แม้ว่าจะมีความแกต่างกันในการกำหนดแนวคิดและอัตลักษณ์ของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้แต่ก็เป็นที่ยอมรับร่วมกันวว่า มีลักาณะสำคัญทางสังคมและวัฒนธรรมที่เป็นลักษณะร่วมของประเทศตางๆ ในภูมิภาคนี้มากพอที่จะแดงให้เห็ฯลักษณเฉพาะที่แตกต่างไปจากจีน และอินเดีย ถึงแม้ว่าจะไม่ถึงระดับทีจะบอกได้ว่าเป้นลกัษระที่มีร่วมกันของทั้ง 10 ประเทศในภูมิภาคที่มีขอบเขตที่ชัดเจนโดดเด่นและไม่มีข้อโต้แย้งใดๆ ได้ก็ตาม ลักาณะทางสังคมและวัฒนธรรมเหล่านี้นับเป้นลักาณะเฉาพะของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยแท้ แม้จะรับัฒนธรรมจากจีน และอินเดีย สังคมต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเแียวใต้ได้เลือกรับและประยุกต์วัฒนธรรมให้เข้ากับลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมดั้งเดิมของตนเพื่อจุดมุ่งหมายเแฑาะที่เหมาะสมกับผุ้คนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น แม้จะอยู่ภายใต้วัฒนธรรม ฮินดูของอินเดีย แต่ระบบวรรณะไม่ปรากฎในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือแม้แต่ศิลปกรรม หรือการรนัยถือเทพเจ้าต่างๆ ของฮินดูก็ถูกดัดแปลงให้เข้ากับความเชื่อและพิธีกรรมดั้งเดิมของชนพื้นเมืองนอกจากนี้จากหลักฐานทางโบราณคดี และทาง
มนุษยวิทยาพบว่า การเพาะปูลกและการใช้ดลหะในแถบนี้มีอายุนานกว่าที่เคยคาดการณืไว้มาก "กล่าวอีนัยหนึ่ง ภุมิภาคนี้หาใช่ดินแดนล้าหลังที่รับอารยธรรมจากเพื่อบ้านในเขตคใกล้เคียง แต่เป็นดินแดนที่มีกการแรดิษญ์คิดค้นและพัฒนาการของตนเองที่มีเนื้อหาสาระและรูปแบบของวัฒนธรรมร่วมที่แพร่หลายไปตลอดทั้งภูมิภาคตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์และลหังประวัติศาสรตร์จนถึงประมาณรหนึ่งพันปีหลังคริสตกาลที่อิทะิพลของอินเดียเร่ิมปรากฎชัด
ภาษาศาสตร์ นักภาษาศาสตร์พบว่าภาษาที่ใช้พุดในบรรดาชนพื้นเมืองในหมู่เกาะต่างๆ อยู่ในกลุ่ม ออสโตนีเซียน แพร่หลายอยู่ในหมู่เกาะมาลายู-อินโดนีเซียตั้งแต่ สามหมื่นปีกอ่นคริสกาล เข้าสู่อาณาจักรจามปา ร่วมั้งหมู่เกาะมาดากัสการ์เมือประมาณ สองพันกว่าปี มาแล้ว ภาษาดังกล่าวเป้นต้น
ตระกูลของภาษาที่ใช้ในมาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์(ตากาล็อก) รวมทั้งภาคใต้ของไทย เวียดนาม และเขมร
ในแผ่นดินให่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รูปแบบภาษามีลักษระซับซ้อนขึ้น แต่กลุ่มภาษาไต-กะได ใช้พุดกันอย่างแพร่หลายในประเทศไทย รัฐฉานพม่า ลาว ภาคใต้ของจีน และทางเหนือของเขมร เวียดนาม และมาเลเซีย กลุ่มภาษาหลักอีกกลุ่มหนึ่งคือ ออสโตรเอเชียติด เป็นภาษาพูดของชาวเวียดนาม เขมร มอญ และชาวเขาบางกลุ่มทางเหนือของพม่า เวียดนาม และลาว รวมท้งชนพื้นเมืองในแหลมมลายู ส่วนกลุ่มภาษาจีน-ธิเบต ใช้พูดในหมู่คนพม่า และชาวเขากลุ่มต่างๆ ในพม่า และประเทศเพื่อบ้านของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งอินเดียตอนเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ บังคลาเทศ ภาคใต้ของธิเบสและเนปาล

ออกเฉียงใต้มีบทบามสุในกิจการของครัวเรือนและในการตัดสินในเรื่องการทำการเกษตรและการต้าดดยทั่วไปเาจะพบลักษณะของการจัดระเบยบเครือญาติแบบ 2 สาย ในสังคมที่ยอุ่ยนที่ราบบนผืนแผ่นดินใหญ่ และชาวเขาของเกาะบอร์เนียวและฟิลิปปินส์ แต่เราก็ยังพบว่า มี่ส่วนหนึ่ง แม้จะเป็นส่วนน้อยที่อาศัยอยุ่ยนเทือกเขาในแผ่นดินใหญ่ และหมู่เกาะสุมาตรา และภาคตะวันออกของอินโดนีเซียที่การจัดระเบียบทางเครือญาตเป็นการสืบายเดียวและมีกลุ่มโคตรวงศ์เดีวยกัน...
อย่างไรก็ตาม อัตลักษณ์ร่วทางสังคมและวัฒนธรรมเหล่านี้หาได้ซ้อนทับกับขอบเขตทางภุมิศาสตร์ การเมือง หรือสามารถกำหนดขอบเขตของภุมิภาคทงสังคมและวัฒนธรรมได้อย่างชัดเจน ลักษณธทางภาษาเป็นต้น อาจครอบคลุมประชากรและดินแดนกว้างไกลไปกว่าเขตแดนของเอเชยตะวันออกเฉียงใต้ ทั้งนี้ขึ้นอยุ่กับว่าเราจะใช้เกณฑ์อะไรมากำหนดความเป็นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มากกว่าในโลกยุคโลกาภิวัตน์ และการเกิดสมาคมอาเซียนเพื่อเศรษบกิจและการต้าของภุมิภาคนั้น เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แน่นอนแยกจากภูมิภาคอื่น และมีอัตลักษณ์ของตนเอง ที่โดดเด่นในเวทีากรเมืองและเศรษฐกิจโลก...
- บทความ "อัตลักษณ์และความหลากหลายทางวัฒนธรรมของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้" โดย ปีรชา คุวินทร์พันธุ์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น