การประชุมทางการซึ่งจะจัดขึ้นทุก 3 ปี โดยจะมีการหมุนเวียนกันเป็นเจ้าภาพตามลำดับตัวอักษร และ การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมอย่างไม่เป็นทางการ ซึ่งเกิดขึ้นจากมติที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 6 เมื่อ 25-26 เมษายน 2537 ณ บรูไนดารุสซาลาม เพื่อให้รัฐมนตรีอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมมีโอกาสพบปะ หารือแลกเปลี่ยนความคิดเห้ฯและข้อเสนอแนะต่างไ ในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นประจำในปีที่มไ่มีการประุมอย่างเป็นทางการ นอกจากนี้ ในการปรชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมแต่ละครั้งยังมีการประชุมกรอบอาเซียน +3 เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือด้านส่ิงแวดล้อมของอาเซียนกับกับประเทศาธารณรับประชาชนจีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี และกรอบเอเชียตะวันออก หรือ อาเซียน + 6 โดยมีเตรือรัฐออสเตรเลีย สาธารณรัฐอินเดีย และนิวซีแลนด์ และปัจจุบันมีสมาชิกเพื่อขึนคือ สหรัฐอเมริกา และสหพันธรัฐรัสเซีย ในระดับปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมได้รับมอบหมายจากรัฐมนตรีให้จัดตั้งคณะทำงานเพื่อดำเนิน
โครงการ กจิกรรมตามนโยบาย แผน และแนวทางต่างๆ ที่ได้รับมอบหมายจากรัฐมนตรีซึ่งในปัจจุบันมีคณะทำงานทั้งหมด 7 คณะ คือ
            - คณะทำงานอาเซียน้ดานการอนุรักษ์ธรรมชาติและความหมากหลายทางชีวภาพ ดดยมีสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เป็นหน่วยงานกลางประสานงานดำเนินงาน
            - คณะทำงานอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อมทางทะเลและชายฝั่ง โดยมี กรมควบคุมมลพิษ เป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนิงาน
            - คณะทำงานอาเซียนด้านข้อตกลงพหุภาคีด้านสิ่งแวดล้อม โดยมี กรมควบคุมมลพิษ เป้ฯหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
            - คณะทำงานอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อมเมืองที่ยั่งยือน โดยมี สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เป้ฯหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
            - คณะทำงานอาเซียนด้านการจัดการทรัพยากรน้ำ โดยมี กรมทรัพยากรน้ำ เป้ฯหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
         
- คณะทำงานอาเซียนด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยมี สำนักงานนธยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เป้ฯหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
            - คะณทำงานอาเซียนด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยมี สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เป้ฯหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
            - คณะทำงานอาเซียนด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยมี สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
            - คณะทำงานอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมศึกษา โดยมี กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม เป้ฯหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
            นอกจากนี้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมยังีการดำเนินงานทางด้านทรัพยากรธรรมชาติ ที่ควบเกี่ยวกับการดำเนินงานของกระทรวงต่างๆ ได้แก่
            1. คณะกรรมการอาเซียนด้านวทิยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นหน่วยงานหลักมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสมาชิกอาเซียน และมีการจัดตั้งคณะอนุกรรมการ 9 สาขา มีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งเป็นหน่วยประสานงานคณะอนุกรรมการอาเวียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางทะเล ซึ่งเป้นคณะอนุกรรมการระดับเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบกำกับดูแล และประสานการดำเนินงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางทะเลในภุมิภาคอาเซียน ตั้งแต่เดือนพฤษภาคน 2549  ทั้งนี้มีการประชุม เมื่อปี 2555 ที่
เมือง เนปิดอว์ ประเทศเมียนมาร์
          2. การประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนด้านการเกษตรและป่าไม้ โดยมีกระทรวงเกษตรและสหกรณืเป้นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก เพื่อกำหนดแนวทางในระดับนโยบายและทบทวนข้อตัดสินใจ และมีการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านการเกษตรและป่าไม้ และการประชุมคณะทำงานสาขาต่างๆ ทำหน้าที่ดูแลด้านวิชาการและด้านการปฏิบัติการ ทั้งนี้ กรมป่าไม้เป็นหน่วยประสานงานเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านป่าไม้ ซึ่งมีคณะทำงานภายไต้ ASOF อีก 6 หน่วยงาน
         
 3. การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านแร่ มีกระทรวงอุตสาหกรรมเป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก มีการตั้งเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านแร่ของอาเซียน เพื่อพิจารณา หารือ หรือกำหนดกรอบแผนปฏิบัติการ เร่งรัด/ติดตามการดำเนินงานของคณะทำงานด้านต่างๆ และพิจารณาให้ความเห็นชอบในโครงการความร่วมมือระหว่งประเทศสมาชิกอาเซียน ตลอดจนประเทศคู่เจรจาในด้านทรัพยากรแร่ และเป็นกลไกหลักที่สำคัญในประชาคมเศราฐกิจอาเซียน โดยมีคณะทำงานด้านต่างๆ ที่ทำหน้าที่เป้นหน่วยปฏิบัติงาน 4 ด้าน โดยมีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กระทรวงอุตสาหกรรมเป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน ดังนี้
                 - คณะทำงานด้านสารสนเทศและฐานข้อมูลแร่ ซึงกรมทรัพยากรธรณี ได้รับเชิญให้เข้าร่วมเป็นคณะทำงาน
                 - คณะทำงานด้านการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรด้านแร่
                 - คณะทำงานด้านการพัฒนาทรัพยากรแร่อย่างยั่งยืน
                 - คณะทำงานด้านการค้าและการลงทุนในทรัพยากรแร่oic.mnre.go.th/ewt_news.php?nid=486

           

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...