แนวทางการสร้างอัตลักษณ์ของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
หนึ่งในคุณลักษณะของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนคือการสร้างอัตลักษณ์อาเซียน ซึ่งได้ระบุไว้ในแผนงานการจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ค.ศ. 2009-2015) ว่า "อัตลักษณ์อาเซียน เป็นพื้นฐานด้านผลประโยชน์ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเแียงใต้ โดยเป็นตัวตนร่วมกัน จาีด ค่านิยม และท่ามกลางความแตกต่างในทุกขั้นของสังคม
1. อัตลักษณ์ หมายถึง คุณลักษณะเฉพาะตัว ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ของลักษณะเฉพาะของบุคคล สังคม ชุมชน หรือประเทศ เช่น เชื้อชาติ ภาษา วัฒนธรรม ท้องถ่ิน และศาสนา เป็นต้น
2. จารีต หมายถึง แบบแผนการประพฟติปฎิบัตที่สืบต่อกันมนาน มักถือเะป็นกฎหรือระเบียบของสังัตมและเกี่ยวข้องกัยศีลธรรม ถ้าไม่ปฏิบัติตามจะถูกสังคมตั้งข้อรังเกี่ยจหรือมบทลงโทษ เช่น เรื่องของความซื่อสัตย์ต่อคู่ครอง เป็นต้น
3. ค่านิยม หมายถึง แนวคิดที่บุคคลในสังคมยึดถือเป็นเครื่องตัดสินใจและกำหนดการกระทำของตนเอง เช่น ความมีระเบียบวินัย เป็นต้น
4. ความเชื่อ หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดของคนในสังคมที่ยึดมั่นและยอมรับในส่ิงดสิ่งหนึ่ง ดยจะเป้นสิ่งที่มีเหตุผลหรือไม่ก็ได้ เช่น ความเชื่อเรื่องนรก-สวรรค์ เป็นต้น
จากความหมายและตัวอย่างที่กล่าวมาทำให้พอจะเข้าใจต่อไปได้ว่า การสร้างอัตลักาณ์อาเซียน คือ การแสดงถึงความแตกต่างของอาเซียนกับประชาคมอื่นในส่วนที่เกี่ยวกับเชื้อชาติ ภาษา วัฒนธรรมท้องเถิ่น ศาสนราและอื่นๆ ข้อปฏิบัติของสังคม ค่านิยมที่เป็นลักษณะเฉพาะ รวมถึงการแสดงความรู้สึกนึกคิดที่สะท้อนถึงความเป็นประชาชนอาเซียน
อย่างไรก็ตาม เนื่องจากกำลัีงสนใจเฉพาะเสาของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในที่นี้จึงเน้นการกล่าวถึงการสร้างอัตลักาณ์ในส่วนของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเวียนเ็นสำคัีญ เพื่อให้การสร้างอัตลักษณ์ของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเว๊ยนมีความเป้นไปได้ยิ่งขึ้น อาจเร่ิงจาการสำรวจจารคด ค่านิยม และความเชื่อใดที่สอดคล้องต้องกันในหลายๆ ประเทศบ้าง มีจารีต ค่านิยม และความเชื่อใดที่ขัดแย้งกันในแต่ละประเทศบ้าง รวมถึงมีจารีต ค่านิยม และความเชื่อใดที่แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิงในแต่ละประเทศบ้าง ซึงผลการสำรวจนี้จะช่วยให้เห็นภาพที่ชัดเจนว่าอัตลักษณ์ร่วมของประชาคมสังคมและวัฒนะรรมอาเซียนมีอะไรบ้าง ขัดแย้งกัน และแตกต่างกันในเรื่องใดบ้าง ดดยในส่วนที่เป็นอัตลักษณ์ร่วมกันนั้นย่อมเป็นอัตลักาณ์ของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเวียนด้วยเช่นกัน
ในส่วนที่สำรวจแล้วพบว่ามีความแตกต่างกัน ประชาคมอาจจะเลือกความแตกต่างทางจารีต ค่านิยม และความเชื่อบางประการของประเทศในด้านที่ดีและมีประโยชน์มาเผยแพร่ให้ทั่วถึงกันใน
ประชาคมเพื่อให้กลายเป็นอัตลักษณ์ร่วมกันต่อไป เช่น เผยแพร่และสงเสริมค่านิยมเรื่องการตรงต่อเวลาซึ่งเป็นอัตลักษณ์ของบางประเทศให้กับประเทศอื่นๆ ที่ยังไม่ให้ความสำคัญกับเรืองนี้ให้ทุกประเทศใประชาคมเห็นประโยชน์และความำจเป็นของการตรงต่อเวลาและนำไปปฏิบัติร่วมกันทั้งประชาคม เป็นต้น และในที่สุดการตรงต่อเวลาก็จเป็นอีหนึ่งอัตลักษณ์ของประชาคมไปได้ ในขณะเดียวกันก็ต้องช่วยกันหาหนทางจำกัดจารีต ค่านิยม และความเชื่อที่ขัดเเย้งกันในส่วนที่ไม่เกิดประโยชน์ไม่ให้แพร่กระจายไปในประเทศสมาชิกเพื่อป้องกันไม่ให้กลายเป็นอัตลักษณ์ที่ไม่พคึงประสงค์ของประชาคมอาเซียนต่อไป
นอกจากนี้ ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนอาจร่วมมือกันสร้างพื้นที่ให้ประชาชนอาเว๊ยนมีส่วนร่วมในการสร้างอัตลักษณ์ไปด้วยกัน เช่น ร่วมกันจัดตั้งสถาบันเสริมสร้างอัตลักษณ์ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม และเปิดโอกาสให้ประชาชนจากทุกประเทศได้ใช้ชีวิตร่วมกันในสถาบันและความเชื่อเท่านั้น แต่รวมถึงทุกด้านที่เีก่ยวกับมิติทางสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งการสร้างพื้นที่ในลักาณนี้จะช่วยให้ประชาชนจากประเทศต่างๆ มีประชาชนจากหลายๆ ประเทศที่จะพัฒนาต่อยอดไปเป็นอัตลักษณ์ใหม่ๆ ของประชาคมไ้ด้อีกด้วย
ที่กล่าวมาเป็ฯอีกทางเลือกหนึ่งในการสร้างอัตลักษณ์ของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ซึงจะเป้ฯส่วนสนับสนุนให้ประชาคมอาเซียนบรรลุการมีหนึ่งอัตลักษณ์ ตามคำขวัญอาเซียน ที่ว่า หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งอัตลักษณ์ หนึ่งประชาคม ได้มากยิ่งขึ้น...http://www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=4502&filename=index
วันอาทิตย์ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น