Danang Vietnam

               ดานัง เป็นเมืองท่าสำคัญของเวียดนามกลางตอนใต้ ตั้งอยู่ริมชายฝั่งทะเลจีนใต้จึงเป็น 1 ใน 5 เขตการปกครองส่วนท้องถิ่นในเวียดนาม ละติจูด 15 องศา 55 ลิปดา เหนือ ถึง 16 องศา  14 ลิปดา เหนือ , ลองจิจูด 107 องศา 18 ลิปดา - 108 องศา 20 ลิปดาตะวันออก ทิศเหนือติดกับเมืองเว ศึ่งเป็มเืองลวงเก่าของเวียดนาม ทิศตะวันตกและทิศใต้ติดกับจังหวัดกว่างนาม ทิศตะวันออกติดกับทะเลจีนใต้ ตั้งอยู่ห่างจากกรุงฮานอยไปทางใต้ 764 กิโลิมตร และห่างจากโฮจิมินห์ซิตี้ ไปทางเหนือ 964 กิโลเมตร
             
 ปี พ.ศ.2390 เรื่อรบฝรี่วเศสได้ระดมยิงโจมตีเมืองดานังเพื่อตอบโต้ที่กลุ่มมิชชันนารีคาทอลิคถูกประหารชีวิต
                สิงหาคม พงศ. 2401 กองทหารฝรั่งเศสยกพลขึ้นบกที่ดานัง ตามพระบัญชาของพระเจ้านโปเลียนที่ 3 เพื่อประกาศพื้นที่นี้เป็นอาณานิคมภายใต้อาณัติของฝรั่่งเศส และถุกเปลี่ยนชื่อเป็นชื่อภาษาฝรั่งเศสว่า ตูราน ขณะนั้นเป้ 1 ใน 5 เมืองสำคัญบนคาบสมุทรอินโดจีน ในระหว่างสงครามเวียดนาม เมืองนี้เป็นที่ตั้งฐานทัพอากาศหลักของกองทัพสหรัฐอเมริกา ครั้งนั้นจำนวนประชากรในเมืองได้เพิ่มสูงขึ้นมากกว่า 1 ล้านคน โดยส่วนใหญ่เป็นผู้ลี้ภัยสงคราม
               ก่อนปี พ.ศ. 2440 ดานังยังเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดกว่างนาน-ดานัง จนกระทั่งวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2540 ดานังได้ถูกแยกออกจากจังหวัดกวางนาม และเป็นเขตการปกครองส่วนท้องถ่ินแห่งที่ 4 ของเวียดนาม มีมหาวิทยาลัย 2 แห่ง คือ มหาวิทยลัย ดานัง และ มหาวิทยาลัย Duy Tan ดานังจัดเป็นพื้นทีุ่อุตสาหกรรม และมีท่าเรือที่รองรับการขนส่งสินค้า มีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ตั้งอยุ่ในเมืองจำนวนหนึ่ง สินค้าเศราฐกิจของเมืองได้แก่ อาหารทะเล เครื่องเรือนหวาย เครื่องใ่ช้ภายในบานทั่วไป เครื่องนุ่งห่ม มีโรงงานอุตสหกรรมตั้งอยู่ราว 4,900 แห่ง ในปี พ.ศ. 2540 ดานังมีสินค้าส่งออกคิดเป็นมูลค่าราว 55 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ดานังตั้งอยู่ปลายสุดของ"แนวพื้นที่เศราฐกิจตะวันออก-ตะวันตก EWEC  ซึ่งเชื่อมโยงระหว่างเวียดนาม ลาว ไทย และพม่า
              https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%87
ท่าอากาศยานนานาชติดานังตั้งอยู่ใจกลางเมืองดานัง เป็นท่าอากาศยานนานาชาติลำดับที่สาของเวียดนาม เป็นช่องทางสำคัญในการเดินทางเข้าสูเวียนามตอนกลาง เมื่อก่อนปี พ.ศ.2515 ที่นีเคยเป็นท่าอากาศยานที่มีเครื่องบินขึ้นและลงากที่สุดแห่งหนึ่งในโลก เนื่องจกามีกิจกรรมทางทหารอยู่บ่อยครั้ง ปัจจุบันรองรับเที่ยวบินภายในประเทศระหว่างเมืองสำคัญต่างๆ ภายในเวียดนาม เช่น ฮานอย โฮจิมินห์ซิตี้ กุยเยิน และเที่ยวบินระหว่งประเทศไปยังกรุงเทพมหานครและสิงคโปร์
            ความร่วุมือทองเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (เอเปก)  เป็นกลุ่มความร่วมมือทางเศราฐกิจ ระหว่างเขตเศราฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก
            เอเปกก่อตั้งปี พ.ศ. 2532 โดยมีจุดประสงค์ มุ่งเน้นความเจริญเติบโตและการพัฒนาที่ยั่งยืนของภุมิภาค และผลักดันให้การเจรจาการต้าหลายฝ่ายรอบอรุกวัย ประสบผลสำเร็จ ขณะเดียวกัน เอเปคก็ต้องการถ่วงดุลอำนาจทางเศราฐกิจของกลุ่มเศราฐกิจต่างๆ โดยเฉพาะกลุ่มสหภาพยุฑรป อีกด้วย
            สิทธิประดยชน์ที่สมาชิกเอเปคให้แก่กัน จะมีผลต่อผุ้ที่มิได้เป็นสมาชิกเอเปคด้วย วันนี้ (10
/11/2017) โรลนัลด์ ทรัมป์ จะเดินทางมาที่่เวียดนามเพื่อเข้าร่วมประชุมสุดยอดผู้นำประเทศเอเชียแปซิฟิค ที่ดานัง เมืองท่าที่เติบโตแบบก้าวกระโดดกลายเป็นท่าเรือที่มีความสำคัญอันดับต้นๆ ของเวียดนามและอาเซียน
            21 สมาชิกของเอเปคส่วนหนึ่งคือมหาอำนาจทั้ง สหรับฯ จีน รัสเซีย ศญี่ปุ่น ชาติอาเซีนย ส่วนไทยเราเป็นสมาชิกก่อตั้งเอเปค มีประชากรวมกันค่อนโลก 3,000 ล้านคน นับเป็นความร่วมมือการค้าสำคัญที่มีมูลค่าประมาณร้อยละ 60 ของจีดีพีโลก
             ในวันนี้ ทรัมป์ จะขึ้นแถลงเวลาประมาณ 13.30 น. ตาาเวลาประเทศไทย จากนั้นก็จะเป็นประะานาธิบดีสีจิ้นผิง สำหรับในส่วนของการเข้าร่วมประชุมเอเปคในวันนี เป้ฯที่คาดกันว่า ผุ้นำสหรัฐฯน้าจะแสดงจุดยืนของประเทศในการผลักดันให้เศรษบกิจและการค้ามีการขยายตัว นอกเนหือจากการเรียกร้อง ความร่วมมือจาก 21 ชาติที่เข้าร่วมประชุมเอเปคในการับมือกับภัยคุกคาต่างๆ
             http://www.krobkruakao.com/abroad/56368
นอกจากนี้ มีความเป็นไปได้ว่าทรัมป์จะหารือนอกรอบกับประธานนาธิบดีวลาดมีร์ ปูติน ของรัสเซีย ระหว่างการประชุมเอเปกที่เวียดนามในวันนี้ และหนึ่งในประเด็นที่คาดว่า ผุ้นำทั้งสองชาติจะหยิบยกขึ้นมาคุยกันก็คือ ภัยคุกคามจากเกาหลีเหนือ
              ไทยในเอเปค : จากการแข่งขันสุ่ความั่นคงทางนโยบายเศราฐกิจ โลกจับตาดุการประชุมผุ้นำกลุ่มประเทศความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (เอเปค) เพราะเป็นเวทีที่รวมผุ้นำ 21 เขตเศรษบกิจ และเป็นเวทีสำคัญที่ไทยจะแสดงศักยภาพของประเทศ ดึงดุดนักลงทุนและต่อรองผลประดยชน์นานาด้วย
             แต่หลายฝ่ายตั้งคำถามว่าไทยจะตกขบวนการพัฒนานี้ จนล้ำหลังกว่าเวียดนามซึ่งดูจะ "อกหวน" อยู่ในขณะนี้เหรือไม่
             "ฝากดูแลประเทศด้วย" คือคำพูดของ พล.อ. ประยุทธ์ จันท์โอชา นายกรัฐมนตรี กับนักข่าวก่อนจะขึ้นเครื่องบิน เช้าวันนี้ (10 พ.ย. 2560 เพื่อไปเข้าร่วมประชุมผุ้นำเขตคเศรษฐกิจเอเปค คร้งี่ 25 ระหว่งวันที่ 10-12 พ.ย. 2560 ณ นครดานัง สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามhttp://www.bbc.com/thai/thailand-41939036
              นายกฯ เสนอมุมมองของไทย 3 ประเด็นที่เอเปคควรให้ความสำคัญ
              นายกรัฐมนตีเสนอแนวทางพลังขับเคลือนใหม่ทางการค้า การลงทุน และการเชื่อมโยงในภุมิภาคต่อผุ้นำเอเปคในการปรุชมช่วงที่ 2  ภายใต้หัวข้อพลังชับเคลือนใหม่ทางการค้า การลงทุน แฃละการเชื่อมโยงในภูมิภาค โดยภายหลังการประชุม พลโท วีรชน สุคนธปฏิภาค รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตร กล่าวสรุปสาระสำคัญดังนี้
           
นายกรัฐมนตรีกล่าวชื่นชมความพยายามของเอเปคที่ร่วมผนึกกำลังเพื่อรับมือกับส่งิท้าทายใหม่ๆ โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี เพราะ "นวติกรรม" และ "เทคโนโลนีดิจิทัล" ไ้กลายมาเป็นพลังขับเคลือนที่สำคัญของะบบเศราฐกิจในยุคปัจจุบัน โอากสนี นายกรัฐมนตรีได้นำเสนอมุมองของไทยใน 3 ประเด็นที่เอเปคควารให้ความสำคัญและดำเนินการอย่งต่อเนื่องเพื่อรักาแรงผลักดัน ของเอเปคในเวทีระหว่างประเทศในห้วยเวลาแห่งความท้าทายนี้
            ประการแรก การปฏิรูปดครงสร้างภายในเพื่อสร้างความแข้งแกร่งของแต่ละเขชตเศรษฐกิจควบคู่ไปกับกาพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นส่ิงจำเป็นสำหรับการเตรยมตัวเข้าสุยุคดิจิทัล ไทยเล็งเห็นถึงความสำคัญในข้อนี้ โดยรัฐบาลไทยมีนโยบาย ประเทศไทย 4.0 เพื่อปรับโครงสร้างทางเศราฐกจิผ่านการสร้างมุลค่าสินค้สและการผลิตด้วยนวัตกรรม เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลก พร้อมกับมุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ภายใต้แผนปฎิรูประเทศด้วย ในขณะเดียวกัน การอำนวยความสะดวกทางการค้าแลการลงทุนมีบทบาทสำคญในการขับเคลื่อนเศรษบกิจให้เติบโตมาดดยตลอด ซึงการผลักดัน ในเอเปค สะท้อนพัฒนากรที่ก้าวหน้าของเอเปคในเรื่องนี้ได้ดี
         
นายกรัญมนตรีกล่าวชืนชมการจัดทำกรอบควาร่วมมือเอเปคว่าด้วยการอำนวยความสะดวก อี -คอมเมิร์ช ข้ามพรมแดน ซึ่ง อี-คอมเมิร์ช ได้กลายมาเป็นเครื่องมือสำคัญทางการต้าให้ผุ้ประกอบการทุกขนาด โดยเฉาพวิสาหกิจขนาดกลาง ขนาดย่อม และรายย่อย และสตาร์ทอัพให้สามารถเข้าถึงตลาดโลกได้ง่ายขึ้นด้วยต้นทุนที่ตำ่และสามารถมีสวนร่วในห่งโว๋อุปทานของโลกไ้โดยตรงวึ่งสำคัญอย่างยิ่งในการกระตุ้นเศรษบกิจระดับฐานราก และลดความเหลื่อมล้ำ
           ประการที่สอง ความเชื่อมดยงอย่งรอบด้านในทุกมิติเป้นปัจจัยสำคัญต่อการเจริญเติบโตที่ครอบคลุม และยังยืน นายกรัฐมนตรีกล่าวว่า การเปลี่ยนแปลงไปสู่ยุคดิจิทัล ถือเป้ฯการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญที่สงผลกระทบต่อวิถีชีวิตความเป้นอยุ่ของประชาชนในวงกว้าง ไทยจึงได้เตรียมความพร้อมในด้านความเชื่อมโยงทางดิจิทัล โดยได้ยกระดับ
โครงสร้างพื้นฐานดทรคมนาคมผ่านโครงการเน็ตประชารัฐด้วยการขายอินเตอร์เน็ตความเร้ซสูงในหมู่บ้านทัี่วประเทศในปีนี พร้อมลงทุนสร้างเคเบิลใจ้น้ำระหว่งประเทศ ระบบ เอเชีย-แอฟริกา-ยุโรป-1 AAE-1 ความยาว 25,000 กิโลเมตร เพื่อพัฒนาโครงข่ายระวห่างประเทศเชื่อมไทยสู่ทั่วดลก ไทยขอยืนยันความพร้อมที่จะร่วมมอืกับสมาชิกเอเปคในการสงเสริมควมเชื่อมโยงทางดิจิทัลเพื่อให้แน่ใจว่าประชาชนทุกภรคส่วนสามารถขเ้าถึงเทคโนโลยีดิจิทัลและสามารถใช้ประดยน์ได้อย่างเต็มศักยภาพ
           
นอกจากนี้ ไทยได้เร่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพภายในประเทศทั้งทางบก น้ำและอากาศ  เพื่อเชื่อมโยงการคมนาคมขนสงในภุมิภาค รวมทั้งสนับสนุนการเชื่อมโยงทางเศรษบกิจภายใต้นโยบาย ไทยแลนด์ + 1 เพื่อกระตุ้นและดึงดูดการลงทุนจากนักลงุทนต่างชาติให้ขยายไปยังเืพ่อบ้านในภุมิภาค ซึ่งจะเป้นไอย่างราบรื่นก็ต้องอาศัยปัจจัยสนับสนุนการเชื่อมโยงด้านกฎระเบียบซึ่งไทยได้เรียรุ้จากเอเปค เช่น การพัฒนา ซิงเกิล วินโดว์ และการกำหนดมาตฐานรับรองสินค้าให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
             สิ่งที่ขาดไม่ได้อีกประการหนึ่งคื อการเชื่อมโยงระหว่างประชาชนสู่ประชาชนในเอเปค รวมถึงความเป็นไปได้ที่จะต่อยอดโครงการบัตรเดินทางสำหรับนักธุรกิจเอเปค โดยพัฒนาลัตรในลักาณเดียวกันให้แก่กลุ่มนักศึกษาและนักวิจัย ซึ่งสอดรับกับแผนแม่บทความเชื่อมโยงในเอเปค ที่มุ่งให้เกิดการเชื่อมโยงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก อย่างแท้จริงในปี 2568
             ประการที่สาม ทามกลางกระแสการปกป้องทงการต้าและกรต่อต้านดลกาภิวัตน์ ไทยเห้นวาเอเปคควรแสดงบทบาทนำในการเรียกความชเื่อมั่นต่อระบอบการค้าเสรี สื่อสารผลประโยชน์ของการค้เาเสรีให้แก่สาธารณชนอย่างต่อเนื่องเ พื่อสร้างความรู้ควมเข้าใจที่๔ุกต้อง หนึ่งในพัมฯาการของเอเปคที่นายกรัฐมนตรีเชื่อว่าหลายฝ่ายกำลังจับตามองคือการจัดตั้งเขตการต้าเสรีเอเชีย-แปซิฟิก ซึ่งนายกรัฐมนตรีเห็นว่า "เป็นสิ่งท้าทายของภุมิภค" ในการพัฒนาต้นแบบความตกลงการจัดตั้งเขตการค้าเสรีในภูมิภาคที่มีคุณภาพ และครอบคลุม อีกทั้งเป็นการต่อยอดจาก FTAs และ RTAs ที่มีอยู่แล้วพัฒนาให้ก้าวหน้าและมีคุณภาพยิงๆ ขึ้นไป
           
 นายกรัญมนนตรีกล่าวเพิ่มเติมว่า ไทยขอร่วมกับสมาชิกเอเปคอื่นๆ ที่หวังจะเห็นความคืบหน้าในการเจรจาการประชุมระดับรัฐมนตรีภายใต้กรอบองค์การการค้าโลก ครั้งที่ 11 และยินดีที่ควาตกลงการอำนวยความสะดวกทงการค้า ภายใต้กรอบองค์การการค้าดลกมีผลบงคับใช้ และขอสนับสนุนให้บรรดาเขตเศรษบกิจต่างๆ นำความตกลงนี้ไปปฏิบัติเพื่อให้เกิดผลอย่างเป็นรูปะรรม อย่างไรก็ดี การดำเนินความีวมมือใดๆ ต้องคำนึงถึงความแตกต่างของระดบการพัฒนาของแต่ละเขตเศรษฐกิจด้วย
           ในช่วงท้าย นายกรัฐมนตรีกล่าวแสดงควายิดีที่บรรดาผุ้นำเขตเศรษบกิจเอเปคมีวิสัยทัศน์อันยาวไกล และได้เร่ิมคิดวางแผนแนวทางกำหนดวิสัยทัศน์เอเปคหลังปี 2563 (ค.ศ. 2020) ซึ่งไทยเห็นว่าควรเน้นการสงเสริมการค้าเสรีและธรรมาภิบาลโลกที่เป้นธรรม ควบคุ่ไปกับการพัฒนาที่มีคุณภาพและครอบคลุม เพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งบยืนเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนในภูมิภาคและโลกต่อไปhttp://www.thansettakij.com/content/230173
               ภาพจาก http://thaifootprint.com/2016/10/06/9-%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%87-%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%A2/
           

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)