วันอาทิตย์ที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

Teacher : A Tap Root of Nation Identity

             ครู : วิถีแห่งการสร้างอัตลักาณ์ของขาติ
             การศึุกษาไทยจำเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องทำให้ครูมีความรู้สึกผุกพันและหยั่งรากลึคกลงไปในทุกพื้นที่ท้ังในเขตที่อุดมสมบูรณ์ (เขตเมือง) และเขตที่แห้งแล้ง (เขตชนบท) เพราะเป้าหมายของความจริงสูงสุด คือ ความรุ้และธรรมะ ซึ่งความรุ้นั้นเป็นความรุ้มี่สามารถนำมาเป้นหางเสือและปรับใช้ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตประจำวันได้โดยไม่ต้องเกิดสภาวะคับข้องใจหตรือสภาวะทางเลหือก ส่วนะรรมะจเป็นการให้ตระหนักและรับรู้ำด้อย่างเด่นชัดว่า ชีวิตมีคุณค่าและมีความหมายซึ่งทั้งความรุ้และะรรมะนี้ต่างต้งมีครุเป้นผุ้ให้ "ส่วนผสม" นี้เพื่อก่อให้เกิดเป็เนื้อเดีวกัน ฉะนั้น วิถีของการสร้างชาติจึงควรมีทิศทางดังนี้
           1 การลุ่มลึกถึงวิธีสอนของการสร้าฝชาตินิยมครุจำเป็นต้องศึกษาและสร้างกระบวนการและคุณค่่าแห่งวิชาพลเมืองศึกษาและสร้างกระบวนการและคุณค่าแห่งวิชาพลเมืองศักษา ให้เกิดการสำนึกรวมกัน ไม่ว่าจะมีชาติพันธ์ ฐานคติ ความเชื่อ ศาสนา ชนชั้น หรือแม้แต่วัฒนวิถีแห่งตนเอง ต้องสอนให้เกิดความรุ้สึกและความสำนึกของความเป็นเนื้อเดียวกันในความเป้นชาติ ครุจะต้องหล่อหลอมรวม "ความเป้นวัฒนธรรมต่างสี" ลดความต่างสร้างความเหมือน" ทำให้เกิดการก่อรูปแหบ่งความเป็นเอกภาพได้ ซึ่งถือว่าเป็นภารกิจอันทรงเกี่ยต์ในการสร้างชาติ
           2 ความมั่งคั่งทางสติปัญญา ครุจะต้องเป็นตัวกระตุ้นในการที่จะดึงและส่งเสริม "ทุนทางปัญญา" ของลูกศิษย์เพื่อที่จะให้ผลผลติเหล่านี้ได้มีความสามารถ มีศักยภาพ และมีสมรรถนะ ในการผลิตความรุ้ใหม่และการสร้างสรรค์ผลผลิตในด้านต่างๆ ซึ่งจะเป็นส่วนหนึ่งในการส้าความมั่งคั่งและความสั่นคงทางเศรษฐกิจต่อประเทศชาติได้
           3 รื้อฟื้นบ่มเพาอจิตวิญญาณแห่งความสัมพันะ์ระหว่างครูกับศิษย์ จิตวิญญาณแห่งการสอน ครุจะต้องทลายกำแพงการเรียนรู้แบบเก่าให้เกิดสภาวะการเรียรู้พร้อมกันและร่วมกัน สร้างความสมดุลระหว่างการรับรุ้เนื่อหา และการนำไปใช้ได้อย่างชัดเจน ซึ่งแก่นแกนเหล่านี้จะกลายเป็นสารัตถุแหงระบบการศึกษาเชิงคุณค่า โดยอัตโนมัติ
         
จากประวัติศาสตร์ รัฐชาติไทยมีการปรับเปลี่ยนตนเองอย่างรวดเร็ว ซึ่งการอภิวัฒน์อย่างเป็นทางการนี้มีมาตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จจพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งถอืได้ว่าประเทศไทย ได้สร้างดลกสมัยใหม่ให้กับบริบททางการศึกษาดดยภาพฉายที่ชัดเจน เมื่อมการประกาศใช้ดครงการการศึกษาฉบับแรกปี พ.ศ.2441 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน การปรับเปลี่ยนนี้เป้นไปด้วยเหตุแห่งฐานคติที่จะต้องปกป้องและรักษาความเป็นชาติ และมีกานส่งผ่านบริบทของการศึกษาโดยมีครูเป็นผู้ปลูกฝังในการ "ลงรหัส" ในความมหายแห่งรัฐ และความเป็นชาติที่สอดคล้องกัน พลเมืองที่เกิดจากการอบรมขัดเกลาและสังสอนในโรงเรียนนั้น จะต้องมีควารู้สึกว่าเป็นชาติเดียวกันหรือเป็นพวกพ้องเดี่ยวกันอัจะก่อให้เดิดความมั่นคงและเสถียรภาพในรัฐนั้นฉะนั้เนการสร้างชาติดดยากรปลูกฝังความเป็นชาติของครู จำเป็นจะต้องมีองค์ประกอบ 2 ประการ คือ การสร้างชาติโดยการสร้างประวัติศาสตร์ร่วมกัน และการสร้างชาติดดยการสร้าฝสัญลักษณ์ร่วมกัน ซึ่งองค์ประกอบทั้งสองนี้จะหลอมรวมเป้นการสร้างอัตลักษณ์ของชขาติได้เป็ยอน่างดี ฉะนั้น บทสรุปที่ได้จากบทตั้งทางการศึกษาคือ ความสามารถในการดำเนินการสร้างชาติดยมีกระบวนการส่งฝผ่านดังนี้
         1 นโยบายของรัฐชาติ ต้องกลับมาฟื้นฟูวิชาหน้าที่พลเมือง หรอืวิชาพลเมืองศึกษาใหม่ รัฐบาลต้องมีการกำหนดหรือจะต้องสถาปนาความศักดิ์สิทธิ์"เทวาลัยแห่การผลิตครูไ เช่นเดิม
         2 ครูต้องเชื่อมั่นในศักิด์ศรีและยกย่อวคุณต่าแห่งเกี่ยติยศในการสร้างชาติและจุต้องอยู่บนฐานคติว่าเราเป็นครุกันได้คนละอย่าง ละครูคือผุ้ให้ ผุ้เติมเต็มและผุ้มีเมตตา
          3 การปลูกฝังโลกทัศน์ทางสังคม ความจริงและภาพเสมือนจริงจะต้องถุกสถาปนาความศํกดิ์สิทธิ์ทั้งกายภาพ (ปูชนียบุคคล) และชีวภาพ (จิตวิญญาณ) ให้กับสังคมเห็นความสอดคล้องและดยงใยกับสังคมทีเป็นอยู่ได้อย่างชัดเจน เพราะปัจจุบันช่่องว่างทางสังคมของครูยังมีสภาวะความรุนแรงเชิงโครงสร้างให้เห็นปรากฎในบางพื้นที่
          4 สื่อ ซึ่งถือเป็นช่องทางสาธารณะที่บุคคลทั่วไปสามารถรับข่าวสารได้ดี ความเที่ยงวตรง แห่งวิชาชีพนั้นสื่อควรมีการตรวจสอบข้อมูลต่างๆ อย่างถี่ถ้วนและเป็นธรรม ก่อนำเสนอข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับครูทั้งทางบวกและทางลบ ทั้งนี้ผุ้เขียนมิได้ว่าสื่อจะไม่สามารถนำเสนอเรื่องราวในเรื่องทางลบได้ แต่ต้องตระหนักว่า "สร้างภาพหรือสร้างสุข" ให้แก่ผุ้บริโภคสื่อ
           ดังนี้น เส้นทางของ "ครู" รากแก่งแห่งการสร้างอัตลักษณ์ของชาติ" นั้นคงแายภาพออกามชัดเจนกับสังคมปัจจุบันเพียงแต่สิ่งที่ครุจะต้องกระหนักในหน้าที่กสารสอน คือสนอแล้วเกิดภาพอย่างไร สร้างภาพหรือสร้างสุขสอนให้คิดหรือได้คิ สอนแบบเรียนรู้ร่วมกัน หรือเรียนรู้ลอกกัน สอนให้เข้าใจ หรือสอนให้เข้าสมอง และประเด็นที่สำคัญ สอนให้ทำได้หรือสอนให้ได้ทำ บทสรุปเหล่านี้คึงสอดคล้องกับวาทกรรมของ มล. ปิ่น มาลากุล ที่ว่า "ชาติยืนคงอยู่ เพราะครูดี สำคัญนักหน้าที่เรามีอยุ่ งานก่อนสร้างห้างหอ ยากพอพู แต่งานครูยากยิ่งกว่าสิ่งใด"

      - บางส่วนจากบทความ "ครู : รากแก้วแห่วการสร้างอัตลักษณ์ของชาติ โดย ธงขัย สมบูรณ์

วันเสาร์ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

ASEAN identity as a socio - cultural region

             อัตลักษณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมของภุมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในแง่ของภูมิศาสตร์และยุทธศาสตร์ อัตลักษณ์ของเอชียตะวันออกเฉียงใต้ นั้นถึงแม้จะเป็นเรื่องของ "การส้าง" และจินตนาการ โยคนอเมริกันและยุโรปตะวันตก ซึ่งเป้นนักวิจารณ์ที่จะหากฎเกณฑ์ร่วใรการกำหนดความเป้นภุมิภาคของเอเชียอาคเนย์ก็ได้ยอรับว่า "แม้จะเป้นการสร้างแต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในฐานะเป็นภูมิภาคหนึ่ง เป้นความเป้นตริงสำหรับนักวิชาการและประชาชนในแถบนี้ด้วยกันทั้งสิ้น และอัตลักษณ์นี้มีลักาณเป็นรูปธรรมมากขึ้นเมื่องมีการก่อตั้งสมาคมอาเซียนขึ้นมา
          แม้ว่าจะมีความแกต่างกันในการกำหนดแนวคิดและอัตลักษณ์ของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้แต่ก็เป็นที่ยอมรับร่วมกันวว่า มีลักาณะสำคัญทางสังคมและวัฒนธรรมที่เป็นลักษณะร่วมของประเทศตางๆ ในภูมิภาคนี้มากพอที่จะแดงให้เห็ฯลักษณเฉพาะที่แตกต่างไปจากจีน และอินเดีย ถึงแม้ว่าจะไม่ถึงระดับทีจะบอกได้ว่าเป้นลกัษระที่มีร่วมกันของทั้ง 10 ประเทศในภูมิภาคที่มีขอบเขตที่ชัดเจนโดดเด่นและไม่มีข้อโต้แย้งใดๆ ได้ก็ตาม ลักาณะทางสังคมและวัฒนธรรมเหล่านี้นับเป้นลักาณะเฉาพะของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยแท้ แม้จะรับัฒนธรรมจากจีน และอินเดีย สังคมต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเแียวใต้ได้เลือกรับและประยุกต์วัฒนธรรมให้เข้ากับลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมดั้งเดิมของตนเพื่อจุดมุ่งหมายเแฑาะที่เหมาะสมกับผุ้คนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น แม้จะอยู่ภายใต้วัฒนธรรม ฮินดูของอินเดีย แต่ระบบวรรณะไม่ปรากฎในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือแม้แต่ศิลปกรรม หรือการรนัยถือเทพเจ้าต่างๆ ของฮินดูก็ถูกดัดแปลงให้เข้ากับความเชื่อและพิธีกรรมดั้งเดิมของชนพื้นเมืองนอกจากนี้จากหลักฐานทางโบราณคดี และทาง
มนุษยวิทยาพบว่า การเพาะปูลกและการใช้ดลหะในแถบนี้มีอายุนานกว่าที่เคยคาดการณืไว้มาก "กล่าวอีนัยหนึ่ง ภุมิภาคนี้หาใช่ดินแดนล้าหลังที่รับอารยธรรมจากเพื่อบ้านในเขตคใกล้เคียง แต่เป็นดินแดนที่มีกการแรดิษญ์คิดค้นและพัฒนาการของตนเองที่มีเนื้อหาสาระและรูปแบบของวัฒนธรรมร่วมที่แพร่หลายไปตลอดทั้งภูมิภาคตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์และลหังประวัติศาสรตร์จนถึงประมาณรหนึ่งพันปีหลังคริสตกาลที่อิทะิพลของอินเดียเร่ิมปรากฎชัด
           ภาษาศาสตร์ นักภาษาศาสตร์พบว่าภาษาที่ใช้พุดในบรรดาชนพื้นเมืองในหมู่เกาะต่างๆ อยู่ในกลุ่ม ออสโตนีเซียน แพร่หลายอยู่ในหมู่เกาะมาลายู-อินโดนีเซียตั้งแต่ สามหมื่นปีกอ่นคริสกาล เข้าสู่อาณาจักรจามปา ร่วมั้งหมู่เกาะมาดากัสการ์เมือประมาณ สองพันกว่าปี มาแล้ว ภาษาดังกล่าวเป้นต้น
ตระกูลของภาษาที่ใช้ในมาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์(ตากาล็อก) รวมทั้งภาคใต้ของไทย เวียดนาม และเขมร
          ในแผ่นดินให่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รูปแบบภาษามีลักษระซับซ้อนขึ้น แต่กลุ่มภาษาไต-กะได ใช้พุดกันอย่างแพร่หลายในประเทศไทย รัฐฉานพม่า ลาว ภาคใต้ของจีน และทางเหนือของเขมร เวียดนาม และมาเลเซีย กลุ่มภาษาหลักอีกกลุ่มหนึ่งคือ ออสโตรเอเชียติด เป็นภาษาพูดของชาวเวียดนาม เขมร มอญ และชาวเขาบางกลุ่มทางเหนือของพม่า เวียดนาม และลาว รวมท้งชนพื้นเมืองในแหลมมลายู ส่วนกลุ่มภาษาจีน-ธิเบต ใช้พูดในหมู่คนพม่า และชาวเขากลุ่มต่างๆ ในพม่า และประเทศเพื่อบ้านของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งอินเดียตอนเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ บังคลาเทศ ภาคใต้ของธิเบสและเนปาล
        ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม มีลักษณะร่วมที่แพร่หลายในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยทั่วไปแม้ว่าจะไม่สามารถบอกได้ว่าเป็นักษรร่วมของสังคมทั้งภุมิภาคเช่นเดียวกับภาษา ไดแก่ ลักษณะเฉพาะของการจัดระเบียบทางสังคมที่แตกต่างไปจากสังคมจีนและอินเดีย จากการศึกษาของนักมานุษยวิทยาพบวา ลักษณะครอบครัวของสังคมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีลักาณะเป้นการนัฐาติทั้งสายพ่อและสายแม่ หมายถึง่า สถานะภาพทางเครือญาติของบุคคลกำหนดโดยสายสัมพันะ์ทั้งญาติข้างแม่และญาติข้างพ่อ หรืออาจจะเลือกเอาสายใดสายหนึ่งก็ได้ เช่น คนไทยเรามีปุ่ย่า ตายาย ลุง-ป้า -น้า-อา เป้ฯต้น ภายใต้กฎการนับฐาติทั้งสองสายนี้ ทำให้กลุ่มญาติแบบตระกูล "แซ่" แบบจีนไม่ปรากฎแต่ถือรวม ๆ ญาติทั้งสายพ่อแม่รวมๆ ญาติทั้งสายพ่อแม่รวมำัน การเลือกที่อยุ่หลังแต่งงานก็มักจะเลือกอยู่ข้างพ่อหรือแม่ก็ได้ หรืออาจแยกออกมาตั้งเป้ฯครอบครัวเดี่ยว การสืบมรดกเช่นที่ดินก็จะแบ่งเท่าๆ กันระหว่างพี่น้องทั้งหญิงและชาย ลักษณะของการจัดระเบียบทางสังคมของครอบครัวและเครือญาติดังกล่าวมักจะเปิดโอาสให้มีความเสมอภาคในทางเพศด้วย จากการศึกษาทางมานุษยวิทยาพบว่า ผุ้หญิวในสังคมในเอเชียตะวัน
ออกเฉียงใต้มีบทบามสุในกิจการของครัวเรือนและในการตัดสินในเรื่องการทำการเกษตรและการต้าดดยทั่วไปเาจะพบลักษณะของการจัดระเบยบเครือญาติแบบ 2 สาย ในสังคมที่ยอุ่ยนที่ราบบนผืนแผ่นดินใหญ่ และชาวเขาของเกาะบอร์เนียวและฟิลิปปินส์ แต่เราก็ยังพบว่า มี่ส่วนหนึ่ง แม้จะเป็นส่วนน้อยที่อาศัยอยุ่ยนเทือกเขาในแผ่นดินใหญ่ และหมู่เกาะสุมาตรา และภาคตะวันออกของอินโดนีเซียที่การจัดระเบียบทางเครือญาตเป็นการสืบายเดียวและมีกลุ่มโคตรวงศ์เดีวยกัน...

         อย่างไรก็ตาม อัตลักษณ์ร่วทางสังคมและวัฒนธรรมเหล่านี้หาได้ซ้อนทับกับขอบเขตทางภุมิศาสตร์ การเมือง หรือสามารถกำหนดขอบเขตของภุมิภาคทงสังคมและวัฒนธรรมได้อย่างชัดเจน ลักษณธทางภาษาเป็นต้น อาจครอบคลุมประชากรและดินแดนกว้างไกลไปกว่าเขตแดนของเอเชยตะวันออกเฉียงใต้ ทั้งนี้ขึ้นอยุ่กับว่าเราจะใช้เกณฑ์อะไรมากำหนดความเป็นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มากกว่าในโลกยุคโลกาภิวัตน์ และการเกิดสมาคมอาเซียนเพื่อเศรษบกิจและการต้าของภุมิภาคนั้น เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แน่นอนแยกจากภูมิภาคอื่น และมีอัตลักษณ์ของตนเอง ที่โดดเด่นในเวทีากรเมืองและเศรษฐกิจโลก...
         
           - บทความ "อัตลักษณ์และความหลากหลายทางวัฒนธรรมของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้" โดย ปีรชา คุวินทร์พันธุ์

วันศุกร์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

ASEAN Inditification

       
  อัตลักษณ์อาเซียน ชาตินิยมเหนือภูมิภาค นักวิชาการไทยมอง การสร้างอัตลักาณือาเซียน มีอยุ่ แต่ไม่ถูกผลักดันประชาสัมพันธ์เท่าที่ควร
           ในช่วงเวลาที่ทุกภาคส่วนในไทยำลังเตรียมพร้อมสำหรับการเปิดประชาคมอาเวียนในปี 2558 โดยเฉพาะในด้านเสรษบกิจการเมือง เรื่องของวัฒนธรรมกลับไม่ค่อยมีใครพูดถึง โดยเแพาะการสร้างอัตลักษณ์อาเซียน ซึ่งนักวิชาการไทยมองว่ามีอยุ่ แต่กลับไม่ถูกผลักดันประชาสัมพันธ์เท่ารที่ควร
           คงต้องยอรับว่าในช่วง 2-3 ปีมานี้ ภาพธงอาเวียนปลิวไสว หรือการจัดกิจกรรมสัมนา ไปจนถึคงรายการและข่ายตามสื่อมวลชนทุกแขนงเกี่ยวกับอาเซียน เป้นหลักฐานบ่งบอกได้เป็นอย่างดีว่าสังคมไทยกำลังตื่นตัวกับการเข้าสู่การเปิดเสรีประชาคมอาเซียนอย่างเต็มรูปแบบในปลายปี 2558 ที่จะถึงนี้อย่างมาก
           แต่ส่วยใหญ่แล้ว การพูดคุยภกเถียง และเตรียมความพร้อมสำหรับทั้เงเอกชนและราชการไทย มุ่งเน้นที่ความร่วมมือ้ดานเศรษบกจและการเมืองมากกว่าในด้านสังคมวัฒนธรร ทั้งๆ ที่เรื่องของอัตลักษณ์และวัฒนธรรมร่วมอาเซียนเป็นปัจจัยหลักที่จะส่งเสริมให้การรวมประชาคมอาเซียนเป็นไปอย่างราบรื่น ตามคำขวัญอันสวยหรูที่ว่า วัน วิชัน, วัน ไอเดนติตี้, วัน คอมมูนนิที้ หรือ หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งอัตลักษณ์ หนึ่งประชาคม
           ด้วยเหตุนี้ การจัดงานสัมนาของกรมประชาสัมพันะ์ ภายใต้หัวข้อ "อัตลักษณ์อาเซียนมีหรือไม่"ซึ่งมีสื่อมวบชนแลบะนักวิชาการมาร่วมงานเป้นจำนวนมาก จึงเป็นโอกาสอันดีที่จะมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับความร่วมมือด้านสังคมวัฒนธรรมในอาเซียน โดยเฉพาะการหาอัตลักษณ์ร่วมกันที่มากกว่าคำพูดที่ว่า "อัตลักษณ์ของอาเซียนก็คือความหลากหลาย" ซึ่งกลายเป็นการย้อนแย้งว่าอัตลักษณ์ของอาเซียนก็คือการไม่มีอัตลักษณ์นั่นเอง
           ผุ้ช่วยศาสตรจารย์กิตติ ประเสริฐสุข ผุ้อำนวยการสถาบันเอเชียตะวันออกศึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าว่าอัตลักษ์ร่วมของอาเวียนมีอยู่หลายประการ แต่เป็นทั้งในแง่บวกและแง่ลบโดยในแง่บวก ก็คือการมีประวัติศาสรต์ร่วมกันในการเคยตกเป้นอาณานิคมของชาติตะวันตกและต้องต่อสู้เรียกร้องเอกราช ไปจนถึงวัฒนะรรมการรักครอบครัว อุปนิสัยร่าเริง การเป็นเจ้าภาพที่ดีไปจนถึงวัฒนธรรมที่เป้ฯรูปธรรมอย่างอาหารหรือสถาปัตยกรรมที่มีรากเหง้าใกล้เคียงกัน
           ขณะที่อัตลักษณ์ร่วมของชาติอาเซียนในแง่ลบ ก็คือการทุจริตคอรัปชั่น เล่นพรรคเล่นพวกไปจนถึงการปกครองแบบเผด็จการอำนาจนิยม ที่แอบแผงอยุ่แม้แต่ในประเทศที่ดูเป็นประชาธิปไตยอย่างไทยและสิงค์โปร์ และที่สำคัญที่สุดก็คือวัฒนธรรมชาตินิยมล้นเกิน ที่สร้างความบาดหมางดดยไม่จำเป็นระหว่างชาติสมาชิกอาเซียนหลายครั้ง โดยล่าสุด ก็คือกรณีพิพาทพระวิหารระหว่างไทยกับกัมพูชา ซึ่งถือเป็นความล้มเหลวของวัฒนธรรมอาเซียน
         
 ซึ่งในเรื่องนี้ ศาสตรจารย์พิเศษชาญวิทย์ เกาษตรศิริ อดีตอธิการบิดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก็ให้ความเห้นว่า วัีฒนธรรมชาตินิยม ซึ่งังคงอยู่เหนือวัฒนธรรมภุมิภาคนิยมตามที่อาเซียนควรจะมี เกิดจากส่ิงทีเรียกว่า "ประวัติศาสตร์บาดแผล" หรือการที่แต่ละชาิตสร้างประวัติศาสตร์แบบกล่าวหาชาติเพื่อบ้านโดยเฉพาะในแบบเรียนประวัติศาสตร์ตั้งแต่ประภมจนถึงมัธยมปลายซึ่งทำให้เกิดทัศนคติผิดๆ ระหว่างประชาชน กลายมาเป้นปัญหาความขัดแย้งระหว่างชาติสมาชิกอาเซียน
            ศาสตราจารย์ชาญวิทย์ยังกล่าวอีกว่า การสร้างอัตลักาณืและความร่วมมือทางสังคมวัฒนธรรมที่สำคัญในอาเซียน จึงควรเริ่มจากให้รัฐมนตรรีศึกษาธิการชาติอาเซียน ร่วมกันสะสางหลักสูตรการเรียนประวัติศาสตร์ที่เน้นสันติภาพ และสร้างความเข้าใจระหว่างชาติเพื่อนบ้านมากกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
            ศาสตราจารย์ชาญวิทย์ยังกล่าวทิ้งท้ายอีด้วยว่า หากคนไทยและชาวอาเซียนทั้งหมดต้องการพัฒนาเข้าสู่ประชาคมอาเซียนอย่างราบรื่น จะต้องอาศัยความใกล้ชิดทางสังคมวัฒนธรรมในระดับประชาชนอย่างใกล้ชิด ไม่ว่าจะเป็นการเรียรุ้ภาษาชาติเพื่อบ้านหรือการส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในประเทศอาเซียน มากกว่าการติดธงชาติหรือแต่งกายชุดประจำชาติที่ไม่ได้ใช้แต่งกันจริงๆ ในชีวิตประจำวัน เพื่อให้ทีศนคติภูมิภาคนิยม อยู่เหนือความเป็นชาาตินิยมทีฝังรากลึกมานานในอาเซียนให้ได้...https://www.voicetv.co.th/read/60616
            วิถีอาเซียน ตัวขวางการหลอมรวมประชาสังคม
             การเสวนาเรื่อง "มองไปข้างหน้า : ประชาคมสังคมและวัฒนธรรอาเซียน" โดย ศ.ดร.อาภรณ์ สุวรรณ จากคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระบุว่า ความร่วมมือในกรอบอาเซียน เป็นผลผลิตจากการตกลงของรัฐบาล ซึ่งแต่ละประเทศมีอิสระในการกำหนดนโยบายร่วมกัน ดดยมีข้อตกลงต่างๆ และ "วิถีแห่งอาเซียน" เป็นตัวกำกับ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า บทบาทของภาคประชาสังคมในการบูรณาการอาเวียนถูกละเลย นำไปสู่คำถามสำคัญที่ว่ อัตลักษณ์ที่มีร่วมกัน และความเป็อาเซียนคืออะไร.... ในความพยายามสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียว ในรัฐชาติซึ่งเกิดใหม่แต่ละประเทสยังมีประชาชนกลุ่มหนึ่ง ซึ่งพยายามรักษาอัตลักษณ์และวัฒนธรรมของตัวเองที่มีอยุ่มาตั้งแต่ก่อนเกิดความเป็นรัฐชาติ เมื่อเรื่องรัฐชาติเป็นเรื่องใหม่ ผสมกับความรู้สึกแบบชาตินิยม ทำให้การสร้างจิตสำนึกความเป็นอาเวียน และการสร้างอัตลักษณ์ร่วมกัน เป็นเรื่องที่ยังไม่สามารถเกิดขึ้นได้ เพราะต่างยังต้องการคงความเป็นอิทธิพลทางวัฒนธรรมในแบบรัฐ มีความเป็นเจ้าของวัฒนธรรมตามแบบชาตินิยม แบ่งแยกกีดกันวัฒนธรรมจากเพื่อบ้านแม้หลายวัฒนธรรมจะมีรากฐานกันมาแต่เดิม
            ปัญหาเรื่องอัตลักษณ์ ความสับสนทงปรวัติศาสตร์ และเส้นแบ่งเขตแดนที่ละเลยเชื้อชาติ และอัตลักษณ์ยังทำให้เกิดปัญหาเรื่องความมั่นคง ทั้งในระดับรัฐ และระดับระหว่างประเทศ เช่น ปัญหาบริเวณพรมแดนไทย-มาเลเซีย หรือบริเวณพรมแดนมาเลดซีย-ฟิลิปปินส์
            ศ.ดร. ธเนศนำเสนอประเด็นว่ สิ่งหนึ่งที่ชาติสมาชิกอาเวียนมีร่วมกันเกือบทุกประเทศ ยกเว้นไทยคืออิทธิพลจากชาติตะวันตก ผ่านการเป็นส่วนหนึ่งของอาณานิคม ซึ่งไม่ได้มาด้วยความสมัครใจของชาติสมาชิก การบังคับ-กดขี่จากชาติตะวันตก กลับทำให้เกิดระบบระเบียบ ภาษา และแนวคิด ตามแบบตะวันตกแท้ๆ ที่ทำให้ชาติอาเซียนหลายชาติมีความเชื่อมฝดยงกับประเทศแม่ จากทางยุธโรป มากกว่ารากเหง้าแต่เดิม เช่นใน ฟิลิปปินส์ ี่มองว่าตนเป็นส่วนหนึ่งของสเปน และความเป็นยุโรป จนถึงก่อนการเกิดการตระหนักรู้ถึงความเป็นเอเชียเมื่อทศวรรษที่ 1880-1900 ฟิลิปปินส์จึงเร่ิมมองสภานะตัวเองว่าเป็นส่วนหนึ่งของโลกมลายู แลเริ่มหันหน้ายอมรับอัตลักาณ์ความเป็นอาเซียนมากขึ้น
            การปลุกระดดมกระแสชาตินิยมไปจนถึงการพัฒนาทางด้านเศรบกิจและสังคมอย่างก้าวกระโดด ตามตัวแบบอย่างญี่ปุ่นในหลายประเทศ ยัวทำให้เกิดชนชั้นใหม่ในอาเซียนอย่าง"ชนชั้นกลาง" ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่ปรับตัวและเติบโตขึ้นพร้อมกับสังคมเมือง ทำให้ไม่ยึดติดกับอัตลักษณ์และวัฒนธรรมดังเดิม และพร้อมที่จะมีบทบาทในกรประสานความร่วมมือ เพื่อสร้างสิ่งที่ดีกว่าขึ้นใหม่ในอนาคต
            จริงอยู่ ที่การก่อตั้งอาเซียนในยุคเริ่มแรก เป็นเหตุผลทางการเมืองเนื่องจากต้องการต้านภัยคอมมิวนิสต์ โดยชาติสมาชิกทั้ง 5 ชาติ ต่างได้รับอิทธิพลจากโลกเสรีฝ่ายตะวันตก กระทั้งเมื่อผ่านไประยะหนึ่ง เห็นว่าการแบ่งแยกกีดกันเพื่อบ้านไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ร่วมกันในภุมิภาคเท่าความร่วมมือ จึงเกิดความพยายามประสานความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ ร่วข้อตกลงระวห่างกันและตั้งเป้าที่จะเป็น "ประชาคมอาเซียน" ในปี 2558 นี้
             
จะเห็นได้ว่า การตัดสินใจของอาเซียนแต่ละครั้งนั้น เป็นไปเพือผลประโยชน์ของ "รัฐ" ในองค์รวมเป็นสำคัญ ทำให้ความพยายามที่จะสร้างอัตลักษณ์ร่วมกันของชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นความพยายามด้านโครงสร้าง ที่ดำเนินการโดยส่วนกลางหรือรัฐบาลของประเทศสมาชิกมาตลอด นอกจากนี้ "วิถีแห่งอาเซียน" เองก็ยังเป็นตัวขัดขวางพัฒนาการ เพราะทำให้การตัดินใจเชื่องช้าต้องรอทุกชาติลงมติเป็นเอกฉันท์ ขณะเดียวกันก็ห้ามแทรกแซงกิจการภายในของกันและกัน ทำให้ข้อตกลงทั้งหลายทีทำไว้ไม่สามารถออกมาเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะเรื่องสิทธิมนุษยชน เช่นการต้ามนุษย์ การปิดกั้นเสรี ภาพในการสื่อสาร และการต้้งคำถามต่อรัฐบาล ซึ่งถูกปิดกั้นไม่ให้มีการแทรกแซงแก้ปัญหาระว่างกัน ตามวิถีแห่งอาเซียน
               ศ.ตร. ธเนศระบุอกีว่า "อาเซียนจะเป็นประชาคมไม่ได้ หากยังมีการใช้อำนาจเกินหน้าที่โดยเจ้าหน้าที่รัฐ หร้อมเสนอว่า หากมีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมร่วมกัน การเข้าพื้นที่ไปศึกษา ส่งเสริมบทบาทของสภาบันอาเซียน  ในการแทรกแซงกิจการภายในแบบเชิงบวก ก็อาจจะเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขั้นได้นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้มีกาชำระประวัติศาสตร์ ร่วมกันในหมู่ชาติสมาชิก เพื่อทำความเข้าใจรากเหง้าที่มีร่วมกัน สร้างความเป็นหนึ่งเดียว ความเข้าสใจซึ่งกันและกันและการไม่แบ่งแยกในปมู่ชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และวัฒนธรรมอาเซียน" จากความร่วมมือในระดับบนของภาครัฐ ผสานกับขัยเคลื่อนความร่วมมือในระดับบุคคลของภาคประชาสังคมทั้งในและระหว่างชาติสมาชิก จะช่วยส่งเสริมกันให้กลายเป็นการบูรณาการที่ได้ประโยชน์ในระยะยาว...https://www.khaosod.co.th/view_newsonline.php?newsid=TVRNNU9UZzJOemM1TXc9PQ==

วันพฤหัสบดีที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

The Story of Thai' Identity

          คำถามว่าอัตลักษณ์ของคนไทยคืออะไร และคนไทยจะสามารถรักาาอัตบักาณ์ของตนไว้ได้นานเพียงไรในกระแสแห่งการเปลี่ยนแปลงเช่นทุกวันนี้
          คำว่า "อัตลักษณ์" นั้นหมายถึงอะไร ซึ่งถ้าพูดกันง่ายๆ ก็คือสิ่งที่แสดงถคึงความเป็นตัวตนของตนไทย ซึ่งส่วนหนึ่งก็จะเป็นลักษณะของตัวตนภายนอก เช่น กิริยาท่าทาง ภาษา และการแสดงออกต่อบุคคลอื่น กับลักษณะของตัวตนภายใน ได้แก่ ความรู้สึกนึกคิด นิสัยใจคอ คตินิยม ความเชื่อ และส่ิงยึดเหนี่ยวจิตใจ
          ในสมัยก่อนนั้น เมื่อพูดถึงคนไทยในสายตาของชาวต่างประเทศ ก็คือการย้ิมแย้ม จนไ้ดรับสมญาว่า เป็น แลนด์ออฟสไมล์ หรือ ดินแดนแห่งรอยยิ้ม ถัดมาก็คือ การเป็นมิตรกับชาวต่างชาติ และความเอื้ออารี
          โดยปกติคนไทยมักจะเป็นคนที่สุภาพเรียบร้อย รักสนุก ชอบความสะดวกสบาย และเก็บความรู้สึก..นอกจากรอยยิ้มแล้ว คนไทยไม่ค่อยแสดงอะไรออกมาทางสีหน้าหรือากัปกิริยา ไม่ว่าจะชอบหรือไม่ชอบ จะเห้นด้วยหรือไม่เห็นด้วย ดังนั้น จึงออกจะเป็นการยากที่จะคาดเดาความหมายจากรอยยิ้มของคนไทย
           ขณะเดียวกันก็มีบางคนที่มองโลกในแง่ร้ายดล่าวว่า ลักาณะสำคัญของคนไทยได้แก่ การไม่เคารพกฎเกณฑ์กติกา และถือเอาความพอใจของตนเป็นหลัก การเจ็บแล้วไม่รู้จักจำ การไม่รักษาเวลา และไม่รักษาคำพูด
         
สำหรับลักษณะของตัวตนภายในก็มาจกการอบรมสั่งสอนจากครอบครัวและโรงเรียนในวัยเด็ก ขนบธรรมเียมต่างๆ ศาสนา และลหักปรัชญาที่นับถือ เนื่องจากคนไทยส่วนใหย่นับถือพุทธศาสนา ดังนั้น คำสอนทางศาสนาพุทธจึงเป็นส่ิงที่อยุ่ภายในจิตใจของคนไทยจำนวนมาก ไม่ว่าจะเป็นเรื่องศีลเรื่องธรรม รวมทั้งแนวคิดในเรื่องกฎแห่งกรรม ทำดีได้ดีทำชั่วได้ชั่วการให้อโหสิกรรมหรือการปล่อยวาง จนบางครั้งดูเหมือนคนไทยจะเป็นคนที่เรียบเฉพย ปราศจากอารมณ์และความรู้สึกที่รุนแรงเช่นคนชาติอื่น
           ย้อนกลัยมาถึงเรื่องอัตลักษณ์ของคนไทย แน่นอนว่าสังคมไทยในปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไปจากอดีต และคนไทยก็มิได้มีสภาพชีวิตที่่คล้ายคลึงดันเช่นอดีต แต่มีความแกตต่างกันทางอาชีพสถานะเศรษฐกิจ ความเป็นอยู่ และความคิดเห็น ค่อนข้างสูง ดังนั้นการที่จะระบุว่าสิ่งใดคืออัตลักาณืของคนไทยในปจจุบัน จึงเป็นเรื่องยากกว่าในอดีต อย่างไรก็ตาม อาจจะกล่าวโดยรวมได้ว่าคนไทยเป้นคนที่มีพื้นฐานจิตใจที่ดี เป้นพวกสุขนิยม ชอบอะไรที่ง่ายๆ สบายๆ ไม่ชอบเรื่องที่ยุ่งยากซับซ้อน
          ความจริงไทยก็เป็นคนแบบนี้มานมนานกาเล อย่าน้อยๆ ก็นานก่อนที่จะมีคนคิดเรื่องอัตลักษณ์นี้ขึ้นมา ส่วนลักาณะเฉพาะตัวของคนไทยจะดีหรือไม่ดีอย่างไรในสายตาของคนอื่น ก็อย่าไปสนอกสนใจมันเลยครับ เพราะยังไงเราก็เป็นของเราแบบนี้ไม่สามารถแก้ไขให้เป็นแบบอื่นได้และมีควมสุขตามอัตภาพกับการเป็นตัวตนของตัวเอง
          ส่วนข้อห่วงกังวลที่ว่าเราจะสามารถรักษาอัตลักษณ์ของเราไว้ได้นานเพียงไรนั้น ก็อย่าเป็นกังวลไปเลยครับ เพราะคุณสมบัติประการหนึ่งของคนไทยก็คือ การปรับตัวให้เข้ากับความเปลี่ยนแปลง จากขอม เป็นอินเดีย เป็นจีน เป็นฝรั่ง ถ้าจะเป็นอาเซียนอีกสักที ก็ไม่ใช่เรื่องแปลก
          คิดอีกด้านหนึง ประเทศอาเซียนอื่นๆ ต่างหาก ที่น่าจะเป็นห่วงเรื่องการรักษาอัตลักษณ์ของพวกเขา เมื่อมาใกล้ชิดสนิทสนมกับไทยhttp://www.komchadluek.net/news/politic/165772
       
  อัตลักษณ์ไทยอะไรกัน...นิธินันท์ยอแสงรัตน์(ผู้เขียน)
           เขียนเรื่องอัตลักษณ์ไทยเพราะมีผุ้ถามว่า ทำไมชอลตั้งข้อสงสยเรื่องความเป็นไทย ไม่ดีหรือที่ไทยมีความเป็นไทย หรือมีอัตลักา์ไทยที่แสดงให้เห็นความยิ่งใหญ่ไม่เหมือนใครของไทย
           อันที่จริง "อัตลักษณ์ชาติ" เคยเป็นหัวข้อสำคัญในการสนทนาของผุ้คนแทบทุกชาติเมื่อหลายสิบปีมาแล้ว ปัจจุบัน มุมมองเรื่องนี้เปลี่ยนไปมาก ผุ้คนเลิกพูดเรื่องอัตลักษณ์เดียวจากส่วนกลาง แต่หันไปพูดเรื่อง "ความหลากหลาย" ด้วยเหตุที่ว่า ผู้คนในแต่ละชาติล้วนมีความเป้นมาหลากหลายจึงมีวิถีชีวิตหลากหลาย
           คำอธิบายชุดเดียวเรื่องอัตลักษณ์ ย่อมไม่สามารถอธิบายอัตลักษณ์ของคนทั้งชาติซึ่งล้วนเป็นองค์ประอบสำคัญของชาติ น่าคิดว่าเรามักคิดถึง "อัตลักษณ์" เมื่อจะต้องพุดเรื่องความย่ิงใหญ่ของชาติ ไม่ว่าเพื่อปลุกใจให้ฮึกเหิมยามสงคราม หรือเมื่อผู้ปกครองต้องการให้ประชาชนรวมพลังเป็นปึกแผ่นเพื่อกระทำการบางอย่างตามความประสงค์ของผุ้ปกครอง ผุ้ปกครองคือผุ้กำหนดอัตลักษณ์ชาติให้ประชาชนเชื่อและยึดถือ มิใช่ประชาชนกำหนดให้ผุ้ปกครองเชื่อและยึดถือ
           ผุ้ปกรองจึงสามารถอ้างอัตลักษณ์ชาติ เข้าควบคุมหรือำหนดพฤติกรรมคนในชาติซึ่งถือเป็บริวาร "ภายใต้" การปกครอง ให้ประพติปฏิลติตนตามแบแผนที่ผุ้ปกครองกำหนด เพื่อ "ความเป็นหนึ่งเดียว" หรือ "ความมั่นคง" ของชาติ(อันหมายถึงกลุ่มผู้ปกครอง)
         
ปัจจุบัน ผู้คนจำนวนมากในสังคมดลก เชื่อเรื่องการยอมรับและเคารพความเสมภาคเท่าเทียม ตลอดจนความแตกต่างหลากหลายของผุ้คน มากกว่าเรื่อง "หนึ่งเดียวอันมั่นคง" หรือ "ฉันเท่านัน ดีที่สุดในโลก" หลายๆ ประเทศเช่น อังกฤษ คนส่วนมากเลิกพุดเรื่อง "อัตลักษณ์เดียว" ของชาติกันไปแล้ว ซึ้ยังเสนอเรื่องอัตลักษณ์นอกกรอบคิดเดิมที่เกาะเกี่ยวอยู่แต่กับเรื่องวศาสนา ความเชื่อ พิธีกรรม การแต่งกาย ศิลปะการแสดง เสื้อผ้า อาหารฯลฯ ไปเป็นเรื่องบทบาทการเชิดชูเสรีภาพ ประชาธิปไตย และศักดิ์สรีมนุษย์ ของผู้คนในประเทศ เป็นต้น
           https://www.matichon.co.th/news/524462
ส่วนคนไทยจำนวนหนึ่ง ยัวอยากเชื่อว่าไทยมีอัตลักษณ์ "แช่แข็ง" สืบทอดจากอดีตอันรุ่งเรืองและยิ่งใหญ่กว่าใครๆ ไม่เคยเปลี่ยนแปลง เชน มีความเป็นพุทธแท้ มีอาหารไทยแท้ มีชุดไทยแท้ มีบ้านเรือนแบไทยแท้ และมียิ้มสยามแท้ซึ่งงดงามที่สุดในโลก รวมถึงเชื่อว่าอัตลักษณ์แช่แข็งคือความมั่นคง ใครตั้งคำถามเกี่ยวกับอัตลักาณ์แช่แข็งจึงอาจถูกชีหน้าว่าเลว ไม่รักชาติ ไม่ยินดีทำความเข้าใจว่า อัตลักาณืของแต่ละสังคมมีความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เช่นเดียวกับชีวิตผุ้คน ดังนั้น อัตลักาณ์ไทยปัจจุบันย่อมไม่เหมือนอัตลักษณ์อยุธยาเมื่อหลายร้อยปีกอ่น อีกทั้งไม่เหมือนอัตลักษณ์รัตนโกสินทนยุครัชกาลที่ 1
         

วันพุธที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

Malaysia and Identification

           ความพยายามของมาเลเซียในกสรสร้างอัตลักษณ์ของชาติผ่านระบบการศึกษา
           มาเลเซียนมีความพยายามอย่างย่ิงที่จะปับแนวทางการศึกษาของประเทศให้มีความสอดคล้องกับความแตกต่างหลากหลายทางเชื้อชาติ สังคมและวัฒนธรรมซึ่งเป้นหัวใจหลักที่ีความสำคัญต่อการปยุ่รดของความเป้ฯประเทศมาเลเซียโดยเฉพาะอย่งยิ่งการนำเาอแนวคิดศาสนาอิสลาม มาปรับใช้ตั้งแต่ปี 1979 รวมทั้งการวงหลักสูตรภาษาต่างผระเทศที่สะท้อนความหลกหลายของความเป้ฯมาเลเซีย เพื่ตอกย้ำความเป้นอันหนึ่งอันเดียวกันของประเทศได้กลายนาเป็นปรคัชญาทางการศึกษาที่สำคัญมาจนถึงปัจจุบัน
            แรงผลักดันที่สำคัญ นอกเหนือไปจากความเป็นพหุสังคมของมาเเซียนแล้ว ปัจจัยด้เานการเป็นประเทศมุสลิม รวมถึงการเปลี่ยนสแปลทืางการเมืองภายในและภายนอกประเทศก็ล้วนแล้วแตผลักดันห้มาเลเซียต้องพยายามแสวงหาเครื่องมือหรือกลไกในการผลัดันความเป้นเอกภาพผ่านหลักสูตรทางการศึกษาของชาติ
           ดังนั้น ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายซึ่งได้จากบทเรียนของความสำเร็จของมาเลเซีย ซึ่งสามารถปรับใช้กับประเทสไทยรวมทั้งสามจังหวัดชายแดน มีดังนี ้ คือ 1) วางปรัชญาทางการศึกษาของชาติให้มีความชัดเจน 2)ดำเนินการอย่างเป้นรูปธรรมในนโยบายปฏิรูปการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 3) สร้างความสมดุลระหว่งความรู้างวิชากรสมัยใหม่กับค่านิยมและจริยธรรม และ 4) การพัฒนาบุคลากรผุ้สอนวิธีการสอนและสื่อการเรียนการสอนสมัยใหม่
          มาเลเซียเป็นประเทศที่มีลักษณะเฉพาะ เนื่องจากความแตกต่างด้านชาติพันธ์ุ เชื้อชาติและวัฒนธรรมภายในประเทศ ทำให้มาเเว๊ยพยายามหาแนวทางในการสร้างเบ้าหลอมของความแตกต่างให้อยู่ภายใต้ความเป้นชาติที่มีอุดมกาณณ์เดียวกันคือความเป็นมาเเซียน ไม่ว่าจะมีควารมแตกต่างกันด้วยสาเหตุใดก็ตาม แร่การที่มาเลเซียนมีคนส่วนใหย่ที่เป้ฯชาวมลายู และนับถือศาสนาอิสลาม ทำให้การสร้างเบ้าหลอมทางการศึกษาได้เน้นไปสู่แนวทางของศาสนาอิสลามเพ่ิมขึ้ ดดยเฉพาะอย่างยิงในช่วงหลังปี 1979 ซึ่งสาเหตุสำคัญมาจากากรเปลี่ยนแปลงทางการเมืองระหว่างประเทศและการเมืองภายในประเทศ
         
ภาษาอังกฤษนอกจากจะเป้นกลไกสำคัญในการยกระดับการเรียนรุ้ภาษาต่างปะเทศของนักเรียนชาวมาเลเซียแล้ว ยังถุกใช้เป็นเครื่องมือในการสร้างอัตลักาณ์ของชาวมาเลเซียผ่านหลักสุตรการศึกษาของชาติและการสร้างรูปะรรมในนโยบายปฏรูปการศึกาาที่เน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน..
           วิธีการสร้างอัตลักาณ์ผ่านระบบการศึกษาของมาเลเซีย
            การปรับใช้แนวคิดทางศาสนาในระบบการศึกาา อ่กนปี 1979 มาเลเซียจัดการศึกษาแบบสองระบบ คือการศึกษาแบบศาสนาและการศึกษาปบบปกติที่แยกจากกัน ซึ่งเป้นผลจากอิทธิพลของการวางระบบการศึกษาของประเทศอังกฤษในช่วงอาณานิคม อย่างไรก็ตามจุดเปลียนทางการศึกาาของมาเลเซียเกิดขึ้นเมือมาเลเซีนได้รับเอาข้อชเสนอแนะกระบวนการทำให้เป็นอิสลามหรืออสลามานุวัติ ด้านการศึกาา จากการประชุมโลกมุสลิมเมื่อปี 1977 รัฐบาลในขณะนั้นได้มีการทบทวนนโยบายการศึกาาและนำมาสู่การปฏิรูประบบการศึกษาเมือปี 1979 และการปรับเปลี่ยนหลักสูตรการศึกษาเมือปี 1983 ดังนั้นโรงเรียนทุกระดับจึงเน้นรูปแบบการศึกาาแบบบูรณาการบนพื้นฐานความศรัทธาและระบบค่านิยมที่มีลักาณะครอบคลุมและเป็นองค์รวม ว฿่งเป้นการเน้นการสร้างปัเจกบุคคลที่มีความสมดุลและเอกภาพทั้งทางด้านสติปัญญา จิตวัญญาณ อารมณ์ และร่างกาย มีความเชื่อที่มั่นคงและนอบน้อมต่อพระผุ้เป็นเจ้า ปรัชญาทางการศึกษาแห่งชาติและหลักสูตรบูรณาการสำหรับโรงเรียนมัะยมศึกษาที่ปฎิรูปขึ้นมใหม่นี้เปิดช่องทางทีเท้อต่อการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้อิสลามมานุวัตร
            การนำเอาแนว่าวประยุกต์เข้ากับระบบการศึกษาของมาเลเซียได้ดำเนินการต่อเนื่อมาจนถึงปัจจุบันและกลายเป็นแนวทางต่อการศึกษาทุกระดับของมาเลเซีย โดยเฉพาะเป้าหมายการพัฒนาประเทศไปสู่สังคมที่มีความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างยั่งยืนต้องสร้งความสมดุลระหว่งความเชื่อและความศรัทะาทางศาสนาเข้ากับองค์ความรู้สมัยใหม่ จากการวิจัยพบว่าโรงเรียนของมาเลเซีนไ้ผสมผสานแนวคิดทงศาสนาอิสลามเข้าสู่กระบวนการวางแผนและการเรียมการสอน การำนเข้าสุ่บทเรียน กิจกรรมการจัดการเรียนการสอน การปฏิสัมพันะ์ระหว่างครุกับนักเรียนการสรุปบทเรียน การใช้สื่อการเรียนรู้ ขณะที่ข้อจำกัดที่เกิดขึ้นของการประยุกต์ใช้คือผุ้สอนขาดความรู้ทางศษสนาอย่างึกซคึ้งทำให้อาจเกิดการตีควาที่ไมตรงกับหลักศาสนาที่ถูกต้องได้
           การปรับใชภาษาต่างประเทศนระบบการศึกษา หลักสุตรกภาษอังกฤษของมเเลซีย วางอยุ่บนหลักพื้นฐานของปรัชญาการศึกาาที่เน้นคึวามเป็นชาติ และหบักสูตรแห่งชาติ ในฐานะกลไกหนึ่งของระบบการศึกาาภาคบังคับ หลักสุตรภาษาอังกฤษได้รับการออกแบบภายใต้กรอบแนวคิดของปรัชญาการสึกาาแห่งชาติ อันได้แก่ความมีเอกภาพแห่งชาติ กาศึกษาตลอดชีพ และการพัฒนาปัจเจกชนแบบองค์รวมและบูรณาการซึ่งเป็นอุดมการณ์ที่เกิดจากวัฒนธรรมทงสังคม เสณาฐฏิจ แารเมืองการปกครอง และจากความต้องการของประเทศมาเลเซียในยุคโลกาภิวัตน์ ด้วยเหตุนี้หลักสูตรภาษาอังกฤษของมาเเซียจึงแสดงออกถึงความเป้นชาตอและลักษระทีแกต่างหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรม
            มาเลเซียพยายามปรับหลักสุตรภาษาอังกฤษให้สะท้อผ่านทุกส่ิงทีสะท้อนความเป้นชาติมาเเซีย เช่นลักระดฑาะทางภูมิศาสตร์ วิถีชีิวิตใน้องถ่ิน วิทยาศาสตร์เทพโนโลยี ขณะเดียวกันก็เชื่อมเข้ากับระบบการเรียรุ้แบบสากลที่เน้นผุ้เรียนเป็นสูรย์กลา และเชื่อมเข้ากับการเรียนรู้รอบตัว ซึ่งเป็นฤษฎีการเรียรู้แบบพหุปัญญาที่รัฐบาลมาเลเซียให้ความสำคัญ
            ภาษาอังกฤษได้ถูกผนวกเข้ากับทัการะทงสารสนเทศ มีกิจกรรมการเรียนรุ้สมัยใหม่ที่เรยกว่าการวิจัยเพ่อการวางแผนอนาคตดดยใช้ชุมชนของนักรเียนเป้นแหล่งเรียนรู้ปัญหาและต้นเหตุของปัญหาผ่านการจัดทำโครงงานภาษาอังกฤษ นอกจากนี้หลักสุตรภาษาอังกฤษยังถูกปรับให้เขากับ้องถ่ินแต่ละแห่งที่มีความแตกต่างหลากหลายด้านสังคมและวัฒนธรรม เช่น กรใช้ภาษาอังกฤษในลักษระพิเศษด้วยกาปสมปสานคำที่มีนัยเชิงวัฒนธรรในภาษาแม่และภาาาอังกฤจากงานวิจัยพบว่าแม้หลักสูตรดังกล่วจะมีแนวคิดที่ดีแต่ด้วยปัจจัยหลายด้าน เชน สภาพพื้นี่เมืองและชนบท ผุ้สอนสื่อการเรียนการสอน ทรัพยากร และวัฒนธรรมการเรียนรู้ ก็อาจำให้เกิดอุปสรรคได้
         
- ปัจจัยสำคัญในการสร้างอัตลักษณ์ผ่านระบบการศึกษา
            ความเป็นพหุสังคมในมาเลเซีย ความแตกต่างด้านชาติพันธ์ุ ศาสนาและวัฒนธรรมในมาเลเซียถือว่าเป็นประเด็นที่มีความสำคัีญมากที่สุดของมาเลเซีย เนื่องจากการก่อัวของความเป็นชาติมาเลเซียมิได้เกิดขึ้นด้วยชาวมลายูแต่เพียงอย่างเดียวชาติพันธุ์จีงนและอินเดียต่างก็เป็นอีกสองเชื้อชาติที่มีความสำคัญทางการเมืองและเศราฐกิจของมาเลเซีย ไม่ด้อยไปกว่าชาวมลายูที่เป็นเจ้าของประเทศ ด้วยเหตุนี้ัฐบาลมาเลเซียจึงดำเนินนโยบายด้านความเป้นอันหนึ่งอันเดี่ยวกันของความเป้นชาติอย่างระมัดระวังทั้งนี้เนื่องกจามาเลเซียเคยมีบทเรียนความขัดแย้งด้านเชื้อชาติอย่างรุนแรงเมื่อปี 1969 เนื่องจากรัฐบาลมาเลเซียมองว่าความมั่นคงของประเทศขึ้นอยู่กับความกลมกลืนระหว่างเชื้อชาติมลายู อินเดียและจีนดังนั้น นัฐบาลจึงไห้ความสำคัญกับการสร้างรัฐที่สะท้อนความแตกต่างหลฃากหลายในสังคมผ่านระบบการศึกษาของชาติ ซึ่งถือเป็นเบ้าหลอมสำคัญที่จะทำให้เกิดอุดมการณ์ของคนในชาติแบบเดียวกัน ดดยมองข้ามความแตกต่างทางเชื้อชาติและัศาสนา
          - ความเป็นประเทศที่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาอิสลาม มาเลเซียเป้นประเทศที่มีชาวมลายูมากที่สดเมื่อเปรียบเที่ยบกับเชื้อชาติอื่นใปรเทศดังนั้นศาสนาหลักของประเทศจึงเป้นศาสนาอิสลาม แม้มาเลเซียจะเป้ประเทศที่ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยโดยมีนายกรัฐมนตรและสุลตานในฐานะประมุขแห่งรัฐ และแยกศาสนาอิสลามออกจากการเมืองอย่างชัดเจน(ซึ่งเป็นผลจาการวางระบบการปกครองของอังกฤษ) แต่มาเลเซียก็ไม่ได้ละท้องหลักการของศาสนาอิสลามที่ได้ผนวกหลักทางศาสนาเข้ากับบริบทของชีงิตประจำวันของชามุสลิม ซึ่งตามหลักการหลักาสนาก้คือบทบัญญัติของชีวิตที่ชาวมุสลิมจะต้องปฏิบัติตามโดยเฉาพอย่างยิ่งการเคารพนอบน้อมต่อพระเจ้า การมีจริยธรรมแบะศับธรรมอันดี
           สิ่งที่น่าสนใจคือ รัฐบาลมาเลเซียได้นำแนวคิดทางศาสนาปรับเข้ากับหลักสูตรการศึกษาแบบตะวันตกเพื่อหวังว่าจะสร้างความสมดุลระหว่างเทคโนโลยีและองค์ความรู้สมัยใหม่เข้กับหลักคำสอนศาสนาอิสลามและได้ประกาศแนวทางดังกล่าวเป้นปรัชญาการศึกษาของประเทศเมื่อปี 1979 ในกรณีดังกล่าวมาเลเซียถือว่าประสบความสำเร็จในการนำแนวทางศาสนาของศาศนามาใช้ควบคู่กีบระบบการศึกษาของชาติ โดยไม่ได้กระทบกลุ่มเชื้อชาติอื่นที่ไม่ได้นับถือศาสนาอิสลาม นอกจากนียังแสดงให้เห็นว่ามาเลเซียเป้นประเทศมุสลิมสายกลาง ี่มไ่ปฏิเสธความเป็นสมัยใหม่
          - การเมืองภายในและภายนอกมาเลเซีย ปัจจัยด้านการเมืองทั้งภายในและภายนอกเป็นส่วนสำคัญที่ผลักดันให้มาเลเซียต้องหาเครื่องมือในการสร้างอัตลักาณ์ความเป็นชาติผ่านหลักสูตรการศึกษาไม่แพ้กับปัจจัยอื่นๆ ขช้าต้น ปัจจัยด้านการเมืองภายในที่สำคัญคือการแข่งขนและช่วงชิงอำนาจระหว่างพรรคอัมโน และพรรค PAS พรรคอัมโมเป้ฯพรรคแนวร่วมเชื้อชาติต่างๆ ในมาเลเซียซึ่งผุกขาดการปกครองมานับแต่ได้รัีบเอกราชจากอังกฤษเมื่อปี 1957 อย่างไรก็ตาม ในภายหลังกระแสความนิยมในพรรค PAS ซึ่งมีฐานทีมั่นอยู่ทางตอนเหนือของประเทส เช่น กลันตัน ตรังกานู เปอร์ลิสและสลังงอ ได้เพ่ิมมากขึ้น โดยรรค PAS เป็นพรรคที่ยึดแนวทางด้านศาสนาอสลามเป็ฯหลักในการปกครองและมีอิทธิพลในรัฐทางตอนหเนือประเทศมาเลเซีย
       
ด้วยหตุที่พรรค่ PAS ได้ัอิทธิพลมากขึ้นจากการเน้นแนวทางอิสลาม ทำให้รัีฐบาลมาเลเซียที่มาจากพรรคอัมโม ต้องแข่งขันเลิงนโยลายเพื่อแสดงให้เห็นว่ารัฐบาลให้ความสนใจกับการนำเอาหลักศาสนาอิสลามมาปรับช้กับชีวิตความเป็นอยู่ทั่วไป ทำให้แนวทางเชิงนโยลายสะท้อนผ่านค่านิยมและความเชื่อทางศาสนาไปโดยปริยาย
          นอกจากการเมืองภายในแล้ว กระแสการเมืองระหว่างประเทศก็มีผลต่อการใช้แนวทางอิสลามในการจัดการเรียนการสอนเช่นเดียวกัน กล่าวคือเมื่อปี 1979 อิหร่านสามารถโค่นล้มอำนาจกษัตรยิ์และเปียยนประเทศเป็นรัฐอิสลามสำเร็จ ทำใหเกิดกระแสความนิยมและเลียนแบบการปฏิวัติในอิหร่าน เกิดกระบวนการทำให้เป็นปิสลามพร่กระจายไปทีั่วภูมิภาคต่างๆ ดดยเฉาพประเทศที่มีชาวมุสลิมอาศัยอยู่ประกอบกับการยึดครองอัฟานิสถานของสหภาพโซเวียนในปีเดี่ยวกันทำหใ้เกิดความรู้ึกร่วมของชาวมุสลิมที่รู้นึกว่าถูกเอาเปรียบจามหาอำรสจจนมาสู่การประกาศสงครามทางศาสนา และเหกิดนักรบชาวมุสลิมจากประเทศต่างๆ ที่ไปร่วมรบในสมรภุมิิัฟกานิสถาน ด้วยการะแสการเมืองระหว่างประเทศดังกล่าวรัฐบาลมาเลเซียจึงได้ปรัีบเปลี่ยนปรัชญาการศึกาาและหลักศุตรการศึกษาของชาติให้สอดคล้องกับหลักการศาสนาอสลามเมือปี 1979 เป็นต้นมาhttp://prp.trf.or.th/trf-policy-brief/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B9%83/

วันอังคารที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

ASEAN Committee on Culture and Information : ASEAN-COCI

            นับเป็นเวลาเกือบ 40 ปี ที่ประเทศไทยมีควาร่วมมือทางด้านวัฒนธรรมกับประเทศต่างๆ ใอาเซียนผ่านกลไกความร่วมมือของคณะกรรมการอาเซียนว่าด้วยวัฒนธรรมและสนเทศ โดยมีผลงานที่สำคัญในการเผยแพร่เพื่อสร้างความรู้และความเข้าใจให้กับบุคคลทั่วไปเกี่ยวกับวัฒธรรมของอาเซียน ได้แก่การรวบรวมและจัดทำหนังสือเพื่อเป็นการเผยแพร่องค์ความรู้ด้ารวัฒนธรรมที่ได้มีการค้นคว้าและรวบรวมเอาไว้ ซึ่งครอบคลุมมิติต่าง ๆทางวัฒนธรรม ได้แก่ วรรณกรรม อาเซียนศึกษา ประวัติศาสตร์ โบราณคดี ศิลปะร่วมสมัย มรดกทางวัฒนธรรม ฯลฯ ดังนี้
          1 งานด้านวรรณกรรม เป็นการรวบรวมวรรณกรรมประเทสต่างๆ ทั้งงานวรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณกรรมศษสนา วรรณกรรมการเมือง งานด้านประวัติศาสตร์ ซึ่งแสดงให้เห็นวิถีชีวิตในแต่ละยุคสมัย ของผุ้คนในที่ต่างๆ ที่มีควมหลากหลายทางวัฒนธรรม ตลอดจนเห้นถึงพัฒนากรของงานวรรณกรรมในอาเซียน
           2 งานอาเซียน เป็ฯการรวบรวมเพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับประสบการณ์ด้านการจัดการทางวัฒนธรรมของประเทศในอาเวียนโดยเฉพาะงานด้านพิพุิธภัณฑ์ ตลอดจนงานึกาาเกี่ยวกับสื่อในอาเซียนทั้งในแง่ของประเภท รูปแบบ ตลอดจนการวิเคราะห์ถึงความสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมวัฒนธรรมในอาเวียน นอกจากนี้ ยังรอบรวมงานศึกาาบางส่วนเกี่ยวกับพัฒนากาและการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในอาเซียน
       
3 งานด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี เป้นงานเกี่ยวกับการนำเสอนประวัติศาสตร์ของประเทศในอาเว๊ยน ตอลดจนพัฒนาการที่สำคัญของอารยธรรมต่าง ๆผ่านทางรูปแบบสถาบปัตยกรรมโบราณ การรวมรวมประวัติศาสรตืของพัฒนาการของอาเวีนผ่านคำบอกเล่าจากบุคคลสำคัญจากประเทศต่างๆ ที่มีบทบาทสำคัญในการทำงานและกำหนดนโยบายของอาเว๊ยน นอกจากนี้ ยังมีการศึกาาและแลกเปียนประสบการ์ด้านงานโบราณคดีทั้งงานด้านอนุรักษณ์และงานฟื้นฟู
          4 งานด้านศิลปะร่วมสมัย เป้ฯการรวบรวมศิลปะสมัยใหม่ที่เกิดขึ้นในอาเว๊ยน ซึ่งเป้นผลจากกาต่อยอดพื้นฐานมรดกทางวัฒนธรรมเดิมที่มีอยู่ ร่วมกับการับและประยุต์ใช้วัฒนธรรมจากภายนอก กลายเป็นรูปแบบศิลปะร่วมสมัยของอาเซียนในปัจจุบัน ได้แก่ การรวบรวมบทละครที่สำคัญของประเทสต่างๆ มหรสพและการละคร ตลอดจรงานด้านภาพยนตร์
          5 งานด้านมรดกวัฒนธรรม เป้นงานรวบรวมและศึกษาวัฒนธรรมดังเดิมของประเทศในอาเซียน อาทิ ดรจรี ศิลปะและหัตภกรรม การละเล่นพื้นเมือง อาหาร และเทศกาลประเพณีต่างๆ ตลอดจนศึกาาถึงลักษณะนิสัยของผุ้คนในอาเซียนที่มีร่วมกัน เช่น ลักษณะของอัธยาศัยไม่ตรี เป้นต้น
          นับเป็นความสำเร็จ ของ ASEAN-COCI ที่ได้ดำเนินกิจกรรมมากว่า 35 ปี และสามารถสั่งสมองค์ความรู่ซึ่งตรอบคลุมสาขาและความเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในอาเวียน อย่างไรก็ดี การรวบรวมองค์ความรู้ดังกล่าวส่วนใหย่ครอบคลุมเฉพาะกลุ่มประเทศในระยะเริ่มก่อตั้งอาเซียน ได้แก่ อินโดนีเซีน มาลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย รวมถึงบรูไนดารุสซาลาม ในขณะที่ประเทศสมาชิกใหม่ของอาเซียน ได้แก่ กัมพุชา ลาว พม่า และเวียดนาม จะีการรวบรวมข้อมุลทางวัฒนธรรมได้น้อยกว่า กลุ่มแรก ซึ่งประเทศเหล่านี้ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในแถบภาคพื้นทวีป และเป็นกลุ่มประเทศที่มีความคล้ายคลึงกันทางวัฒนธรรม และมีควมแกต่างจากกลุ่มประเทศในแถบภาคพื้นสมุทร
          ดังนั้น แม้องค์ความรู้ที่มีจะคอบคลุมหัวข้อทางวัฒนธรรมที่สำัย หากแต่ยังำม่สามารถให้ภาพรวมทั้งหมดของวัฒนธรรมทีเป็นตัวแทนของวัฒนธรรมอาเซียนได้ การทำงานในระยะต่อไปเกี่ยวกับเรื่องของการรวบรวมองค์ความรู้นั้นจึงควรที่จะให้ความสำคัญกับการสนับสนุนให้ประเทศในแถบภาคพื้นทวีปเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น เพื่อพัฒนาองค์ความรุ้ทีมีอยุ่ในสามารถเป้นจัวแทนภาพของอาเซียนอย่างแท้จริง และเป็นฐานที่แข็งแกร่งสู่การสร้างอัตลักษณ์อาเซีญนในอนาคต
       
นอกจากการพัฒนาด้านองค์ความรุ้แล้ว การทำงานในระยะต่ไปควรให้ความสำคัญกับการพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้เหล่านี้ เพื่อตอบโจทย์ยุทธศสตร์ของการเข้าสูประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียน โดยเฉพาะในแผนงานสร้างอัตลักาณ์อาเซียน ซึ่งเป็นภารกิจทีสำคัญของกระทรงวัฒนธรรม ดังนี้
          - การส่งเาริมการตระหนักรับรู้เกี่ยวกับอาเซียนและความรุ้สึกของการเป็นประชาคม การต่อยอองค์ความรู้ที่มีโดยการประชสัมพันธ์และจัดการถ่ายทอดองค์ความรู้เหล่านี้ต่อประชาชนดดยทั่วไป เพื่อทำให้เกิดความรับรุ้และความเข้าใจที่ถุกต้องของประชาชนเกี่ยวักบวัฒนธรรมของประเทศอื่นๆ ในอาเซียนความรับรู้และความเข้าใจดังลกาวจะเป้นขั้นอนที่สำคัญของการยอมรับและเข้าใจความแตกต่างทางวัฒนธรรมที่มีอยุ่ ซึ่งเป้นความจริงที่ไม่สามารถปฏิเสธได้ของอาเซียน และเป็นก้าวแรกสู่การอยูร่วมในประชาคมและสร้างความรู้สึกของการเป็นประชาคมร่วมกันในอนาคต
          - การอนุรักษณ์และส่งเสริมมรดกทางวัฒนธรรรมของอาเซียน การรวบรวมองค์ความรู้ที่ผ่านมาถือเป็นงานสำคัญของการอนุรักษณ์มรดกทางวัฒนะรรม ซึ่งถือว่าเป็นงานที่ ASEAN-COCI ได้ให้การสนับสนุนมากที่สุดอย่างไรก็ดี ที่ผ่านมาการทำงานยังอยู่ในขั้นของการรวบรวมข้อมูลทางวัฒนธรรมที่มีอยู่เท่านั้น การทำงานในระยะยถัดไปจึงควรให้ความสำคัญกับการศึกษาถึงระบบวิธีคิดและแบบแผนทางวัฒนธรรในอดีต ตลอดจนความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน เพื่อทำความเข้าใจกับพลวัตรของวัฒนธรรมอาเซียน เพื่อเป็นประโยชน์ในการกำหนดทิศทางและนโยบายทางวัฒนธรรมในแง่ของการสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมดั้งเดิมเพื่อให้ดำรงอยู่ได้ท่ามกลางการเปลียนแปลง         - ส่งเสริมการส้างสรรค์ดานวัฒนธรรมและอุตสาหกรรม ข้อมูลทางวัฒนธรรมทีได้รวบรวมไว้วามารถเป็นพื้นฐานสำคัญในการต่อยอดธุรกิจเชิงวฒนธรรม ทั้งในแง่ของการสร้างสรรค์สินค้าทางวัฒนธรรมหรือการสร้างแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมใหม่ๆ เป็นต้น อย่างไรก็ดี การจะสามารถนำองค์ความรู้ที่มีไปสู่ผลในทางปฏิบัติได้นั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการสร้างเครือข่ายภาคีจากภาคธุรกิจเอกชนและภาคประชสังคม ในฐานะผุ้ดำเนินการและร่วมรับผลประโยชน์ที่แ้จริงของการดำเนินงาน ดังนั้น การดำเนินการในระยะต่อไป จึงควรเน้นที่การสร้างเครือข่ายภาคีทางวัฒนธรรมที่ไม่จำกัดเฉพาะในหนวงานภาครัฐเท่าัน หากแต่ควรขยายขอบเขตไปสู่ภาคธุรกิจเอกชนและภาคประชาสังคมด้วย...

               
                     บางส่วนจาก..รายงานการศึกษาส่วนบุคคล เรื่อง "แยผยุทธศาสตร์กระทรวงวัฒนธรรมในการเตียมความพร้อสู่ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน" จัดทำโดย นางสาวดารุณี ธรรมโพธิ์ดล, หลักสูตรนักบริหารกาทูต สภาบันการต่างประเทศเทวะวงศ์วโรปการ กรทรงการต่างประเทศ, 2556.

              การสร้างอัตลักษณ์อาเซียนเป็นหนึ่งใน 6 วัตถุประสงค์หลักในการดำเนินการตามกรอบประชาคมอาเซียนด้านประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน นอกเหนือจากการพัมนาทรัพยากรมนุษย์ การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม ความยุติะรรมและสิทธิ การส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมและการลดข่องว่างทางการพัฒนา ทั้งนี้ การติดตามผลความก้าวหน้าการดำเนินการสามารถศึกษาได้จากรายงาน ซึ่งได้มีการวัดผลความก้าวหน้าตามแผยงานประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 2016-2025 ผ่านการประเมินผลดัชนีชี้วัดเชิงปริมาณและเชงคุณภาพถภึง 208 ตัวชี้วัด
             
การสร้างอัตลักษณ์อาเซียนนั้นมุ่งเน้นในเรื่องของการส่งเสริมการตะหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียนและความรุ้สึกของการเป็นประชาคมอาเซียนการปนุรักษ์และส่งเสริมมรดกทางวัฒนธรรม การส่งเสริมการสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรมและอุตสาหกรรม และการมีส่วนเกี่ยวข้องกับชุมชน ของประเทศในกลุ่มอาเวียน ซึงผลรายงานล่าสุดพบว่า ค่อนข้างประสบความสำเร็จเป้อย่างมากโดยเแฑาะอย่างยิ่งในปะเด้นการส่งเสริมการตระหนักรับรู้เกี่ยวกับอาเวียนและความรู้สึกของการป็นประชาคม
              ผลจากการสำรวจทัศนคติในช่วงปี 2014 โดยความร่วมมือ อินสติทิวส์ ออฟ เซอท์อีสท์ เอเซย สตัดดี้ อิน คอลลอโบเรชั่น และ อาเซียน ฟันด์เดชั่น สำรวจจากกระหนักรู้และทัศนคติของเยาวชนต่ออาเซียน ดดยสำรวจจากนักศึกษาระดับปริญญาตรีใน 10 ชาติอาเซียน จำนวน 4,623 คน เพื่อวัดทัศนคติและความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอาเซียน พบว่ เยาชนส่วนใหย่มีทัศนคติในทงบวกต่อการรวมกลุ่ม โดยมากกว่า ร้อยละ 80 เห็นด้วยกับประโยคที่ว่า "ไอ ฟิล ไอ แอม อ ซิติเซ็น ออก อาเซียน" ซึ่งสะท้อนถึงความตระหนักรู้และทัศนคติที่ดีมากต่ออาเวียนของเยาวชนในภูมิภาคซึ่งผลการสำรวจนี้ก็สอดคล้องกับการสำรวจ ซึ่งเน้นสำรวจทัศนคติการตะหนักรู้ของภาคธุรกิจ หน่วยงานราชการ และสาธารณชน ในประเด็นการริ่เร่ิมสรค้างความรุ้สึกการเป็นปรชาคมอเซียนวึ่งผลการสำรวจพบว่าร้อยละ 81 มีความคุ้นเคยกับเชื่ออาเซียนและมีทัศนคติว่า การรวมกลุ่มนันจะส่งผลกระทบทางบวกต่อชาติอาเวียน
              ความสำเร็จที่น่ากล่าวถึงอีกประเด็นหนึงคื อการอนุรักษรืและส่งเสริมมรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน โดยพบวา ปัจจุบันอาเว๊ยมีแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมที่ได้รับการขึ้นทะเพบียนกับองค์การการศึกาา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ  (ยูเนสโก) มากกว่า 20 ปแห่ง ซึ่งภายในอาเวียนเองมีความหลากหลาย มีความเป้นเอกลักษณ์สะท้อนวัฒนธรรมของเาซียน ยกตัวอย่างเช่น เมื่องพระนคร (อังกอร์) ในกัมพูชา หลวงพระบางในลาว หมู่โบราณสภานเมืองเว้ว้ในเวียดนาม เป็นต้น
              นอกจากนั้นแล้ว ในส่วนภาพรวมผลสำเร็จการดำเนินงานความร่วมมือด้านวัฒธรรม และสนเทศอาเซียนพิจารณาจากผลงานของคณะกรรมการอาเวียนว่าด้วยวัฒนธรรมและสนเท รหือ ASEAN-COCI ก็มีความเป็นรูปธรรมและหลากหลาย ยกตัวอย่งเช่น หนังสือเด็ก ผลงานวิชาการเอกสารสิ่งพิมพ์ เพื่อเผยแพร่วัฒนธรรมของอาเวียนนิทรรศการจิตรกรรมร่วมสมัยซึ่งจัดแสดงในประเทศต่างๆ นอกอาเวียน และปฏิญญาญาอาเซียน่ว่าด้วยมรดกวัฒนธรรม เพื่อนุรักษรืและพัฒนามรดกวัฒนะรรมของประเทศสมาชิก เป็นต้น...
            ที่มา http://www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=6677&filename=index

วันจันทร์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

Cultural Production

            (กาจนา แก้วเทพ และสมสุข หินวิมาน) ได้อธิบายแนวคิดเรื่องการปลิตทางวัตถุองมาร์กเพ่ิมเติมว่าไ่เพียงแต่วัตถุท่านั้นที่ต้องมีการผลิต แม้แต่วัฒนธรรม อุดมการ์จิตสำนึกก็ต้องผ่านกระบวนการผลตเช่นเดียวกัน โดยวัฒนธรรมแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ วัมนธรรมที่มีชีวิตอยู่ หมายถึงวัฒนธรรมทุกอย่งอยู่ในช่วงเวลาหนึง สถานที่หนึ่งและเฉพาะคนที่มีชีวิตอยุ่ใยช่วงเวลานั้นเท่านั้นที่จะเข้าถึงและสัมผัสวัฒนธรรมดังกล่าวได้ และ วัฒนธรรมที่ได้รับการบันทถกไว้ หมายถคง บางส่วนของวัฒนธรรมที่ีชีวิตอยุ่และได้รับการบันทุกหรือผลิตซ้ำเพื่อสืบทอดต่อมา หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "วัฒนะรรมแห่งยุคสมัย" ซึ่งถื่อเป็นส่วนหนึ่งขง "ประเพณีในการเลือกสรร" เนื่องจากว่าในชีวิตประจำวันอขงคนเรามีวัฒนธรรมทีถูกสร้างขึ้นใหม๋ตลอดเวลา แต่ประเพณีในการเลือกสรรจะทำหน้าที่คัดเลือกให้วัฒนะรรมบางอย่างถุกผลิตซำ้ให้มีชีวิตยืนยาวต่อไปและทุกครั้งที่มีประเพณีในการเลือกสรรเกิดขึ้น จะมีการตีความหมายให้กับวัฒนะรรมที่จะถุกบันทึกไว้เสมอ ทั้งนี้สถาบันหรือบุคคลที่มีอำนาจจะเป้ฯผุ้ชี้ขาดความยืนยงของวัฒนธรรมและแต่ละกลุ่ม
             จากการนำเสอนความมหายของการผลิตซื้ำทางวัฒนธรรมดามแนวคิดของนักวิชาการดังกลร่าวข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า การผลิตซ้ำทางวัฒนธรรม หมายยถึงการปกป้อง ดำรงรัษาหรือเพ่ิมพุนวัฒนธรรมที่มีการผิตขึ้นในกลุ่มสังคม เมื่อเกิดการผลิตและสร้างควมมหายทางวัฒนธรรมใหม่ขึ้นม สาชิกจะทำการคัดลือกความคิด ความเชื่อ ค่านิยมหรือการปฎิบัติที่เหมาะสมและทำการผลิตซ้ำด้วยวิะีการต่างๆ จนเกิดการยอมรับเป็นบรรทัดฐานเพื่อการอยุ่ร่วมกันแสดงถึงความเป้ฯหนึ่งเดี่ยวของกลุ่ม สร้างคามแกต่างระหว่างกลุ่ม วัฒนธรรมใดที่มีการผลติขึ้นแล้วไม่ได้รับการอมรับ วัฒนธรรมนั้นก็จะตายไปในที่สุด ทั้งนี้ สถาบันยหนอบุคคลที่มีอำนาจจะเป็นผุ้ชี้ขาดความยืนยงของวัฒนธรรมและแต่ละกลุ่มสังคมก็จะมีแนวทางปฏิบัติด้านวัฒนธรรมแตกต่างกัน
             การผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมเป็นความสัมพันะขององค์ประกอบการผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมทั้งในระดับที่เป็นนามธรรมและรูปธรรม ประกอบไปด้วยผู้ผลิตวัฒนธรรม เนื้อหาสาระ สถานที่สื่อที่ใช้ในการนืบทอดและผุ้มีส่วนเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม การผลิตซ้ำทางวัฒธรรมจึงเกิดการสื่อสารขึ้นเพื่อสืบทอดหรอืขยายผุ้เผยแพร่วัฒนธรรมเพ่ิมช่องทางในการสื่อสารทางวัมนธรรมและเพิ่มสมาชิกใหม่ในองค์การ การผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมจะมีความหมายสมบูรณืก็ต่อเมื่อเป็นการผลิตซ้ำที่มีรหัส ความหมายหรือความเชื่อบางประการแผงอยู่เบื้องหลัง ดังนั้น กาญจนรา แก้วเทพ และสมสุขหินวิมา จึงเสนอแนวทางการศึกษากระบวนการผลิตและผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมซึ่งมีองค์ประกอบ 4 ด้าน ได้แก่ การผลิต การเผยแพร่ การบริโภคและการผลิตซ้ำ ซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการศึกษาวัมนธรรมองค์การ โดยพิจารณาว่าวัฒนธรรมในองค์การถูกผลิตขึ้นมาได้อย่างไร ใครเป็นผู้ผลติวัฒนธรรม วัฒนธรรมดังกล่าวมีการเผยแพร่หรือสื่อสารในองค์การอย่างไร สมาชิกในกลุ่มรับรู้และข้าใจวัฒนธรรมเหล่านี้อย่างไร อีกทั้งสมาชิกในกลุ่มมีวิธีการผลิตซ้ำวัฒนธรรมองค์การอย่างไร 
            การญจนา แก้วเทพ และสมสนุข หินวิมาน จะได้ให้แนวทางในการวิเคราะห์กระบวนการผลิตและผลิตซ้ำทางวัฒนธรรม อะิบายเพ่ิมเติมถึงกระบวการผลิตและผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมทั้ง 4 ด้านดังนี้
            1. ด้านการผลติ คือการพิจารณาว่าวัฒนธรรมได้รับการผลิตและสร้างความหมายขึ้นมาได้อย่างไร ใครเป็นผู้ผลิตทางวัฒนธรรม ผุ้ผลิตสร้างสัญลักษณ์หรือสิ่งประดิษฐ์ทางวัฒนธรรมอย่างไรทั้งนี้ กริสเวิร์ล ได้อธิบายว่าการผลิตวัฒนธรรมทีความสัมพันะ์กับการเปลี่ยนแผลงสภาพแวดล้อมภายนอกองค์กา เช่น ระบบการตลาด ผุ้ซื้อผู้บริโภค ผุ้ที่มีอำนาจทางการตลาด รวมทั้งโครงสร้างทางการเมือง สงคมและวัฒนธรรม ผุ้ผลิตวัฒนธรรมจะำทการตรวจสอบสภพแวดล้อมอย่งรอบคอลเพื่อที่จะผลิตวัมนธรรมให้มีความสอดคล้องกับความต้องการของผุ้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อต่อสุกับคู่เข่งขัน การผลิตวัฒนธรรมจะนำไปสู่การสร้างความมาหยยองวัตถุทาง วัฒนธรรม โดยากรสร้างความหาายทางวัฒฯธรรมต้องอาศัยอความเข้าใจที่ตรงกันทั้งผุ้ผลิตเลแะผุ้รั้บด้วย
สวยดอก: การผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมหัตถศิลป์งานใบตองล้านนา
           2. ด้านการเผยแพร่ คือการพิจารณาว่าผุผลิตวัฒนะรรมดำเนินการเผยแพร่วัฒนธรรมให้เป็นที่รับรู้กันในองค์การอย่งไร โดยกล่าวถึงการเผยแพร่วัฒนธรรมว่าเกิดมาจากการที่แต่ละกลุ่มสังคพยายามที่จะผลติวัฒนธรรให้เป้นของตนเอง ดังนั้นึงทำให้ผุ้ผลิตวันธรรมและสมาชิกในกลุ่มร่วมกันสร้างความหายและวิ๔ีทางการับรู้วัถุทางวันธรรม และดำเนินการแบ่งปันความหายทางวัฒนรรมที่มีอยุ่ด้วยวิธิการต่างๆ ให้เป็นทีรัรุกันภายในหลุ่ ซึ่งอาจจะทำใ้เกิผลประดยชน์หรือเป้นอุปสรรคตอการขับเคลื่อนกลุ่มก็ได้ การเผยแพร่วัฒนธรรมเนกิจกรรมการแลกเปลี่ยนความรุ้ในระดับปัเจจกบุคคล ระดับกลุ่มย่อยและระพับกลุ่มใหญ่ของสมาชิกทั้งหมดในกลุ่ม เพื่อให้สมาชิกในกลุ่มรับรุ้ความหมายทางวัฒนธรรมขององค์การ ผุ้ผลิตวัฒนะรรมจะดำเนินการกระตุ้นเตือนให้สมาชิกในกลุ่มประพฤติตามเป้าหมายเสมอ
           3.ด้านการบริโภค คือการพิจารษว่าสมาชิกในกลุ่มบริโภคหรือรับรุวัฒนธรรมที่ถุกเผยแพร่อย่งำร และความมหายของวัฒนธรรมทีสมาชิกในกลุ่มรับปรุ้มีการเปลี่ยนแปลงจากส่ิงที่ผุ้ผลิตวัฒนธรรม ได้สร้างขึ้นไว้อย่งไรบ้างทั้งนี้การับรุ้ของปัจเจกบุคคลเกี่ยวช้องกับการรับรุ้ทางสังคม ในฐานุสมาชิกของกลุ่มี่เข้าไปมีสวนร่วม ซึงเกิดข้นมาจากการเสื่อสารระหว่งบุคคลอันจะทำให้เกิดความคิดที่แตกต่างเมื่อมาร่วมอยุ่กันเป้นหมุคณะ เนื่อจากการคับรุ้ท่างสังคมที่มีมาจากความสนใจเแพาะส่วยบุคคล อารมณ์ความรุ้สึกและการทำความเข้าใจความาหยจาสัญลักษรืหรือวัตถุที่รัีบรุ้และมองเห้นความแตกต่างของระดับชนชั้นในใัีงคมและประสบการณ์ที่สะสมมาจะส่งผลให้แต่ละคนมีการับรุ้ทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน 
          4. ด้านการผลติซ้ำคือการพิจารณาว่าวัฒนธรรมถูกผลิตซ้ำต่อเนื่องเพื่อให้ดำรงอยุ่อย่างไรทั้งน การผลิตซ้ำความมีความเกี่ยข้องกับการสื่อสารทางวัฒนธรรมซึงมีผลต่อการับรุ้ความหายทางวัฒนธรรมโดยเทคโนโลี กลุ่มคนและสัคมความสัมพันะ์ต่อการสร้างและการเปลี่ยนแปลงอัตลักษณ์ของกลุ่มเพราะสมาชิกในกลุ่มมีการแลกเปลียนข้อมุลข้าวสารและความรุ้ทางวัฒนธรรมตลอดเวลาซึ่งการผลิตซำสาารถทำได้โดยากรสื่อสารผ่านตัวบุคคลหรือการใช้สื่อเทคโนโลนีด้วยวิธีต่างๆ...

               " การสืบทอดอัตลักษณ์ของคนอีสานในชุมชนตำบลสะตอน อ.สอยดาว จ.จันทบุรี" ภาคนิพนธ์  ของ สุทธิ กาบพิลา ปริญญารัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี, มิถุนายน 2558.
              




Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...