วันพฤหัสบดีที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

Identification

            Identification อัตลักษณ์ หรือการกำหนดเอกลัษณ์ หมายถึง กระบวนการที่บุคคลใดบุคคลหนึ่งนิยามตนเอง หรือเอกลักษณ์ของตนโดยยึดถือบุคคลอื่นหรือสิ่งอ่นนอกจากตัวเองเป็นหลัก เช่น คนที่เจ็บแทนเพื่อหรือ หมู่คณะได้ชื่อว่าถือเพือนหรือหมู่คณะเป็นอัตลักษณ์อันเดียวกับตน
           Identity คือคำว่ อัตลักษณ์ซึ่งตรงกับความหายของคำนี้ในพจนานุกรมภาษาอังกฤษ นั้นก็คื อสิ่งที่เป็นคุณสมบัติของคนหรือส่ิงหนึ่งและมีนัยขยายต่อไปว่าเป้นคุณสมบัติเฉพาะของคนหรือสิ่งนั้น ที่ทำให้ส่ิงนั้นโดดเด่นขึ้นมาหรือแตกต่างจากส่ิงอื่น แต่ในปัจจุบันความมหายนี้ได้แปรเปลียนไป แนวโน้มทางทฤษฎียุคหลังสมัยใหม่ ทำให้เกิดการตั้งคำถามอย่างมากกับวิธีการมองโลกการเข้ถึง ความจริง ของส่ิงต่างๆ รวมทั้งสิ่งที่เชื่อกันว่าเป็นความจริงที่เป็น แก่นแกน ของปัจเจกบุคคล วิธีคิดในกระแสนี้รื้อถอนความเชื่อเกี่ยวกับคุณสมบัติแก่นแกนของปัจเจกภาพ ความเป็นปัจเจกกลายเป็นเรื่องของการนิยามความหมายซึงสามรถเลือนไหลเปลียนแปลไปตามบริยท อัตลักษณ์เป็นมโนทัศน์ที่คาบเกี่ยวสัมพันธ์กับวิชาหลายแขนงทางด้านสังคมศาสตร์ ทั้งังคมวิทยามนุษย์วิทยา จิตวิทยา และปรัชญา อัตลักา์มีความสำคัญเป็นพิเศษเนื่องจากเป็นปริมณฑล เชื่อมต่อระหว่างขั้วทั้งสองในด้านหนึ่งอัตลักาณ์ คื อความเป็นปัจเจก ที่เชื่อมต่อและสัมพันธ์กันสังคม
          ซึ่งเกี่ยวกับความหมายของอัตลักษณ์นี้ประสิทธิ์ ได้กล่วถึงความหมายของอัตลักา์ว่า อัตลักาณ์ มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน คือ Identitas เดิมใช้คำว่า Idem ซึ่งหมายความว่า เหมือนกัน (THE same)
อย่างไรก็ตามโดยพื้นฐานภาษาอังกฤษแล้ว อัตลักาณ์มีความมหายสองนัยยะด้วยกัน คือ ความหมายเหมือนและความเป็นลักษณะฉพาะที่แตกต่างออกไป นั่นคือการตีความหมายเหมือนกันบนพื้นฐานของความสัมพันะื และการเปรียบเที่ยบกันระหว่างคนหรือสิ่งขอในสองแง่มุมมอง คื อความคล้ายคลึงและความแต่กต่าง นอกจากนั้นแล้วยังชี้ให้เห็นว่าอัตลักาณ์มิใช่เป็น่ิงที่มีอยุ่แล้วในตัวของมันเอง หรือ กำเนิดขึ้นมาพร้อมคน หรือสิ่งของ แต่เป็นสิ่งที่ถูกสร้างขึ้นมาและมีลักษณะความเป็นพลวัตอยู่ตลอดเวล ซึ่งสอดคล้องกับการให้ความมหายของ เบอร์เกอร์ และ ลัคแมนน์ ที่ว่าอัตลักษณ์ถูกสร้างขึ้นดดยกระบวนกา ทางสังคม คร้นเมื่อตกผลึกแล้วอาจมีความคงที่รปับเลปี่ยน หรือแม้กระทั้งเปลี่ยนแปลง หรือแม้กระทั้งเปลี่ยนแปลงรูปไปทั้งนี้ขึ้นอยุ่กับความสัมพันะ์ทางสังคมเป้นหลักกล่าวดยอีกนัยหนึ่งอัตลักาณ์เป็ฯเรื่องของความเข้าใจและการรับรุ้ว่าเป้นใครและคนอื่นเป็นดใครนั้นคือเป้ฯการกอปรขึ้นและดำรงอยุว่าเรารับรู้เกี่ยวกับตัวเราเองอย่างไร และคนอื่นรับรุ้เราอย่างไรโดยมีกระบวนการทางสังคมในการสร้างแลสืบทอดอัตลักาณ์ ทั้งนี้ย่อมขึ้นอยู่กับบริบทของความสัมพันธ์ทางสังคมที่มีต่อคนหรือกลุ่มอื่นๆ ด้วย
         อัตลักษณ แบ่งออกเป็น ๑ ระดับ คือ อัตลักษณ์ระดับปัจเจก และอัตลักา์ร่วมของกลุ่ม ในระดับปัเจก บุคคลหนึ่งอาจมีหลายอัตลักษณ์อยู่ในตัวเอง ในขณะที่อัตลักาณ์รวมก่อให้เกิดความสงลอยู่รวมกันของกลุ่มชน และไม่สามารถแยกออกจากการกระทำหรือละท้ิงสถานภาพของปัจเจกในกลุ่มได้
          คำว่า อัตลักษณ์ มีความหมายที่ครอบคลุม ตั้งแต่เรื่องของเชื่้อชาติ เพศ สีผิว โดยปัจจุบันเราพบความเปลี่ยนแปลงและความเปลี่ยนแปลงและความไม่ชัดเจนของการแสดงอัตลักษณ์ในหลายๆ กลุ่มชน เนื่องจากอิทธิพลของการพัฒนาและการเปิดรับอารยธรรมของชนเผ่าที่มองว่า ตนเองเป็นผุ้มีอารยธรรมเหนือกว่า ดังนั้นกาพยายามเปลี่ยนแปลงโดยไม่เข้าใจที่มาของรุปแบบวัฒนธรรมนั้นยอ่มทำให้ผุ้รับเอวัฒนธรรมมาตัึวามหมายที่ผิดแปลกออกไป การดูถูกทางวัฒนธรรมหรือการเหยียดสีผิว การเหยียดชนชั้นคึงเป็นส่ิงที่ตามมา..อาจพอสรุปได้ว่า อัตลักษณ์หมายถึง ความนึกคิดเกี่ยวกับบทบาทเฉพาะตนของบุคคลในการแสดงออกเพื่อติดต่อสัมพันธ์กับบุคคลอื่นตามโครงสร้างทางสังคมและวัฒนธรรม ที่บุคคลดำรงอยุ่เนื่องจากอัตลักษณ์เป็นความนึกคิดเกี่ยวกับตนเอง จึงมีความสำคัญ ตอพฤติกรรมของบุคคล กล่าวคือ ความนึกคิดเกี่ยวกับตนเป็นเครื่องกำหนดพฤติกรรมของบุคคลเพราะคนเราย่อมกระทำไปตามความคิด หรือ มโนภาพว่าตนเองเป็นคนเช่นไร
       
ทฤษฎีอัตลักษณ์ เ็นทฤษฎีทางจิตวิทยา ที่มุ่งอธบยพฤติกรรมตามบทบาทของบุคคล ทฤษฎีอัตลักาณ์มีความเป้นมาและมีหลักการของทฤษฎี คือ
          เชลดอน สไตรเกอร์ ศาสตราจารย์ ประจำภาควิชาสังคมวิทยา ม.อินเดียนา สหรัฐฯ ได้พัฒนาทฤษฎีอัตลักษณ์ โดยอาศัยกรอบแนวคิดตามบริบททางสังคมวิทยาบนพื้นฐานทัศนภาพโครงสร้างปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์นิยม โดยมีวัตถประสงค์ของทฤษฎีคือ เืพ่ออธิบายพฤติกรรมแสดงบทบาท ซึ่งเกิดจากากรปฎิสัมพันะ์เชิงสัญลักษณ์ระหว่งสังคม และตัวตน ของบุคคล โดยมีโครงสร้างทางสังคม และการปฏิสัมพันะ์ทางสังคม เป็นตัวกำหนดหรือควลคุมการแสดงพฤติกรรมของบุคลล ทฤษฎีนี้อาศัยข้อตกลงเบื้องต้น
          จากแนวคิดว่าสังคมและตัวตนมีความซับซ้อน ความหากหลายแง่มุม และมีการจัดระบบระเบียบ จึงทำให้เกิดการสร้างทฤษฎีเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่าง ๆของสังคมกับส่วนต่างๆ ของตัวตนตลอดจนการดำเนินการในเรื่องนี้อย่างเป็นเหตุเป็นผลดีขึ้นทฤษฎีอัตลักษณ์ได้นำแนงคิดปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณะนิยมมใช้อธบายพฤติกรรมของบุคคล โดยให้ความสำคัญกับการเลือบทบาท กล่าวคือพฤติกรรมการเลือกบทบาท เป้นผลที่เกิดจากความเด่นของอัตลักณ์ ซึ่งเป็นส่วนประกอบหนึงขอ ตัวตน ในขณะที่ความผุกพันต่อบทบาท ส่งผลต่อความเด่นของอัตลักษณ์

            บางส่วนจาก วิทยานิพนธ์ " การสื่อสารอัตลักษณ์ของสถาบันอุดมศึกษษเอกชนไทย" (บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง), วราลักาณ์ ศรีกันทา, มหาบัณฑิต บัณฑิตศึกษามหาวิทลัยเนชั่น, ตุลาคม 2555.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...