วันพฤหัสบดีที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

Identification

            Identification อัตลักษณ์ หรือการกำหนดเอกลัษณ์ หมายถึง กระบวนการที่บุคคลใดบุคคลหนึ่งนิยามตนเอง หรือเอกลักษณ์ของตนโดยยึดถือบุคคลอื่นหรือสิ่งอ่นนอกจากตัวเองเป็นหลัก เช่น คนที่เจ็บแทนเพื่อหรือ หมู่คณะได้ชื่อว่าถือเพือนหรือหมู่คณะเป็นอัตลักษณ์อันเดียวกับตน
           Identity คือคำว่ อัตลักษณ์ซึ่งตรงกับความหายของคำนี้ในพจนานุกรมภาษาอังกฤษ นั้นก็คื อสิ่งที่เป็นคุณสมบัติของคนหรือส่ิงหนึ่งและมีนัยขยายต่อไปว่าเป้นคุณสมบัติเฉพาะของคนหรือสิ่งนั้น ที่ทำให้ส่ิงนั้นโดดเด่นขึ้นมาหรือแตกต่างจากส่ิงอื่น แต่ในปัจจุบันความมหายนี้ได้แปรเปลียนไป แนวโน้มทางทฤษฎียุคหลังสมัยใหม่ ทำให้เกิดการตั้งคำถามอย่างมากกับวิธีการมองโลกการเข้ถึง ความจริง ของส่ิงต่างๆ รวมทั้งสิ่งที่เชื่อกันว่าเป็นความจริงที่เป็น แก่นแกน ของปัจเจกบุคคล วิธีคิดในกระแสนี้รื้อถอนความเชื่อเกี่ยวกับคุณสมบัติแก่นแกนของปัจเจกภาพ ความเป็นปัจเจกกลายเป็นเรื่องของการนิยามความหมายซึงสามรถเลือนไหลเปลียนแปลไปตามบริยท อัตลักษณ์เป็นมโนทัศน์ที่คาบเกี่ยวสัมพันธ์กับวิชาหลายแขนงทางด้านสังคมศาสตร์ ทั้งังคมวิทยามนุษย์วิทยา จิตวิทยา และปรัชญา อัตลักา์มีความสำคัญเป็นพิเศษเนื่องจากเป็นปริมณฑล เชื่อมต่อระหว่างขั้วทั้งสองในด้านหนึ่งอัตลักาณ์ คื อความเป็นปัจเจก ที่เชื่อมต่อและสัมพันธ์กันสังคม
          ซึ่งเกี่ยวกับความหมายของอัตลักษณ์นี้ประสิทธิ์ ได้กล่วถึงความหมายของอัตลักา์ว่า อัตลักาณ์ มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน คือ Identitas เดิมใช้คำว่า Idem ซึ่งหมายความว่า เหมือนกัน (THE same)
อย่างไรก็ตามโดยพื้นฐานภาษาอังกฤษแล้ว อัตลักาณ์มีความมหายสองนัยยะด้วยกัน คือ ความหมายเหมือนและความเป็นลักษณะฉพาะที่แตกต่างออกไป นั่นคือการตีความหมายเหมือนกันบนพื้นฐานของความสัมพันะื และการเปรียบเที่ยบกันระหว่างคนหรือสิ่งขอในสองแง่มุมมอง คื อความคล้ายคลึงและความแต่กต่าง นอกจากนั้นแล้วยังชี้ให้เห็นว่าอัตลักาณ์มิใช่เป็น่ิงที่มีอยุ่แล้วในตัวของมันเอง หรือ กำเนิดขึ้นมาพร้อมคน หรือสิ่งของ แต่เป็นสิ่งที่ถูกสร้างขึ้นมาและมีลักษณะความเป็นพลวัตอยู่ตลอดเวล ซึ่งสอดคล้องกับการให้ความมหายของ เบอร์เกอร์ และ ลัคแมนน์ ที่ว่าอัตลักษณ์ถูกสร้างขึ้นดดยกระบวนกา ทางสังคม คร้นเมื่อตกผลึกแล้วอาจมีความคงที่รปับเลปี่ยน หรือแม้กระทั้งเปลี่ยนแปลง หรือแม้กระทั้งเปลี่ยนแปลงรูปไปทั้งนี้ขึ้นอยุ่กับความสัมพันะ์ทางสังคมเป้นหลักกล่าวดยอีกนัยหนึ่งอัตลักาณ์เป็ฯเรื่องของความเข้าใจและการรับรุ้ว่าเป้นใครและคนอื่นเป็นดใครนั้นคือเป้ฯการกอปรขึ้นและดำรงอยุว่าเรารับรู้เกี่ยวกับตัวเราเองอย่างไร และคนอื่นรับรุ้เราอย่างไรโดยมีกระบวนการทางสังคมในการสร้างแลสืบทอดอัตลักาณ์ ทั้งนี้ย่อมขึ้นอยู่กับบริบทของความสัมพันธ์ทางสังคมที่มีต่อคนหรือกลุ่มอื่นๆ ด้วย
         อัตลักษณ แบ่งออกเป็น ๑ ระดับ คือ อัตลักษณ์ระดับปัจเจก และอัตลักา์ร่วมของกลุ่ม ในระดับปัเจก บุคคลหนึ่งอาจมีหลายอัตลักษณ์อยู่ในตัวเอง ในขณะที่อัตลักาณ์รวมก่อให้เกิดความสงลอยู่รวมกันของกลุ่มชน และไม่สามารถแยกออกจากการกระทำหรือละท้ิงสถานภาพของปัจเจกในกลุ่มได้
          คำว่า อัตลักษณ์ มีความหมายที่ครอบคลุม ตั้งแต่เรื่องของเชื่้อชาติ เพศ สีผิว โดยปัจจุบันเราพบความเปลี่ยนแปลงและความเปลี่ยนแปลงและความไม่ชัดเจนของการแสดงอัตลักษณ์ในหลายๆ กลุ่มชน เนื่องจากอิทธิพลของการพัฒนาและการเปิดรับอารยธรรมของชนเผ่าที่มองว่า ตนเองเป็นผุ้มีอารยธรรมเหนือกว่า ดังนั้นกาพยายามเปลี่ยนแปลงโดยไม่เข้าใจที่มาของรุปแบบวัฒนธรรมนั้นยอ่มทำให้ผุ้รับเอวัฒนธรรมมาตัึวามหมายที่ผิดแปลกออกไป การดูถูกทางวัฒนธรรมหรือการเหยียดสีผิว การเหยียดชนชั้นคึงเป็นส่ิงที่ตามมา..อาจพอสรุปได้ว่า อัตลักษณ์หมายถึง ความนึกคิดเกี่ยวกับบทบาทเฉพาะตนของบุคคลในการแสดงออกเพื่อติดต่อสัมพันธ์กับบุคคลอื่นตามโครงสร้างทางสังคมและวัฒนธรรม ที่บุคคลดำรงอยุ่เนื่องจากอัตลักษณ์เป็นความนึกคิดเกี่ยวกับตนเอง จึงมีความสำคัญ ตอพฤติกรรมของบุคคล กล่าวคือ ความนึกคิดเกี่ยวกับตนเป็นเครื่องกำหนดพฤติกรรมของบุคคลเพราะคนเราย่อมกระทำไปตามความคิด หรือ มโนภาพว่าตนเองเป็นคนเช่นไร
       
ทฤษฎีอัตลักษณ์ เ็นทฤษฎีทางจิตวิทยา ที่มุ่งอธบยพฤติกรรมตามบทบาทของบุคคล ทฤษฎีอัตลักาณ์มีความเป้นมาและมีหลักการของทฤษฎี คือ
          เชลดอน สไตรเกอร์ ศาสตราจารย์ ประจำภาควิชาสังคมวิทยา ม.อินเดียนา สหรัฐฯ ได้พัฒนาทฤษฎีอัตลักษณ์ โดยอาศัยกรอบแนวคิดตามบริบททางสังคมวิทยาบนพื้นฐานทัศนภาพโครงสร้างปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์นิยม โดยมีวัตถประสงค์ของทฤษฎีคือ เืพ่ออธิบายพฤติกรรมแสดงบทบาท ซึ่งเกิดจากากรปฎิสัมพันะ์เชิงสัญลักษณ์ระหว่งสังคม และตัวตน ของบุคคล โดยมีโครงสร้างทางสังคม และการปฏิสัมพันะ์ทางสังคม เป็นตัวกำหนดหรือควลคุมการแสดงพฤติกรรมของบุคลล ทฤษฎีนี้อาศัยข้อตกลงเบื้องต้น
          จากแนวคิดว่าสังคมและตัวตนมีความซับซ้อน ความหากหลายแง่มุม และมีการจัดระบบระเบียบ จึงทำให้เกิดการสร้างทฤษฎีเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่าง ๆของสังคมกับส่วนต่างๆ ของตัวตนตลอดจนการดำเนินการในเรื่องนี้อย่างเป็นเหตุเป็นผลดีขึ้นทฤษฎีอัตลักษณ์ได้นำแนงคิดปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณะนิยมมใช้อธบายพฤติกรรมของบุคคล โดยให้ความสำคัญกับการเลือบทบาท กล่าวคือพฤติกรรมการเลือกบทบาท เป้นผลที่เกิดจากความเด่นของอัตลักณ์ ซึ่งเป็นส่วนประกอบหนึงขอ ตัวตน ในขณะที่ความผุกพันต่อบทบาท ส่งผลต่อความเด่นของอัตลักษณ์

            บางส่วนจาก วิทยานิพนธ์ " การสื่อสารอัตลักษณ์ของสถาบันอุดมศึกษษเอกชนไทย" (บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง), วราลักาณ์ ศรีกันทา, มหาบัณฑิต บัณฑิตศึกษามหาวิทลัยเนชั่น, ตุลาคม 2555.

วันพุธที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

The summit came to a close.

           นายกรัฐมนตรี เสร็จสิ้นภารกิจประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 31 และการประชุมสุดยอดอื่นที่เกี่ยวข้อง (15 พ.ย. 2560)
           นากยักรัฐมนตร เสร็จสิ้นภารกิจประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 31 และการประชุมสุดยอดอื่นที่เกี่ยวข้อง ที่สาธารณรัฐฟิลิปปินส์แล้ว ดดยไทย เน้นย้ำความร่วมมือเชิงยุทธศาสตร์ ที่ีอาเซียนเป้นแกนกลาง เืพ่อส่งเสริมผลประโยชน์ร่วมกันบนพื้นฐานของการพัฒนาที่ยั่งยืน
         พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เสร็จสิ้นภารกิจการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที 31 และการประชุมสุดยอดอื่นทีอื่นที่เกี่ยข้อง ที่กรุงมะนิลา สาธารณรัฐฟิลิปปินส์แล้ว และเดินทางกลับถึงประเทศไทยเมื่อเวลา 02.00 น. ที่ผ่านมา การปรุชมครั้งนี้ผุ้นำอาเวียนและผุ้นำประเทศคูเจรจาเข้ารวมการประชุมร่วม 16 เวที โดยการประชุมสุดยอดอาเซียน ช่วงการประชุมเต็มคณะ นายกรัฐมนตรี ใช้ฮกาสเข้า่วมการประชุมครั้งนี้ เสนอหลักการ 3 แนวทางเืพ่อขชับเคลื่อนอาเซียนไปข้างหน้า คือ การสร้างประชาคมที่อาเซียนให้เป็ฯการเชื่อมต่อกับภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และโลกอย่างเป้นระบบ การเสริมสร้า
และรักษาความเป็นแกกลางอาเซียนส่วนการปรชุมสุดยอดอื่นๆ ที่เีกี่ยวข้อง อาทิ การประชุมสุดยอดhttp://thainews.prd.go.th/website_th/news/news_detail/TNPOL6011150010005
อาเซียนบวกสาม การประชุมสุดยอดอาซียนแคนาดา การประชุมสุดยอดอาเซียน-สหภาพยุโรป เพื่อฉลองโอกาสรบรอบ 40 ปีความสัมพันะ์ ไทยมีบทบาทสำคัญกับชาติอาเซียน ในการร่วมผลักดันความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา เน้นการมีอาเซียนเป้นแกนกลาง สร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ ส่งเสริมผลประโยชน์ร่วมกันบนพื้นฐานของการพัฒนาที่ยั่งยืน ภายหลังเสร็จสิ้นการประชุม ได้ลงนามแันทามติว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองแรงงานต่างด้าว เพื่อแสดงจเตนารมย์ในการสร้างกลไกส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิสวัสดิการของแรงงานต่างด้าวในอาเซียน
             ประเทศไทยเสนอแนวทางความร่วมมือต่อที่ประชุมสุดยอดอาเซียน และประเทศคู่เจรจา เน้นความร่วมมือเชิงยุทธศาสตร์ที่มีอาเวียนเป้นแกนกลาง ทั้งด้านเศรษบกิจ และการเชื่อมโยงในภุมิภาค เพื่อขับเคลือนการพัฒนาอย่างทั่วถึง และยั่งยืน โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย รายงาน
             การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 31 และการปรุชมสุดยอดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ง ที่กรุงมะนิล
สาธารณรัฐฟิลิปปินส์วันสุดท้าย พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้เข้าร่วมการปรุชมสุดยออดอาเซียน + 3 โดยใช้ประโยชน์จากการตลาดและฐานการผลิตเดียวของประชาคมอาเซียบน เพื่อเมปริมาณการต้าและากรลงทุนในอาเซียนให้มากขึ้น เพื่อยกระดับเป้นปรชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออก บนพื้นานของประชาคมเศราบกิจอาเซียน มีความก้าวหน้าด้านเศราฐกิจอย่างยั่งยืนในระบบเศรษบกิจโลก
             ส่วนการประชุมสุดยอดอาเซียน-แคนาดา สมัยพิเศษ นายกรัฐมนตรีกล่าวชื่นชมรัฐบาลแคนาดาที่เพ่ิมความสำคัญต่อภุมิภาคเอเชียตะวัออกเฉียงใต้ เสนอให้เร่งเสริมสร้างความร่วมมือเพือรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของโลก และส่งเสริมเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งบยืนให้เกิดผลเป็นรูปะรรมมากยิงขึ้น อีกทั้งจะร่วมกันพัฒนาและส่งเสริมระบบภูมิภาคนิยมและพหุภาคีนิยม บนพื้นฐานหลักำหมา และผลปรธยชน์ร่วมกัน
           
สำหรับการประชุมสุดยอดอาเวียน-สหภาพยุโปร สมัยพิเศษ ในฐานะที่ไทยเป้นประเทศผูประสานงานอาเซียนอียุ มีควาก้าวหน้าหลายด้าน เช่น การจัดทำแผนงานอาเวียน-อียู ด้านการต้า การลงทุน การเจรจาความตกลงการขนส่งทางอากาศแบบครอบคลุม เืพ่อให้ความร่วมมือเดินหน้าสู่เป้าหมาย เสนอให้อาเวียนและอียู ร่วมส่งเสริมภูมิภาคนิยมและพหุภาคีนิยม เพือปกป้องสิทธิประโยชน์ของมนุษย์และไม่ทิ้งใตีไว้ข้างหลัง รวมทั้งยึดประชาชนเป็นศุนย์กลาง ไม่ว่าจะเำเนินนโยบายในเรืองใด
             ขณะที่การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ครั้งที่ 12 ซึ่งมีผุ้นำประเทศอาเซียน และผุ้นำ จีน ฐี่ปุ่น รัสเซีย เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย อินเีย นิวซีแลนด์ เข้าร่วมโดย(ุ้สกรัฐของลาประชุม เนื่องจากมีภารกิจต้องเดินางกลับก่อน นายกรัฐมนตรีเน้นในที่ประชุม ขอให้ใช้เวทีหารือเชิงยุทธศาสตร์ ดดยทุกประเทศร่วมมือกัน เริมสร้างความร่วมมือด้านเศรษฐกิจและการเงินให้มากขึ้น ผลักดันการเชื่อมโยงในภูมิภาค เืพ่อขับเคลื่อนกาพันาและความเจริญให้ทั่วถึง รวมทั้งบริหารจัดการปัญหาและความท้าทายด้านความมั่นคง และอาชญากรรมทางไซเบอร์
            จากนั้นนายกรัฐมนตร ร่วมพิธีการประชุมสุดยอดอาเซียน คร้งที่ 31 อย่างเป็ฯทางการ และพิธีส่งมอบตำแหน่งประธานอาเวียน จากสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ให้แก่สาธารณรับสิงคโปร์ต่อไป http://www.tnamcot.com/view/5a0ae9e9e3f8e40ae58e50b5

              "ผู้นำอาเซียน" เหน็ชอบ 3 แผนงานสุดท้ายของเออีซี
              นางอภิรดี ตัสตราภรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยถึงผลการหาหรือของคณะหมาจรีประชาคมเศรษฐกิจอาเวียน ครั้งที่ 15 เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายนที่ผนม ในระหว่าการประุมสุดยอดอาเวียน ครั้งที่ 31  ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ว่า เป้ฯการหารือครังแรกในรอบ 2 ปี หลังจากการก่อตั้งประชาคมเศราฐกิจอาเซียน เมื่อปลายปี 2558 โดยได้หารือความคืบหน้าการดำเนินการตามแผนงานประชุมคมเศรษฐกิจอาเวียน ที่ประชุมได้รับรองปผนงานรายสาขาครบถ้วนแล้วทั้ง 32 แผนงาน
             นางอภิรดีกล่าวว่า 3 แผนงานสุดท้ายที่ได้รับรอง คือ 1. แผนปฏิบติการเชิงยุทะสาสตร์ด้านการอำนวนความสะดวกทางการค้า มีเป้าหมายลดต้นทุนธุรกรรมทางการต้าลง 10 %  ภายในปี 2563 และเพ่ิมมูลค่าการค้าภานใภุมิภาคเป็น 2 เท่า ภายในปี 2563 2. แผนการดำเนินการด้านพาณิชย์อเล็กทรอนิ
กส์ของอาเซียน เพื่อส่งเสริมพณิชย์อิลเ็กทรอนิกส์ภายในภุมิาภค และ 3. แผยปฏิบัติการเชิงยุทธศาสตร์ด้านภาษีอากร ซึ่งเป็นแวทางการดำเนินการด้านภาษาีอาการ เช่น การสนับสนุนการดำเนินการเพื่อจัดทำความตกลงอนุัญญาภาษีซ้อนให้แล้ว เสร็จการขยายขอบเขตดครงสร้างภาษีหัก ณ ที่จ่าย การปรับปรุงการปฏิบัติงานในการแลกเปลี่ยนข้อมุลให้สอดคล้องกับมารตรฐานสากล ซึงแผนงานดังกล่าวเป็นแปนงารที่จำเำเนินการนับจากนี้จนถึงปี 2568
           นางอภิรดี กล่าวอีกว่ ที่ประชุมครั้งนี้ยังได้รับรองปฏิญญาอาเซียนว่าด้วย นวัตกรรม ซึ่งแสดงถึงเจตนารวมกันของประเทศสมาชิกอาเซียนในการใช้นวัตกรรมเป้นปัจจัยขับเคลื่อนให้เกิดการเติบโต และการแข่งขันของุตสาหกรรมระดับภูมิภาค โดยเอกสารดังกล่าวจะเสนอต่อผุ้นำอาเซียนให้ความเห้ฯชอบภายในการประชุมผุ้นำอาเวียนในครั้งี้นอกจากนี้ที่ประชุมได้ให้ความเห็นชอบรายงานของ AEC Council ต่อผุ้นำอเวียน ซึ่งมีข้อเสนแให้ผุ้นำอาเซียนพิจารณา เช่น การให้ความสำคัญกับการทำงานร่วมกันระหว่าองค์กรรายสาขา และสเหลักของประชาคมอาเซียน การให้ประเทศสมาชิกความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจระดับภูมิภาค แสดงความยืดหยุ่นและปรับระดับความคาดหวังเืพ่อให้การเจรจา บรรลุผลhttps://www.matichon.co.th/news/731333

         

ในวาระการปิดการประชุม ประธานาธิบดี โรดริโก ดูเตอร์เต ได้กล่าวสุนทรพจน์ ระบุว่า การประชุมที่จัดขึ้น ทำให้ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นมากกมาย ซึ่งล้วนแต่มีประโยชน์ทั้งระดับภูมิภาค และระดับโลก พร้อมทำพิธีมอบตราสัญลักษณ์ ส่งต่อให้ผุ้นำสิงคโปร์เป็นเจ้าบ้านจัดากรประชุมต่อในครั้งต่อไป สำหรับประเด็นหารือด้านเสณาฐกิจ ได้ร่วมพุดคุยกับตัวแทนจาก จีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ ตากรอบความร่วมมือ "อาเซียนบวก 3" โดยเสนอให้มีการจัดทำประชาคมเศราฐกิจ "จัดตั้งตลดเดียว" เพื่อให้สามารถหมุนเวียนสินค้า บริการ เงินทุน และบุคลากร ได้อย่างเสรี สร้างห่วงโซ่ อุตสาหกรรมให้ทุกประเทศ ได้รับประโยชน์ร่วมกัน
          นอกจากนี้ ยังมีการหารือเกี่ยวกับการแก้ปัญหาความยากจีนของประชาชน และเน้นใช้คุณค่าทางวัฒนธรรมของแต่ละประเทศ ในการสร้างความเป็ฯอันเหนึ่งอันเดียวกันของประชาชน ดดยระบุ จะสร้างชุมชนเศรษบกิจอาเซียนบวก 3 ให้แข็งแรงยิ่งขึ้นภายในระยะเวลา 20 ปี
       
ด้านภัยคุกคาม นายดูเตอร์เต เน้นกล่าวถึง ภัยคุกคามจากความแข็.กร้าวของเกาหลีเหนือ โดยชี้ให้เห็นถึงความอันตรายที่อาจเกิดขึ้น และการทำลายภุมิประเทศซึ่งเป็นแหลงมลทำมาหากิน เพาะปลูกของประชาชน หากเกาหลีเหนือ ยังคงเดินหน้าพัฒนาและทอลองขีปนาวุธ และอาวุธนิวเคลียร์
           ส่วนประเด็นเรื่อง สิทธิมนุษยชน นายกรัฐมนตรี จัสติน ทรูโด ของแคนาดา ได้กล่าวระหว่างการหารือนอกรอบ ในระดับทวิภค กับ ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ โดยีการแลกเปลี่ยนความเห็นเกี่ยวกับประเด็นการเดินหน้าสงครามปราบปรามยาเสพติดของเจ้าบ้าน โดยหลายฝ่ายชี้ว่า เป้นสัญญาณที่ดี ที่นายดูเตอเตย์ ไม่ได้แกสงท่าที่ต่อต้านในการพุดคุยประเด้นนี กับทางฝั่งแคนาดา
       

นอกจากนี้ นายทรูโด ยังได้แสดงความกังวล ในสภานการณ์ความขัดแย้งระหว่างชาวโรฮิงญา กับตัวแทนรัฐบาลเมียนมา แม้เมื่อว่านนี กองทัพเมียนมา จะออกมาเผยรยงนว่า ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกบการฆ่าล้างเผ้าพันธุ์ชนกลุ่มน้อยกลุ่มนี้ก็ตาม
           ส่วนเริ่องความขัดแย้งบนทะเลจีนใต้ นายกรัฐมนตรี หลี่ เค่อเฉียง ของจีน ชี้ว่า รัฐบาลจีน จะเข้าร่วมการเจรจาตามแนวทางปฏิบัติของภาคีในทะเลจีนใต้ พร้อมเรียกร้องให้ทุกฝ่าย ใช้แนวทางสัติวิธีเพื่อวางรากฐานความมั่นคงทางทะเล
            อย่างไรก็ตาม แม้เมื่อวานนี จะเปํนวันสุดท้ายของการประชุม แต่รัฐบาลฟิลิปปินส์ ยังคง้องสั่งครึงกำลังเจ้าหน้าที่ตำรวจ เพื่อรักษาความปลอดภัย เนื่องจาก ยังคงมีกลุ่มผุ้ประท้วงออกมาชุมนุมอยู่เป็นจำนวนมาก...http://www.krobkruakao.com/abroad/56651

วันอังคารที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

hot issue ' ASEAN Summit 31 st. Part 1.5

           โรฮีจา-ทะเลจีนใต้- นิวเคียร์ ประเด็นร้อนในอาเซียนซัมมิท ครั้งที 31 ที่ ฟิลิปปินส์
            โรฮิงจา ร่างแถลงการณ์ร่วมผุ้นำอาเซียนไร้เงาประเ็นกว่าล้างชาวโรฮีนจา ในเมียนมา กลายเป็นประเด็นร้อย หลังอาซียนเผยร่างแถลงการร่วมของการประชุมสุดยอดผุ้นำในครั้งนี้ ดดยไม่ได้มีการระบุถึงประเ็นการกว่าดล้างและขับไล่ชาวโรฮีนจาในรัฐยะไข่ของเมียนมาออกนอกประเทศ หลังกองทัพเมียนมาใช้มตรการทางทหารและความรุนแรงต่อชาวมุสลิมกลุ่มนี้
            นับตั้งแต่เดือนสิงหาคมเป้นต้นม มีชาวดฮีนจาอพยพไปยังบังกลาเทศ มากว่า หกแสนคน บาดเจ็บและสียชีวิตเป้นจำนวนมาก หมู่บ้านหฃายแห่งของชาวโรฮีนจาถูกเผาทำลายท้ิง สหประชุาชาติได้ประณามเหตุการใช้ความรุนแรงดังกลาวว่า "ไม่ต่างอะไรกับการฆ่าล้างเผ่าพันธ์" และเรียกร้องให้นางออง ซาน ซุจี ผุ้นำที่ (เคย) เป็นแรงบันดาลใจของคนทังดลกในเรื่องการต่อสู้เืพ่อความเป็นประชาธิปไตยและความเท่าเที่ยมกันในยุคเผด็จการทหารของเมียนมาได้ออกมาแก้ไขปัญหานี้เป้นการด้่วน
            ความตอนหนึ่งในร่างแถลงการณืดังกล่าว พุดถึงควมสำคัญของการให้ความช่วยเหลือทางด้านมนุษยธรรม แก่ผุ้เคราะห์ร้ายและตกเป็นเหยือของภัยพิบัติทางธรรมชาติในเวียดนา กรต่อสุ้กับกลุ่มรัฐอิสสลาม (กลุ่มไอเอส) ในฟิลิปปินส์ รวมถึงชุมชขนที่ได้รับผลกระทบบริเวณทางตอนเหนือของรัญยะไข ซึ่งไมได้ระบุหรือชีแจงข้อมุลเพ่ิมเติม เกี่ยวกับความโหดร้ายและป่าเถือนที่กองทัพเมียนมาใช้ความรุนแรง ต่อต้านและปราบปรามกลุ่มคนที่พวกเขามองว่า เป็นอื่น โดยมิไดคำนึงถึงหลักสิทธิมนุษยชนแต่อย่างใด
            นางออง ซาน ซุจี เจ้าของรางวัลโนเลสาขาสันติภาพปี 1991 ที่เดนทางเข้าร่วมการประชุมสุยอดผุ้นำในครั้งนี ต่างทำให้ลายฝ่ายผิดหวังต่อท่าทีของเธอในประเด็นี และเธอยังไม่เคยเอ่ยถึงการกวาดล้างชาวโรฮีนจาบริเวณทางตอนเหนือของรัฐยะไข่เลย นับตั้งแต่เดินทางถึกรุงมะนิลา ส่ิงที่เกิขึ้นอาจะสะท้อนถึงจุด้อยของอาเว๊ยนที่ยึดืถอหลักาไม่แทรกแซง ระหว่างกัน ซคึ่งส่งผลให้บางประเด็นปัญหา โดยเฉพาะปัญหาด้านสิทธิมุนษยชนภายในภูมิภาคนี้ยังไม่ได้รับการเยียวยาแก้ไขอย่างจริงจัง
         
 วิลเนอร์ ปาปา ผุ้แทนขององค์กรนิรโทษกรรมสากลระหว่างประเทศ ประจำฟิลิปปินส์เผยว่า "ผุ้นำอาเซียนจะพูดคุยถึงประเด็นปัญหาการก่อการร้าย สันติาพ และความสงบสุขภายในภูมิภาค แต่มีประเด็นปัญหาหนึ่งที่จะไม่ถูกพูดถึง และผู้เคราะห์ร้ายเหล่านั้นกำลังถุกเพิกเฉยจาบรรดาผุ้นำประเทศเหล่านี้"
          ทะเลจีนใต้ อาเซียนและผุ้นำจีน เร่งผลักดันให้แก้ไขปัญหาพิพทาในทะเลจีนใต้
          นายหลี่ เค่อเฉียง นายกรัฒนตรีของจีน ได้แสดงจุดยืนต่อกรณีพิพาทในทะเลจีนใต้ที่เกิดขึ้นมาอย่างยาวนา ขณะเข้าร่วมปรุชุมสุดยอดผุ้นำอาเซียนในครั้งนี้ โดยมองว่า การเร่งจัดพิมพ์แบบแผน ข้อพึงปฏิบัติ ต่อกรณีพิพาทดินแดนที่เกดขึ้น จะมีสวนช่วยทำให้เกิดความีเสถียรภาพเพิ่มมากขึ้นภายในภุมิภาค
         "ความหวังสุงสุดของจีนคือ การเกิดสันติภาพและความมั่นคงขึ้นภายในภูมิภาค"
          นักวิชาการหลายสำนักมองว่า ความพยายามดังกล่าวไม่น่าจะเกิดขึ้นได้ในช่วงเร็วๆ นี้เนื่องจากการพุดคุยที่เกิดขึ้นเป็นเพียงกรอบแนวทางและหลายประเทศก็ยังเดินหน้าอ้างกรรมสิทธ์เหนือดินแดนต่างๆ โดยยากที่จะแบ่งปันผลประโยชน์ร่วมกัน ทั้งนี้ยังไม่ได้มีการกไนดวันที่จะเริ่มเจรจากันอย่างชัดเจนอีกด้วย
          นอกจากนี้เมืองช่วงต้นเดือนพฤศจิกายนทที่ผ่านม ทางการจีนก็ได้เปิดตัวเรือขุดลำใหม่ที่ใหญ่ที่สุดของจีน หรืออาจเรียกได้ว่มีขนาดใหญ่ที่สุดในเอเชีย มีการคาดการณ์ว่า เรือขุดลำมหึมานี้จะมีส่วนสำคัญในการเพ่ิมศักยภาพในจการสร้างเกาะที่ยมให้แก่จีน และ สนับสนุนการอ้างกรรมสิทธิ์เหนือดินแดนต่าง ๆที่จีอ้างว่าเป้ฯกรรมสิทธิ์ของตนดดยเฉพาะหนือน่านน้ำทะเลจีนใต้ที่มีข้อพิพาทกับไต้หวันรวมถึง 4 ประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซียนอีกด้วย จึงย่ิงสงผลกระทบต่อควาเชื้อมันระหว่งกันในการร่วมือแก้ไขปัญหานี้
          ทั้งนี้ที่ผ่ามาจีนอ้างกรรมสิทธิ์เหนือดินแดนในทะเลจีนใต้เกือบทั้งหมดและสร้างค่ายทหาร รวมถึงถมพื้นที่ตามแนวปะการังในบริเวณดังกล่าวอีกด้วย
           นิวเคลียร์คาบสมุทรเกาหลี ผุ้นำสหรัฐฯ ชี อาเวียนจะเป็นกลไกสำคัญในการยุติปัญหานิวเคลียร์บนคาบสมุทรเกาหลี
           ปัญหาความตึงเครียดที่เกิดขึ้นบนคาบสมทุรเกาหลีที่นับวันจะยิ่งทวีความรุนแรงและยากจะคาดเาได้นั้นยิ่งทำให้หลายฝ่ายในประชาคมระหว่างประเทศเป็นกังวลต่อภัยคุกคามความมั่นคง และสงคามนิวเคลียร์ที่อาจจะเกิขึ้นได้ในอนาคต มหาอำนาจตะวันตกอย่างสหรัฐฯ หนึ่งในคุ่ขัดแย้งหลักของปัญหานัก รวมถึงชาติพันธมิตร จึงไดพยายามดำเนินมาตรการกดดันเกาหลีเหนือในการยุติการทดสอบและเดนหน้าพัฒนาขีปนาวุธนิวเคลียร์โดยเร็วที่สุด ก่อนที่ความขัดแย้งจะบานปลายจนกลายเป็นการใช้กำลังเข้าโจมตีระหว่างกัน
           แต่ดุเหมือนว่าอาวุธนิวเคลียน์นี้ เปรีบเสมอืนเป้นหลักประกันเพียงหนึ่งเดียวที่จะช่วยปกป้องผลประโยชน์แห่งชาติของเกาหลีเหนือไว้ได้ จึงทำให้สถานการณ์ต่างๆ รวมถึงหนทางที่จะนำไปสู่โต๊ะเจรจาในช่วงเวลานี้เป้นไปได้ยากพอสมควร
           ทั้งนี้ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ยังเล็งเห็นว่า อาเซียนจะเป้นอีกหนึ่งตัวแสดงสำคัญในประชาคมระหว่างประเทสที่จะสนับสนุจุดยืนของสหัรัฐฯ พร้อมกดดันให้กองทัพโสมแดงยุติโครงการต่าง ๆที่เกียวข้องกับขีปนาวุธนิวเคลียร์โดยเร็วตามมติของสหประชาชาติ เพราะถ้าหากทุกประเทศช่วยกันตัดช่วงอทางแหล่งเงนิทุนที่จะใช่ในการพัฒนาอาวุธดังกล่าว อาจทะใไ้เป้าหมายนี้บรรลุผลเร็วยิ่งขึ้นhttps://thestandard.co/31st-asean-summit/

hot issue ' ASEAN Summit 31st

ประท้วงเดือด ประท้วง นาย โรนัลด์ ทรัมป์
            "ทรัมป์" ร่วมประชุมอาเซียนท่ามกลางประท้วงเดือด (13 พ.ย. 2560)
            เปิดฉากขึ้นอย่างเป็นทางการแล้ว สำหรับการประชุมสุยอดผุ้นำชาติอาเซียนและประเทศคู่เจรจา ที่กรงุมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์โดยมีประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ของสหรัฐฯ เดินทางไปเข้า่ีวมกรประชุมด้วย ท่ามกลางการประท้วงดุเดือดของฝ่ายซ้าย
              สำนักข่าวต่างประเทศรายงานว่า เมื่อช่วงเช้าที่ผ่านมา ตามเวลาท้องถ่ิน บรรดาผุ้นำชาติอาเซียน และประเทศคู่ค้าสำคัญ อาทิ ประธานาธิบดโดนัลด์ ทรัมป์ ของสหรัฐฯ นายกรัฐมนตรีหลี่ เค่อเฉียง ของจีน และนายกรัฐมนตรีชิโซ อาเบะ ชองญี่ปุ่น ได้เดินทางไปเข้าร่วมพธีิเปิด การประชุมสุดยอดผุ้นำชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ อาเซียน ซัมมิท ครั้งที่ 31 ซึ่งจัดขึ้นที่กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์
ทเะลจีนใต้
            ประธานธิบดีโรดริโก ดูเตอร์เตผุ้นำฟิลิปปินส์กล่าวเปิดการประชุมสุดยอดอาเวียนครั้งที่ 31 ในกรุงมะนิลาเช้าวันนี้ ประธานาธิบดีดุเตอร์เตกลาวต้อนรับคณะผุ้นำ 17 ประเทศที่เข้าร่วมการประชุมสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) ครั้งที่ 31 ในกรุงมะนิลา การประชุมเป็นเวลา 2 วันนี้จะหารือถึงความร่วมมือระหวางประเทศในด้านการพัฒนาและภัยคุกคามที่มีต่อภุมิภาคและทั่วดลก ดดยหลีกเลี่ยงรายละเอียดในประเด็นอ่อนไหวเรืองการทำสงครามปราบปรามการต้ายาเสพติด ผุ้นำฟิลิปปินส์ กล่าวว่า การต้ายาเสพติดผิดกฎหมายเป้นอันตรายต่อสังคม แต่ไม่ได้กล่าวถึงแนวทางการควบคุม นอกจากนี้เขายังกล่าวถึงการสู้รบกับกลุ่มกบฎมุสลิมทางภาคใจ้ รวมถึงภัยคุกคามจากการรอ่การร้ายที่ยายวงกว้างมากขึ้น ทางด้านประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ของสหรัฐเคยกล่าวชื่นชมการทำงานของผุ้นำฟิลิปปินส์ แต่ไม่ได้ระบุโดยตรงถึงการใช้กำลังเจ้าหน้าที่ปราบปรามอาชญากรรมประธานาธิบดีทรัมป์เดินทางถึงกรุงมะนิลาเมื่อวันอาทิตย์ ขณะที่กลุ่มผุ้ประท้วงราว 3,500 คนพยายามเดินขบวนมาที่สถานทูตสหรัฐแต่ถูกตำรวจปราบจลาจลสกัดไว้ก่อน ผุ้ประท้วงร้องตะโกนขับไล่นายทรัมป์และกล่าวหารรัฐบาลสหรับที่คอยยุยงให้เกิดความเหลี่ยดชัวแลก่อส่งคามในต่างประเทศ โดยชูแผ่นป้ายประท้วงที่มีใจความไม่เอาทรัมป์ และว่าเป็นผุ้ก่อการร้ายหมายเลขหนึ่ง...http://siangtai.com/2017/11/13/%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%B3%E0%B8%9F%E0%B8%B4%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3/
โรฮิงจา
            อย่างไรก็ดี แหล่งช่าวซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ในการประชุม มองว่า การเจรจาดังกล่าวอาจเผชิญอุปสรรคอีกหลายด้าน ทั้งการทำให้จีนยอมรับให้แนวปฏิบัติในทะเลจีนใต้มีผลทางกฎหมายและการโน้มน้าวให้จีนยุติการสร้างค่ายทหารในพื้นที่พิพาทและอาจเป็นเพียงข้อตกลงในกระดาษเท่านั้น
              นอกจากนี้ ร่างแถลงการณ์ไม่มีการเอ่ยถึงการกว่าล้าวชาวโรฮีนจา ทั้งที่ก่อนหน้านี้องค์การสหประชุาชาติได้ประฌามการกระทำดังกล่าวว่าเป็นการกำจัดชาติพันธุ์และมีเสียงเรียกร้องจากทั่วโลกให้ ออง ซาน ซูจี ประเามกองทัพเมียนมา เพียงแต่ให้ความสำคัญกับการให้ความช่วยเหลือด้านสิทธิมนุษยชนกับผู้ประสบภัยธรรมชาติในเวียดนาม และเหยือก่อการร้ายในเมืองมาราวีของฟิลิปปินส์ รวมถึงชุมชนที่ได้รับผลกระทบในรัฐยะไข่เท่านั้น
            https://www.posttoday.com/world/news/525188
สาเหตุที่ประเด็นชาวโรฮีนจาไม่ถุกหยิบยกขึ้นมาอภิปรายอาจเป็นเพราะอาเซียนมีหลักการสำคัญที่ประเทศสมาชิกต้องปฎิบัติตามคื อไม่แรกแซงกิจการภายในของประเทศสมาชิกอื่น ที่ประชุมจึงไม่แตะต้องปัญหาของเมียนมา แม้แต่การพบปะหารือกันนอกรอบของผุ้นกเจ้าบ้าน ประธานาธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์ ของสหรัฐ ก็ไม่มีการถกประเ็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนและารวิสามัญฆาตกรรมุ้เกี่ยวช้องกับยาเสพติดตามนโยบายของผุ้นำฟิลิปปินส์ที่ังหารผู้ค้ายาไปหลายร้อยชีวิต...
             เปิดวาระร้อนซัมมิตอาเซียน
             คาดว่าผุ้นำอเาซียนและจีนจะประกาศเร่ิมต้นการเจรจาเรื่องแนวปฏิบติในทะเลจีนใต้ตามกรอบแนวทางี่รัฐมนตรีต่างประเทศบรรลุข้อตกลงไว้เมื่อเดือน ส.ค.
             ผู้นำทั้ง 10 ชาติอาเซียน พร้อมท้งประเทศคุ่เจรจาอี 9 ประเทศ เช่น สหรั
ฐ แฃละจีน รวมทั้งผุ้นำจากสหประชาชาติ (ยูเอ็น) และสหภาพยุโรป (อียู) ร่วมประชุมซัมมิทอาเซียนครั้งที่ 31 และการประชุมเวทีคู่ขนานในโอกาสเฉลิมฉลองครอบรอบ 50 ปี ของอาเซียนนี้ ท่ามกลาวกระแสความกาณณ์ว่า อาเว๊ยนจะอนุมัติกรอบแนวปฏิบัติในทะเลจีนใต้ แะสัญญาคุ้มครองแรงงานอพยพ ที่เป็นเป้าหมายของฟิลิปปินส์ในฐานะประธานอาเซียนปีนี้
            สำหรับประเด็นสำคัญ ที่คาดว่าจะถูกหยิบยกขึ้นหารือในการประชุม คือ เรื่องภัยคุกคามจากเกาหลีเหนือ และคาดว่า อาเซียน ซึ่งมีความัมพันธ์อันดีกับเกาหลีเหนือจะแสดงความกังวลต่อากรทดสอบนิวเคลียร์และขีปนาวุธของเากหลีเหนือ พร้อมทั้งเรียกร้องให้เกาหลีเหนือกลับเข้าสู่โต๊ะเจรจา
            นอกจากนี้ ยังคาดว่า ประธานาธิบดีโรดริโก ดูเตอร์เตของฟิลิปปินส์ จะสรำปสถานการณ์ให้เหล่าผู้นำรับทราบเรื่องผลการปราบปรามกลุ่มหัวรุนแรงที่ยึดเมืองมาราวีได้สำเร็จแล้ว ซึ่งผุ้นำชาติๆต่างๆฟ มีความกังวลร่วมกันเร่องภัยคุกคามจากการก่อการร้ายและแนวคิดสุดโต่ง
              ส่วนประเด็นวิกฤติโรฮิงญา ก็เป็นอีกวาระร้อนของภุมิภาค แต่เนื่องจากอาเวียนยึดหลักไม่ก้าวก่ายกิจการภายในชาติสมาชิกทำให้อาจมีผุ้นำเีพยงบางชาติ ที่ออกมาแสดงคามวิตกและความไม่พอใจเรื่องนี้ และคาดหวังว่าเมีนยมาร์จะป็นฝ่ายหยิบยกเรื่องนี้เพื่อชีแจ้งต่ออาเว๊ยน
             อีกหนึ่งในไฮไลต์ของการประชุมครั้งนี้ คือ ประธานาธิบดีดูตร์เต จะพบกับประธานาธิบดีดดนัล์ ทรัมป์ของสหรัฐ เป็นครั้งแรกหลังจากความสัมพันะ์ระหว่างฟิลิปปินส์กับสหรัฐตึงเครียดในช่วงใกล้พ้นตำแหน่งของประธานาธิบดีบารัล โอบามา ที่วิจารณ์สงครามยาเสพติดของผุ้นำฟิลิ)ปินส์อย่างหนัก และนายดูเตอเต มั่นใจว่า นายทรัมป์จะไม่พุดถึงเรื่อสิทธิมนุษยชนตอนหารือร่วมกันhttps://up2me.in.th/%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%8B%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%8B/
       
         

วันจันทร์ที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

Form Danang Vietnam to Manila Filliippine

           การประชุมความร่วมมือทางเศราฐกจิเอเชีย-แปซิฟิค หรือเอเปค ครั้งที 25 ที่เมือง ดานัง ประเทศเวียดนามได้ปิดฉากลงแล้ว ด้วยการับรองปฏิญญาผุ้นำเอเปค 4 ฉบับง่าด้วยการส่งเสรมความก้าวหน้าในการสร้างโอกาสทางเศราฐกิจ ดดยที่ประชุมระดับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ทั้งหดมจาก 11 ประเทศตกลงที่จะเดินหน้าแผนกรอบความร่วมมือทางการต้าเอเปค โดยไม่มีสหรัฐอเมริการเข้าร่วม
           การประชุมความร่วมมือทาเงศราฐกจเอเชีย- แปซิฟิก หรือเอเปคคร้งที่ 25 ที่เมืองดานัง ประเทศเวียดนาม ปิดฉากลงแล้ว ด้วยการรับรองุปฎิญญาผู้นำเขตเศรษบกิจเอเปค 4 ฉบับ ว่าการสงเสริมความก้าวหน้าในการสร้างโอกาสทางเศราฐกิจ ความร่วมมือในการพัฒนาคน ส่งเสริมเอสเอ็มอี และส่งเสริมสตร์ทอัพที่มีนวัตกรรม
           ความร่วมมือของผู้นำเขตเศรษกบิจเอเปค จากสมาชิก 21 เขตเศรษบกิจ ยังเป้นที่จับตาในเวทีโลก ดดยเฉพาะประเด็นความร่วมมือที่ยังไม่สอดคล้องกัน เชน แถลงการณ์ร่วมของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์และกระทรวงการต่องประเทศ เน้นย้ำถึงความสำคัญของการสนับสนุนตลาดการต้าที่เสรีและเป็นธรรม การเดนหน้าต่อสู้กับนโยบายปกป้องกันค้า และส่งเสริมบทบาทขององค์การการต้าโลก หรือ WTO ตลอดจนกระตุ้นให้ชาติสมาชิกยึดหลักกฎเกณฑ์การต้าที่ได้ให้คำมั่นร่วมกันไว้
          แถลงการครั้งนี้ออกล่าช้ากว่ากำหนดการเดิมที่ระบุไว้ 3 วัน ดดยเป็นผลจากสุนทรพจน์ของประธานาธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์ของสหรัฐฯ ที่แสดงจุดยืนชัดเจนว่าต้องการร้อและทบทวนกรอบข้อตกลงการต้าที่จะไม่ทำให้สหรัญฯ เสียดุลและถูกเอารัดเอเาปรียบอีกต่อไป รวมถึงการเน้นยำนธยบายอเมริกัน ต้องมาก่อนและการปกป้องการจ้างงานและผลประโยชน์ของสหรัฐฯ ซึ่งสวนทางกับแนวทางของเอเปกในปัจจุบน และในที่ประชุมระดับรัฐมนตรรีว่าการกระทรวงพาณฑิชย์ทั้งหมดจาก 11 ประเทศ ตกลงที่จะเดินหน้าแผนกรอบความร่วมมือทางการต้าเอเชีย-แปซิฟิก โดยไม่มีสหรัฐอเมริกาเข้า่ร่วม...
       
  ส่วนการกล่าวสุนทรพจนของประธานาธิดบีสีจิ้นผิง ของจีน แสดงจุดยืนที่แตกต่างจากผุ้นสหรัฐฯ อยางเห็นได้ชัด ด้วยกาเน้นย้ำความสำคัญของการต้าเสรีในระดับพหุภาคี ว่าเป็นส่งิที่ควรสนับสนนุส่งเสริม เพราะช่วยให้ประเทศเล็กๆ ไม่เสียเปรียบประเทศที่มีเศรษบกิจขนาดใหญ่ ซึ่งผุ้นำจีนยังได้เรียกรองให้ยกกระดับความรวมมือระหว่าง 21 เศรษฐกิจเอเปกกับชาติสมาชิกในอาเวียนเพื่อมมากขึ้น ดดยจีนจะสนับสนุนเืพ่อสงผลให้เกิดตลาดการต้าเสรีแห่งภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และความร่วมมือของประชาคมจีน-อาเซียน ด้วย
       
ขณะที่การพบกันของ นายโดนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา กับนายวลาดีเมียร์ ปูติน ประธานาธิดบีรัสเซียน ยังเป้นที่จับตาอย่างมากตลาอดการประชุม ภายใน 24 ชั่วโมง..สำนักข่าว บีบีซี รายงานว่า ทั้งสองฝ่ายมีข้อตกลงที่ต่อสุ้กับแลุ่มไอเอสต่อปจนกว่าจะเอาชนะกลุ่มไอเอส ซึงรัฐบาลรัสเซียน เปิดเผยว่า นีเป้นแถลงการณ์ที่คณะผู้เชียวชาญของทั้งสองฝ่ายเตรียมไว้หลงผุ้นำทั้งสองพบหรารือกันช่วงสั้น ๆ แต่ยังไม่มีคำยืนยันอย่างเป้นทางการจากทางการสหรัฐอเมริการเกี่ยวกับถลงการณืฉบับนี้
          ผุ้นำไทย พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้กล่าวสุนทรพจน์เรื่องการเติบโตอย่างมีนวัตกรรม การมีส่วนร่วม และการจ้างงานที่ยั่งยืนในยุคดิจิตัง โดยย้ำ ว่า การปฏิวัติอุตสาหกรรม การมีส่วรร่วม และการจ้างงานที่ยั่งยืนในยุคดิจิทัล โดยย้ำว่า การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้ง 4 จะนำพาเอเปคไปสู่ยุคใหม่ โดยมี "นวัตกรรม" เป็นหัวใจในการขับเคลือนเศราฐกจิและสังคม ที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนทุกลุ่มโดยเฉพาะหลุ่มผุ้ด้อยโอกาส สนับสนุนให้เกษตรกรน้อมนำหลักเสณฐกิจพอเพียงของในหลวง รัชกาลที่ 9 มาปรับใช้กับเทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อนำไปสู่การเป็นเกษตรอัจฉิยะ เชื่อมต่อกับตลาดโลก...http://www.krobkruakao.com/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%99/56453/%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%84-%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-25.html
          แถลงการณ์ ดานัง..
          บ่ายวันที่ 11 พฤศจิการยน ณ ศูนย์การสื่อสารระหว่งประเทศในนครดานัง ปรธานประเทศ เจิ่นด่ายกวางได้เป็นประธานการแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน โดยแจ้งให้ทรบเกี่ยวกับผลงานที่โดดเด่น ของการปรุชมผุ้นำเศราฐกิจเอเปกครั้งที่ 25
          ท่าน เจิ่นด่ายกว่างได้ย้ำว่ จากการสานต่อผลสำเร็จในความร่วมมือของเอเปกในหลายปีที่ผ่านมาความเห้นพ้องเป้นเอกฉันท์ในระดับสูงของบรรดาผุ้นำเศรษฐกิจเอเปก ที่ประชุมได้อนมัติแถลงการณ์ดานัง "สร้างพลังขับเคลื่อนใหม่เพื่อร่วกันสร้างอนาคตที่ดีงาม" นี่คือผลงานท่สำคัญที่สุดของการประชุมผู้นำเอเปกและของปีเอเปก 2017
            ซึ่งตามนั้น บรรดาผุ้นำเอเปกได้ยืนยันถึงความมุ่งมั่นธำรงความร่วมมือและการเชื่อมโยงในเอเปกในสภาวการณ์ที่สถานการณ์ในภูมิภาคและโลกมีการเปลี่ยนแปลงเป็นอย่งมาก เอเปกผลักดันการต้าเสรีและการลงทุนในภูมิภาค ผลักดันคุณภาพ เน้นยกระดับความสามารถในการเชื่อมโยงด้านเสณาฐกิจระหว่างประเทศให้แก่สมาชิก เพื่อเตรียมพร้อมให้แก่เอเปกในการ่ย่างเข้าสุ่ทศวรรษที่ 4 ของการพัฒนาและเสร็จสิ้นเป้าหมายโบร์กอ บรดาผุ้นำเอเปกไห้เห็นพ้องถึงความจำเป้นเืพ่อธำรงความร่วมมือใหม่ให้แก่เอเปกหลังปี 2020 ประะานประเทศ เจิ่นด่ายกวาง ไ้ย้ำว่า "เพื่อให้เอเปกเป็นพลังขับเคลื่อนผลักดัน
การเชื่อมโยงในภุมิภาค มีสวนร่วมเพื่อให้เอเชียแปซิฟิกเป็นพลังขับเคลือนของการขยายตัวและการเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก ที่ประชุมได้ยืนยันอีกครั้งถึงคำมั่นเสร็จสิ้นเป้าหมายโบกอร์เกี่ยวกับการต้าเสรีและการลงทุน ผลักดันการอำนวยความสะดวกให้แก่การลงทุน การประกอบธุรกิจและการบริการ ผลักดันความร่วมมือด้านเศรษบกิจเทคนิค พยายามมุ่งสุ่การจัดตั้งเขตการต้าเสรีเอเชียแปซิฟิกหรือเอฟทีเอเอพี ที่ประชุมยังื่นชมการนอุมัติกรอบเอเปกเกี่ยวกับการอำนวยความสะดวกให้แก่การค้าดิเล็กทรอนิกส์ข้ามชาติเืพ่อำนวนความสะดวกให้เอเปกใช้ศักยภาพพัฒนาของเศรษฐกิจอินเตอร์เน็ต เศรษบกิจดิจิตลและห่วงโซ่อุปทานและคุณค่าในโลก"
          ประธานนประเทศเวียดนามเผยว่า บรรดาประเทศเสรษฐกิจเอเปกชื่นชมการจัดตั้งกลุ่มวิสัยทัศน์เอเปกเพื่อสนับสนุเจ้หน้าที่อาวุโสในการำกำหนดแนวทางและอนาคตของเอเปกหลังปี 2020 ซึ่งจะเป็นฟิรั่มที่พึงพาตนเอง มีทักาณะความสาารถในการแก้ไขความท้าทายระดับโลกและปรับตัวเข้ากับโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การตัดสินใจดังกล่าวยังสะท้อนความตั้งใจของเศรษบกิจสมาชิกที่มุ่งเน้นการสร้างสรรค์ประชาคทเอเชีย แปซิฟิกที่สันตภิภา เสถียรภาพ คล่องตัว เชื่อมโยงและเจริญรุ่งเรื่องโดยประชาชนและสภานประกาบการเป็นศูนย์กลาง
           สุดท้าย ประธานประเทศได้ยืนยันว่าในหลายวันที่ผ่านม ประชาชนเวียดนาม โดยเฉพาะชาวนครดานังและจังหงัดกว่างนามได้ให้การต้อนรับผุ้แทนเอเปกกว่า 1 หมืนคน รวมทั้งผุ้บริหารกลุ่มบริษัทชั้นนำของโลกและภุมิภาค ตัวแทนองค์กรระหว่างประทศที่เข้าร่วสัปดาห์ผุ้นำเอเปก 2017 ดยเฉพาะมีนักข่าว
เกือบ 3 พันคนของเวียดนามและประเทศต่างๆ ได้ได้มาทำข่าวในนครดานังซึ่งทั้งนี้และทั้งนั้นเป็นการพิสูจน์ให้เห็นถึงบทบาทสำคญของเอเปกและสัปดาห์ผุ้นำเอเปก 2017 "ความสำเร็จของปีเอเปกเวียดนาม 2017 และสัปดาห์ผุ้นำเอเปกมีสวนร่วมที่สำคัญจากท่านผุ้มีเกี่รยติ์ทุกท่าน ผมมีความเชื่อมั่นว่า จากการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ของเอเปก ผุ้แทนทุกท่านไ้มีโอกาสชมทิวทัศน์ที่สวยงามของประเทศเวียดนามที่เปลี่ยนแปลงใหม่ คล่องตัว ปสมปสานและพัฒนา ความเป้นมิตรของคนเวียดนามและนครดานังที่ทันสมัยและอารยธรรม"
          ก่อนหน้านั้น ประธารประเทศเจิ่นด่ายกวาง ซึ่งเป้นประธานการประชุมผุ้นำเอเปกครั้งที่ 25 ได้เป็นประธานพิธีปิดการประชุมผุ้นำเอเปกครั้งที่ 25 และมอบตำแหน่งประธานปีเอเปก 2018 ได้แก่ ปาปัวนิวกินีhttp://vovworld.vn/th-TH/%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%99/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%A1%E0%B8%9C%E0%B8%99%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%97-25-%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B9%81%E0%B8%96%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%87-593504.vov
           
ฟิลิปปินส์- ผุ้นำโลกร่วมประชุมอาเซียน ซัมมิท ครั้งที่ 31
            ในปีนี้ฟิลิปปินส์ เป็นเจ้าภาพ จัดการประชุมขึ้นที่กรงุมะนิลา มีกำหนดจัดขึ้นตั้งแต่วันที่ 12 พฆศจิกายน โดยันแรก มีการจัดงานเลี้ยงต้อนรับอย่างยิ่งใหญ่ เพื่อเป็นการเปิดบ้านต้อนรับ 9 ผุ้นำ จากกลุ่มประเทศอาเวียน และอีก 11 ผุ้นำโลก ที่เข้าร่วมเป็นคู่เจรจา ซึ่งส่วนใหย่เดินทางต่อมาจาก การหารือนอกรอบ ของการประชุม APEC  ที่ประเทศเวียดนาม ส่วนประเด็นที่จะมีการหารือกัน คาดว่า จะมีประเด้นนอกภุมิภาค ที่คุ่เจรจาจะรวมหารือด้วย โดยประเด็นสำคัญหลักๆ ของการพูดคุย มีดังนี้
           ด้านเศรษฐกิจ อาเซียนมุ่งหวังปฏิรูป รูปแบบประชุาคมเศรษบกิจ ให้มีลักษณะคล้ายกับสหภาพยุโรป คือ ลดอุปสรรค ใการทำการค้าให้มากที่สุด เพื่อให้การจำหน่ายสินค้าและบริากรระหว่งประเทศมีราคาถูกลง นอกจากนี้ยังมีแผนขยายโครงการช่วยเหลือ และเปิดโอกาสให้ธุรกิจขนาดเล็ และขนาดกลาว ได้เข้าสู่ตลาดใหญ่ๆ มากขึ้น
          ด้านการต่อต้านการก่อการร้าย ที่ประชุมยังคงกังวลกับปัญหา การขยายอำนาจของกลุ่มมุสลิมหัวรุนแรง ซึ่งอาจสงผลตอความมัี่นคงในภฦุมิภาค และเป็นอุปสรคต่อการต้าทางทะเลด้วย เพาะยังคงมีรายงนพบ กลุ่มติดอาเวุธ และโจรสลัด ดักปล้นตามเกาะต่างๆ และจำมีการหารือถึงแนวทาง ในการหยุดยั้งโครงการพัฒนาขีปนาวุธ ของเกาหลีเหนือ ที่ถือเป็นภัยคุกคามของอาเวียน ด้วย  ส่วนประเด็นเรื่อง ความขัดแย้งในทะเลจีนใต้นั้น ยังคงส่งผลตอการต้าทางทะเล ของประเทศนอกภูมิภาคอีกมากมาย โดยจะหารือให้มีการเปิดการเดินเรืออย่างเสรี และลดการผุกขาดน่านน้ำโดยชาติใดชาติหนึ่ง และเน้นสร้างจรรยาบรรณ ใการใช้ประโยชน์จากทะเลร่วมกัน เพื่อไม่ใหเกิดารเบียดเบียนเพื่อนบ้าน
         ขณะที่ประเด็นการแก้ไขปัญหารสิทธิมนุายชน จะเน้นไปที่การแก้วิกฤติชาวโรฮิงญาพลัดถ่ิน ที่ส่งผลให้มีปัญหาการต้ามนุษย์ตามมา นอกจากนี้ คาดว่า จะมีการหยิบยกเรื่องการปราบปรามยาเสพติด มาร่วมหารือด้วย
        ขณะที่ประเด็นการแก้ไขปัญหาสิทธิมนุษยชน จะเน้นไปที่การแก้วิกฤตชาวโรฮิงญาพลัดถ่ิน ที่สงผลให้มีปัญหาการต้ามนุษย์ตามมา นอกจากนี้ คาดว่า จะมีการหยิบยกเรื่องการปราบปรามยาเสพติด มาร่วมหารือด้วย การประชุมอาเซียน มีกำหนดเสร็จสิ้นในวันที่ 14 พฤศจิกายน ส่วนผลการหารือจะได้ข้อสรุปที่น่าสนุใจอย่างไร คงต้งติดตามกันต่อไปhttp://www.krobkruakao.com/abroad/56493
       
           บรรดาผู้นำร่วมพิธีเปิดประชุมอาเซียนที่ฟิลิปปินส์
             
บรรดาผุ้นำประเทศเข้าร่วมพิธีเปิด การประชุมสุดยอดผุ้นำชาติเอชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียนป ครั้งที่ 31 ที่กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์
             ผู้สื่อข่าวรายงานว่า เมื่อช่วงเช้า (13 พฤศจิกายน 2560) ตามเวลาท้องถิ่น บรรดาผุ้นำชาติอาเซียน และผุ้นำประเทศที่เกี่ยวข้อง อาทิ ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ของสหรัฐฯ นายก รัฐมนตรีหลี่ เค่อเฉียง ของจีน และนายกรัฐมนตรีชินโซ อาเบะ ของญีป่นุ ได้เกินางไปเข้าร่วมพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ ของการประชุมสุดยอดผุ้นำชาติเอเชียตะวันออกเฉียใงใต้ หรือ ASEAN Summit ครั้งที่ 13 ซึ่งจัดขึ้นที่กรงุมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์
             ทั้งนี้บรรดาผุ้นำได้ยืนจับมือแลถ่ายรูปหมุ่ร่วมกันบนเวที ก่อนที่ประธานาธิบดีโรดริโก ดูแตร์แต ของฟิลิปปินส์ จะขึ้นกล่าวเปิดงานในฐานะเจ้าภาพ ส่วนประเด็นที่คาดว่าจะมีการหารือกันในเวทีนี้ คือ ภัยคุกคามจากเกาหลีเหนือ ข้อพิพาททะเลจนใจ้ รวมถึงความร่วมมือด้านความมั่นคงและการต้า ดดการประชุมวันนี้จัดขึ้นท่านมกลางมาตรการรัการความปลอดภัยอย่างเข้มงวด หลังจากก่อนหน้านี้ มีชาวฟิลิปปินส์จำนวนหนึ่งออกมาชุมนุมประท้วงต่อต้านการเยืือนของผุ้นำสหรัฐฯ และบางส่วนประกาศว่าจะชัดชวางไม่ให้การประชุมดังกล่าวเกิดขึ้นได้


       ส่วนเจ้าภาพอย่างประธานาธิดบีโรดริโก ดุแตร์เต ของฟิลิปปินส์ ได้จัดงานเลี้ยงอาหาค่ำ ต้อนรับเหล่าผุ้นำที่เดินทางมาเข้าร่วมการประชุมในครั้งนี้ ที่เมืองปาโซ โดย มีการจัดชุด "บารอง ตากกาล็อก" ซึ่งเป็นชุดประจำชาติฟิลิปปินส์ให้บรรดาผุ้นำได้ใส่เข้าร่วมงาน ระหว่างงานเลี้ยง นายดูแตร์เตังได้โชว์ลีลาร้องเพลงคุ่กับ ฟิลิตา กอร์ ราเรส นักร้องเพลงป๊อปชื่อดังของฟิลิปปินส์ โดยหลังจากร้องเพลงจบ นายดุแตร์เตก็บอกว่า เพลงนี้ จัดให้ตามคคำของของประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมปื ของสหรัฐฯ


https://www.pptvhd36.com/news/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99/69520

วันอาทิตย์ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

ASEAN Identity

            แนวทางการสร้างอัตลักษณ์ของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
            หนึ่งในคุณลักษณะของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนคือการสร้างอัตลักษณ์อาเซียน ซึ่งได้ระบุไว้ในแผนงานการจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ค.ศ. 2009-2015) ว่า "อัตลักษณ์อาเซียน เป็นพื้นฐานด้านผลประโยชน์ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเแียงใต้ โดยเป็นตัวตนร่วมกัน จาีด ค่านิยม และท่ามกลางความแตกต่างในทุกขั้นของสังคม
           1. อัตลักษณ์ หมายถึง คุณลักษณะเฉพาะตัว ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ของลักษณะเฉพาะของบุคคล สังคม ชุมชน หรือประเทศ เช่น เชื้อชาติ ภาษา วัฒนธรรม ท้องถ่ิน และศาสนา เป็นต้น
         
 2. จารีต หมายถึง แบบแผนการประพฟติปฎิบัตที่สืบต่อกันมนาน มักถือเะป็นกฎหรือระเบียบของสังัตมและเกี่ยวข้องกัยศีลธรรม ถ้าไม่ปฏิบัติตามจะถูกสังคมตั้งข้อรังเกี่ยจหรือมบทลงโทษ เช่น เรื่องของความซื่อสัตย์ต่อคู่ครอง เป็นต้น
            3. ค่านิยม หมายถึง แนวคิดที่บุคคลในสังคมยึดถือเป็นเครื่องตัดสินใจและกำหนดการกระทำของตนเอง เช่น ความมีระเบียบวินัย เป็นต้น
            4. ความเชื่อ หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดของคนในสังคมที่ยึดมั่นและยอมรับในส่ิงดสิ่งหนึ่ง ดยจะเป้นสิ่งที่มีเหตุผลหรือไม่ก็ได้ เช่น ความเชื่อเรื่องนรก-สวรรค์ เป็นต้น
            จากความหมายและตัวอย่างที่กล่าวมาทำให้พอจะเข้าใจต่อไปได้ว่า การสร้างอัตลักาณ์อาเซียน คือ การแสดงถึงความแตกต่างของอาเซียนกับประชาคมอื่นในส่วนที่เกี่ยวกับเชื้อชาติ ภาษา วัฒนธรรมท้องเถิ่น ศาสนราและอื่นๆ ข้อปฏิบัติของสังคม ค่านิยมที่เป็นลักษณะเฉพาะ รวมถึงการแสดงความรู้สึกนึกคิดที่สะท้อนถึงความเป็นประชาชนอาเซียน
         
อย่างไรก็ตาม เนื่องจากกำลัีงสนใจเฉพาะเสาของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในที่นี้จึงเน้นการกล่าวถึงการสร้างอัตลักาณ์ในส่วนของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเวียนเ็นสำคัีญ เพื่อให้การสร้างอัตลักษณ์ของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเว๊ยนมีความเป้นไปได้ยิ่งขึ้น อาจเร่ิงจาการสำรวจจารคด ค่านิยม และความเชื่อใดที่สอดคล้องต้องกันในหลายๆ ประเทศบ้าง มีจารีต ค่านิยม และความเชื่อใดที่ขัดแย้งกันในแต่ละประเทศบ้าง รวมถึงมีจารีต ค่านิยม และความเชื่อใดที่แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิงในแต่ละประเทศบ้าง ซึงผลการสำรวจนี้จะช่วยให้เห็นภาพที่ชัดเจนว่าอัตลักษณ์ร่วมของประชาคมสังคมและวัฒนะรรมอาเซียนมีอะไรบ้าง ขัดแย้งกัน และแตกต่างกันในเรื่องใดบ้าง ดดยในส่วนที่เป็นอัตลักษณ์ร่วมกันนั้นย่อมเป็นอัตลักาณ์ของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเวียนด้วยเช่นกัน
           ในส่วนที่สำรวจแล้วพบว่ามีความแตกต่างกัน ประชาคมอาจจะเลือกความแตกต่างทางจารีต ค่านิยม และความเชื่อบางประการของประเทศในด้านที่ดีและมีประโยชน์มาเผยแพร่ให้ทั่วถึงกันใน
ประชาคมเพื่อให้กลายเป็นอัตลักษณ์ร่วมกันต่อไป เช่น เผยแพร่และสงเสริมค่านิยมเรื่องการตรงต่อเวลาซึ่งเป็นอัตลักษณ์ของบางประเทศให้กับประเทศอื่นๆ ที่ยังไม่ให้ความสำคัญกับเรืองนี้ให้ทุกประเทศใประชาคมเห็นประโยชน์และความำจเป็นของการตรงต่อเวลาและนำไปปฏิบัติร่วมกันทั้งประชาคม เป็นต้น และในที่สุดการตรงต่อเวลาก็จเป็นอีหนึ่งอัตลักษณ์ของประชาคมไปได้ ในขณะเดียวกันก็ต้องช่วยกันหาหนทางจำกัดจารีต ค่านิยม และความเชื่อที่ขัดเเย้งกันในส่วนที่ไม่เกิดประโยชน์ไม่ให้แพร่กระจายไปในประเทศสมาชิกเพื่อป้องกันไม่ให้กลายเป็นอัตลักษณ์ที่ไม่พคึงประสงค์ของประชาคมอาเซียนต่อไป
       
นอกจากนี้ ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนอาจร่วมมือกันสร้างพื้นที่ให้ประชาชนอาเว๊ยนมีส่วนร่วมในการสร้างอัตลักษณ์ไปด้วยกัน เช่น ร่วมกันจัดตั้งสถาบันเสริมสร้างอัตลักษณ์ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม และเปิดโอกาสให้ประชาชนจากทุกประเทศได้ใช้ชีวิตร่วมกันในสถาบันและความเชื่อเท่านั้น แต่รวมถึงทุกด้านที่เีก่ยวกับมิติทางสังคมและวัฒนธรรม  ซึ่งการสร้างพื้นที่ในลักาณนี้จะช่วยให้ประชาชนจากประเทศต่างๆ มีประชาชนจากหลายๆ ประเทศที่จะพัฒนาต่อยอดไปเป็นอัตลักษณ์ใหม่ๆ ของประชาคมไ้ด้อีกด้วย
          ที่กล่าวมาเป็ฯอีกทางเลือกหนึ่งในการสร้างอัตลักษณ์ของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ซึงจะเป้ฯส่วนสนับสนุนให้ประชาคมอาเซียนบรรลุการมีหนึ่งอัตลักษณ์ ตามคำขวัญอาเซียน ที่ว่า หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งอัตลักษณ์ หนึ่งประชาคม ได้มากยิ่งขึ้น...http://www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=4502&filename=index

วันเสาร์ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

Danang Vietnam

               ดานัง เป็นเมืองท่าสำคัญของเวียดนามกลางตอนใต้ ตั้งอยู่ริมชายฝั่งทะเลจีนใต้จึงเป็น 1 ใน 5 เขตการปกครองส่วนท้องถิ่นในเวียดนาม ละติจูด 15 องศา 55 ลิปดา เหนือ ถึง 16 องศา  14 ลิปดา เหนือ , ลองจิจูด 107 องศา 18 ลิปดา - 108 องศา 20 ลิปดาตะวันออก ทิศเหนือติดกับเมืองเว ศึ่งเป็มเืองลวงเก่าของเวียดนาม ทิศตะวันตกและทิศใต้ติดกับจังหวัดกว่างนาม ทิศตะวันออกติดกับทะเลจีนใต้ ตั้งอยู่ห่างจากกรุงฮานอยไปทางใต้ 764 กิโลิมตร และห่างจากโฮจิมินห์ซิตี้ ไปทางเหนือ 964 กิโลเมตร
             
 ปี พ.ศ.2390 เรื่อรบฝรี่วเศสได้ระดมยิงโจมตีเมืองดานังเพื่อตอบโต้ที่กลุ่มมิชชันนารีคาทอลิคถูกประหารชีวิต
                สิงหาคม พงศ. 2401 กองทหารฝรั่งเศสยกพลขึ้นบกที่ดานัง ตามพระบัญชาของพระเจ้านโปเลียนที่ 3 เพื่อประกาศพื้นที่นี้เป็นอาณานิคมภายใต้อาณัติของฝรั่่งเศส และถุกเปลี่ยนชื่อเป็นชื่อภาษาฝรั่งเศสว่า ตูราน ขณะนั้นเป้ 1 ใน 5 เมืองสำคัญบนคาบสมุทรอินโดจีน ในระหว่างสงครามเวียดนาม เมืองนี้เป็นที่ตั้งฐานทัพอากาศหลักของกองทัพสหรัฐอเมริกา ครั้งนั้นจำนวนประชากรในเมืองได้เพิ่มสูงขึ้นมากกว่า 1 ล้านคน โดยส่วนใหญ่เป็นผู้ลี้ภัยสงคราม
               ก่อนปี พ.ศ. 2440 ดานังยังเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดกว่างนาน-ดานัง จนกระทั่งวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2540 ดานังได้ถูกแยกออกจากจังหวัดกวางนาม และเป็นเขตการปกครองส่วนท้องถ่ินแห่งที่ 4 ของเวียดนาม มีมหาวิทยาลัย 2 แห่ง คือ มหาวิทยลัย ดานัง และ มหาวิทยาลัย Duy Tan ดานังจัดเป็นพื้นทีุ่อุตสาหกรรม และมีท่าเรือที่รองรับการขนส่งสินค้า มีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ตั้งอยุ่ในเมืองจำนวนหนึ่ง สินค้าเศราฐกิจของเมืองได้แก่ อาหารทะเล เครื่องเรือนหวาย เครื่องใ่ช้ภายในบานทั่วไป เครื่องนุ่งห่ม มีโรงงานอุตสหกรรมตั้งอยู่ราว 4,900 แห่ง ในปี พ.ศ. 2540 ดานังมีสินค้าส่งออกคิดเป็นมูลค่าราว 55 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ดานังตั้งอยู่ปลายสุดของ"แนวพื้นที่เศราฐกิจตะวันออก-ตะวันตก EWEC  ซึ่งเชื่อมโยงระหว่างเวียดนาม ลาว ไทย และพม่า
              https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%87
ท่าอากาศยานนานาชติดานังตั้งอยู่ใจกลางเมืองดานัง เป็นท่าอากาศยานนานาชาติลำดับที่สาของเวียดนาม เป็นช่องทางสำคัญในการเดินทางเข้าสูเวียนามตอนกลาง เมื่อก่อนปี พ.ศ.2515 ที่นีเคยเป็นท่าอากาศยานที่มีเครื่องบินขึ้นและลงากที่สุดแห่งหนึ่งในโลก เนื่องจกามีกิจกรรมทางทหารอยู่บ่อยครั้ง ปัจจุบันรองรับเที่ยวบินภายในประเทศระหว่างเมืองสำคัญต่างๆ ภายในเวียดนาม เช่น ฮานอย โฮจิมินห์ซิตี้ กุยเยิน และเที่ยวบินระหว่งประเทศไปยังกรุงเทพมหานครและสิงคโปร์
            ความร่วุมือทองเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (เอเปก)  เป็นกลุ่มความร่วมมือทางเศราฐกิจ ระหว่างเขตเศราฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก
            เอเปกก่อตั้งปี พ.ศ. 2532 โดยมีจุดประสงค์ มุ่งเน้นความเจริญเติบโตและการพัฒนาที่ยั่งยืนของภุมิภาค และผลักดันให้การเจรจาการต้าหลายฝ่ายรอบอรุกวัย ประสบผลสำเร็จ ขณะเดียวกัน เอเปคก็ต้องการถ่วงดุลอำนาจทางเศราฐกิจของกลุ่มเศราฐกิจต่างๆ โดยเฉพาะกลุ่มสหภาพยุฑรป อีกด้วย
            สิทธิประดยชน์ที่สมาชิกเอเปคให้แก่กัน จะมีผลต่อผุ้ที่มิได้เป็นสมาชิกเอเปคด้วย วันนี้ (10
/11/2017) โรลนัลด์ ทรัมป์ จะเดินทางมาที่่เวียดนามเพื่อเข้าร่วมประชุมสุดยอดผู้นำประเทศเอเชียแปซิฟิค ที่ดานัง เมืองท่าที่เติบโตแบบก้าวกระโดดกลายเป็นท่าเรือที่มีความสำคัญอันดับต้นๆ ของเวียดนามและอาเซียน
            21 สมาชิกของเอเปคส่วนหนึ่งคือมหาอำนาจทั้ง สหรับฯ จีน รัสเซีย ศญี่ปุ่น ชาติอาเซีนย ส่วนไทยเราเป็นสมาชิกก่อตั้งเอเปค มีประชากรวมกันค่อนโลก 3,000 ล้านคน นับเป็นความร่วมมือการค้าสำคัญที่มีมูลค่าประมาณร้อยละ 60 ของจีดีพีโลก
             ในวันนี้ ทรัมป์ จะขึ้นแถลงเวลาประมาณ 13.30 น. ตาาเวลาประเทศไทย จากนั้นก็จะเป็นประะานาธิบดีสีจิ้นผิง สำหรับในส่วนของการเข้าร่วมประชุมเอเปคในวันนี เป้ฯที่คาดกันว่า ผุ้นำสหรัฐฯน้าจะแสดงจุดยืนของประเทศในการผลักดันให้เศรษบกิจและการค้ามีการขยายตัว นอกเนหือจากการเรียกร้อง ความร่วมมือจาก 21 ชาติที่เข้าร่วมประชุมเอเปคในการับมือกับภัยคุกคาต่างๆ
             http://www.krobkruakao.com/abroad/56368
นอกจากนี้ มีความเป็นไปได้ว่าทรัมป์จะหารือนอกรอบกับประธานนาธิบดีวลาดมีร์ ปูติน ของรัสเซีย ระหว่างการประชุมเอเปกที่เวียดนามในวันนี้ และหนึ่งในประเด็นที่คาดว่า ผุ้นำทั้งสองชาติจะหยิบยกขึ้นมาคุยกันก็คือ ภัยคุกคามจากเกาหลีเหนือ
              ไทยในเอเปค : จากการแข่งขันสุ่ความั่นคงทางนโยบายเศราฐกิจ โลกจับตาดุการประชุมผุ้นำกลุ่มประเทศความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (เอเปค) เพราะเป็นเวทีที่รวมผุ้นำ 21 เขตเศรษบกิจ และเป็นเวทีสำคัญที่ไทยจะแสดงศักยภาพของประเทศ ดึงดุดนักลงทุนและต่อรองผลประดยชน์นานาด้วย
             แต่หลายฝ่ายตั้งคำถามว่าไทยจะตกขบวนการพัฒนานี้ จนล้ำหลังกว่าเวียดนามซึ่งดูจะ "อกหวน" อยู่ในขณะนี้เหรือไม่
             "ฝากดูแลประเทศด้วย" คือคำพูดของ พล.อ. ประยุทธ์ จันท์โอชา นายกรัฐมนตรี กับนักข่าวก่อนจะขึ้นเครื่องบิน เช้าวันนี้ (10 พ.ย. 2560 เพื่อไปเข้าร่วมประชุมผุ้นำเขตคเศรษฐกิจเอเปค คร้งี่ 25 ระหว่งวันที่ 10-12 พ.ย. 2560 ณ นครดานัง สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามhttp://www.bbc.com/thai/thailand-41939036
              นายกฯ เสนอมุมมองของไทย 3 ประเด็นที่เอเปคควรให้ความสำคัญ
              นายกรัฐมนตีเสนอแนวทางพลังขับเคลือนใหม่ทางการค้า การลงทุน และการเชื่อมโยงในภุมิภาคต่อผุ้นำเอเปคในการปรุชมช่วงที่ 2  ภายใต้หัวข้อพลังชับเคลือนใหม่ทางการค้า การลงทุน แฃละการเชื่อมโยงในภูมิภาค โดยภายหลังการประชุม พลโท วีรชน สุคนธปฏิภาค รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตร กล่าวสรุปสาระสำคัญดังนี้
           
นายกรัฐมนตรีกล่าวชื่นชมความพยายามของเอเปคที่ร่วมผนึกกำลังเพื่อรับมือกับส่งิท้าทายใหม่ๆ โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี เพราะ "นวติกรรม" และ "เทคโนโลนีดิจิทัล" ไ้กลายมาเป็นพลังขับเคลือนที่สำคัญของะบบเศราฐกิจในยุคปัจจุบัน โอากสนี นายกรัฐมนตรีได้นำเสนอมุมองของไทยใน 3 ประเด็นที่เอเปคควารให้ความสำคัญและดำเนินการอย่งต่อเนื่องเพื่อรักาแรงผลักดัน ของเอเปคในเวทีระหว่างประเทศในห้วยเวลาแห่งความท้าทายนี้
            ประการแรก การปฏิรูปดครงสร้างภายในเพื่อสร้างความแข้งแกร่งของแต่ละเขชตเศรษฐกิจควบคู่ไปกับกาพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นส่ิงจำเป็นสำหรับการเตรยมตัวเข้าสุยุคดิจิทัล ไทยเล็งเห็นถึงความสำคัญในข้อนี้ โดยรัฐบาลไทยมีนโยบาย ประเทศไทย 4.0 เพื่อปรับโครงสร้างทางเศราฐกจิผ่านการสร้างมุลค่าสินค้สและการผลิตด้วยนวัตกรรม เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลก พร้อมกับมุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ภายใต้แผนปฎิรูประเทศด้วย ในขณะเดียวกัน การอำนวยความสะดวกทางการค้าแลการลงทุนมีบทบาทสำคญในการขับเคลื่อนเศรษบกิจให้เติบโตมาดดยตลอด ซึงการผลักดัน ในเอเปค สะท้อนพัฒนากรที่ก้าวหน้าของเอเปคในเรื่องนี้ได้ดี
         
นายกรัญมนตรีกล่าวชืนชมการจัดทำกรอบควาร่วมมือเอเปคว่าด้วยการอำนวยความสะดวก อี -คอมเมิร์ช ข้ามพรมแดน ซึ่ง อี-คอมเมิร์ช ได้กลายมาเป็นเครื่องมือสำคัญทางการต้าให้ผุ้ประกอบการทุกขนาด โดยเฉาพวิสาหกิจขนาดกลาง ขนาดย่อม และรายย่อย และสตาร์ทอัพให้สามารถเข้าถึงตลาดโลกได้ง่ายขึ้นด้วยต้นทุนที่ตำ่และสามารถมีสวนร่วในห่งโว๋อุปทานของโลกไ้โดยตรงวึ่งสำคัญอย่างยิ่งในการกระตุ้นเศรษบกิจระดับฐานราก และลดความเหลื่อมล้ำ
           ประการที่สอง ความเชื่อมดยงอย่งรอบด้านในทุกมิติเป้นปัจจัยสำคัญต่อการเจริญเติบโตที่ครอบคลุม และยังยืน นายกรัฐมนตรีกล่าวว่า การเปลี่ยนแปลงไปสู่ยุคดิจิทัล ถือเป้ฯการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญที่สงผลกระทบต่อวิถีชีวิตความเป้นอยุ่ของประชาชนในวงกว้าง ไทยจึงได้เตรียมความพร้อมในด้านความเชื่อมโยงทางดิจิทัล โดยได้ยกระดับ
โครงสร้างพื้นฐานดทรคมนาคมผ่านโครงการเน็ตประชารัฐด้วยการขายอินเตอร์เน็ตความเร้ซสูงในหมู่บ้านทัี่วประเทศในปีนี พร้อมลงทุนสร้างเคเบิลใจ้น้ำระหว่งประเทศ ระบบ เอเชีย-แอฟริกา-ยุโรป-1 AAE-1 ความยาว 25,000 กิโลเมตร เพื่อพัฒนาโครงข่ายระวห่างประเทศเชื่อมไทยสู่ทั่วดลก ไทยขอยืนยันความพร้อมที่จะร่วมมอืกับสมาชิกเอเปคในการสงเสริมควมเชื่อมโยงทางดิจิทัลเพื่อให้แน่ใจว่าประชาชนทุกภรคส่วนสามารถขเ้าถึงเทคโนโลยีดิจิทัลและสามารถใช้ประดยน์ได้อย่างเต็มศักยภาพ
           
นอกจากนี้ ไทยได้เร่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพภายในประเทศทั้งทางบก น้ำและอากาศ  เพื่อเชื่อมโยงการคมนาคมขนสงในภุมิภาค รวมทั้งสนับสนุนการเชื่อมโยงทางเศรษบกิจภายใต้นโยบาย ไทยแลนด์ + 1 เพื่อกระตุ้นและดึงดูดการลงทุนจากนักลงุทนต่างชาติให้ขยายไปยังเืพ่อบ้านในภุมิภาค ซึ่งจะเป้นไอย่างราบรื่นก็ต้องอาศัยปัจจัยสนับสนุนการเชื่อมโยงด้านกฎระเบียบซึ่งไทยได้เรียรุ้จากเอเปค เช่น การพัฒนา ซิงเกิล วินโดว์ และการกำหนดมาตฐานรับรองสินค้าให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
             สิ่งที่ขาดไม่ได้อีกประการหนึ่งคื อการเชื่อมโยงระหว่างประชาชนสู่ประชาชนในเอเปค รวมถึงความเป็นไปได้ที่จะต่อยอดโครงการบัตรเดินทางสำหรับนักธุรกิจเอเปค โดยพัฒนาลัตรในลักาณเดียวกันให้แก่กลุ่มนักศึกษาและนักวิจัย ซึ่งสอดรับกับแผนแม่บทความเชื่อมโยงในเอเปค ที่มุ่งให้เกิดการเชื่อมโยงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก อย่างแท้จริงในปี 2568
             ประการที่สาม ทามกลางกระแสการปกป้องทงการต้าและกรต่อต้านดลกาภิวัตน์ ไทยเห้นวาเอเปคควรแสดงบทบาทนำในการเรียกความชเื่อมั่นต่อระบอบการค้าเสรี สื่อสารผลประโยชน์ของการค้เาเสรีให้แก่สาธารณชนอย่างต่อเนื่องเ พื่อสร้างความรู้ควมเข้าใจที่๔ุกต้อง หนึ่งในพัมฯาการของเอเปคที่นายกรัฐมนตรีเชื่อว่าหลายฝ่ายกำลังจับตามองคือการจัดตั้งเขตการต้าเสรีเอเชีย-แปซิฟิก ซึ่งนายกรัฐมนตรีเห็นว่า "เป็นสิ่งท้าทายของภุมิภค" ในการพัฒนาต้นแบบความตกลงการจัดตั้งเขตการค้าเสรีในภูมิภาคที่มีคุณภาพ และครอบคลุม อีกทั้งเป็นการต่อยอดจาก FTAs และ RTAs ที่มีอยู่แล้วพัฒนาให้ก้าวหน้าและมีคุณภาพยิงๆ ขึ้นไป
           
 นายกรัญมนนตรีกล่าวเพิ่มเติมว่า ไทยขอร่วมกับสมาชิกเอเปคอื่นๆ ที่หวังจะเห็นความคืบหน้าในการเจรจาการประชุมระดับรัฐมนตรีภายใต้กรอบองค์การการค้าโลก ครั้งที่ 11 และยินดีที่ควาตกลงการอำนวยความสะดวกทงการค้า ภายใต้กรอบองค์การการค้าดลกมีผลบงคับใช้ และขอสนับสนุนให้บรรดาเขตเศรษบกิจต่างๆ นำความตกลงนี้ไปปฏิบัติเพื่อให้เกิดผลอย่างเป็นรูปะรรม อย่างไรก็ดี การดำเนินความีวมมือใดๆ ต้องคำนึงถึงความแตกต่างของระดบการพัฒนาของแต่ละเขตเศรษฐกิจด้วย
           ในช่วงท้าย นายกรัฐมนตรีกล่าวแสดงควายิดีที่บรรดาผุ้นำเขตเศรษบกิจเอเปคมีวิสัยทัศน์อันยาวไกล และได้เร่ิมคิดวางแผนแนวทางกำหนดวิสัยทัศน์เอเปคหลังปี 2563 (ค.ศ. 2020) ซึ่งไทยเห็นว่าควรเน้นการสงเสริมการค้าเสรีและธรรมาภิบาลโลกที่เป้นธรรม ควบคุ่ไปกับการพัฒนาที่มีคุณภาพและครอบคลุม เพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งบยืนเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนในภูมิภาคและโลกต่อไปhttp://www.thansettakij.com/content/230173
               ภาพจาก http://thaifootprint.com/2016/10/06/9-%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%87-%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%A2/
           

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...