Teacher : A Tap Root of Nation Identity

             ครู : วิถีแห่งการสร้างอัตลักาณ์ของขาติ
             การศึุกษาไทยจำเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องทำให้ครูมีความรู้สึกผุกพันและหยั่งรากลึคกลงไปในทุกพื้นที่ท้ังในเขตที่อุดมสมบูรณ์ (เขตเมือง) และเขตที่แห้งแล้ง (เขตชนบท) เพราะเป้าหมายของความจริงสูงสุด คือ ความรุ้และธรรมะ ซึ่งความรุ้นั้นเป็นความรุ้มี่สามารถนำมาเป้นหางเสือและปรับใช้ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตประจำวันได้โดยไม่ต้องเกิดสภาวะคับข้องใจหตรือสภาวะทางเลหือก ส่วนะรรมะจเป็นการให้ตระหนักและรับรู้ำด้อย่างเด่นชัดว่า ชีวิตมีคุณค่าและมีความหมายซึ่งทั้งความรุ้และะรรมะนี้ต่างต้งมีครุเป้นผุ้ให้ "ส่วนผสม" นี้เพื่อก่อให้เกิดเป็เนื้อเดีวกัน ฉะนั้น วิถีของการสร้างชาติจึงควรมีทิศทางดังนี้
           1 การลุ่มลึกถึงวิธีสอนของการสร้าฝชาตินิยมครุจำเป็นต้องศึกษาและสร้างกระบวนการและคุณค่่าแห่งวิชาพลเมืองศึกษาและสร้างกระบวนการและคุณค่าแห่งวิชาพลเมืองศักษา ให้เกิดการสำนึกรวมกัน ไม่ว่าจะมีชาติพันธ์ ฐานคติ ความเชื่อ ศาสนา ชนชั้น หรือแม้แต่วัฒนวิถีแห่งตนเอง ต้องสอนให้เกิดความรุ้สึกและความสำนึกของความเป็นเนื้อเดียวกันในความเป้นชาติ ครุจะต้องหล่อหลอมรวม "ความเป้นวัฒนธรรมต่างสี" ลดความต่างสร้างความเหมือน" ทำให้เกิดการก่อรูปแหบ่งความเป็นเอกภาพได้ ซึ่งถือว่าเป็นภารกิจอันทรงเกี่ยต์ในการสร้างชาติ
           2 ความมั่งคั่งทางสติปัญญา ครุจะต้องเป็นตัวกระตุ้นในการที่จะดึงและส่งเสริม "ทุนทางปัญญา" ของลูกศิษย์เพื่อที่จะให้ผลผลติเหล่านี้ได้มีความสามารถ มีศักยภาพ และมีสมรรถนะ ในการผลิตความรุ้ใหม่และการสร้างสรรค์ผลผลิตในด้านต่างๆ ซึ่งจะเป็นส่วนหนึ่งในการส้าความมั่งคั่งและความสั่นคงทางเศรษฐกิจต่อประเทศชาติได้
           3 รื้อฟื้นบ่มเพาอจิตวิญญาณแห่งความสัมพันะ์ระหว่างครูกับศิษย์ จิตวิญญาณแห่งการสอน ครุจะต้องทลายกำแพงการเรียนรู้แบบเก่าให้เกิดสภาวะการเรียรู้พร้อมกันและร่วมกัน สร้างความสมดุลระหว่างการรับรุ้เนื่อหา และการนำไปใช้ได้อย่างชัดเจน ซึ่งแก่นแกนเหล่านี้จะกลายเป็นสารัตถุแหงระบบการศึกษาเชิงคุณค่า โดยอัตโนมัติ
         
จากประวัติศาสตร์ รัฐชาติไทยมีการปรับเปลี่ยนตนเองอย่างรวดเร็ว ซึ่งการอภิวัฒน์อย่างเป็นทางการนี้มีมาตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จจพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งถอืได้ว่าประเทศไทย ได้สร้างดลกสมัยใหม่ให้กับบริบททางการศึกษาดดยภาพฉายที่ชัดเจน เมื่อมการประกาศใช้ดครงการการศึกษาฉบับแรกปี พ.ศ.2441 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน การปรับเปลี่ยนนี้เป้นไปด้วยเหตุแห่งฐานคติที่จะต้องปกป้องและรักษาความเป็นชาติ และมีกานส่งผ่านบริบทของการศึกษาโดยมีครูเป็นผู้ปลูกฝังในการ "ลงรหัส" ในความมหายแห่งรัฐ และความเป็นชาติที่สอดคล้องกัน พลเมืองที่เกิดจากการอบรมขัดเกลาและสังสอนในโรงเรียนนั้น จะต้องมีควารู้สึกว่าเป็นชาติเดียวกันหรือเป็นพวกพ้องเดี่ยวกันอัจะก่อให้เดิดความมั่นคงและเสถียรภาพในรัฐนั้นฉะนั้เนการสร้างชาติดดยากรปลูกฝังความเป็นชาติของครู จำเป็นจะต้องมีองค์ประกอบ 2 ประการ คือ การสร้างชาติโดยการสร้างประวัติศาสตร์ร่วมกัน และการสร้างชาติดดยการสร้าฝสัญลักษณ์ร่วมกัน ซึ่งองค์ประกอบทั้งสองนี้จะหลอมรวมเป้นการสร้างอัตลักษณ์ของชขาติได้เป็ยอน่างดี ฉะนั้น บทสรุปที่ได้จากบทตั้งทางการศึกษาคือ ความสามารถในการดำเนินการสร้างชาติดยมีกระบวนการส่งฝผ่านดังนี้
         1 นโยบายของรัฐชาติ ต้องกลับมาฟื้นฟูวิชาหน้าที่พลเมือง หรอืวิชาพลเมืองศึกษาใหม่ รัฐบาลต้องมีการกำหนดหรือจะต้องสถาปนาความศักดิ์สิทธิ์"เทวาลัยแห่การผลิตครูไ เช่นเดิม
         2 ครูต้องเชื่อมั่นในศักิด์ศรีและยกย่อวคุณต่าแห่งเกี่ยติยศในการสร้างชาติและจุต้องอยู่บนฐานคติว่าเราเป็นครุกันได้คนละอย่าง ละครูคือผุ้ให้ ผุ้เติมเต็มและผุ้มีเมตตา
          3 การปลูกฝังโลกทัศน์ทางสังคม ความจริงและภาพเสมือนจริงจะต้องถุกสถาปนาความศํกดิ์สิทธิ์ทั้งกายภาพ (ปูชนียบุคคล) และชีวภาพ (จิตวิญญาณ) ให้กับสังคมเห็นความสอดคล้องและดยงใยกับสังคมทีเป็นอยู่ได้อย่างชัดเจน เพราะปัจจุบันช่่องว่างทางสังคมของครูยังมีสภาวะความรุนแรงเชิงโครงสร้างให้เห็นปรากฎในบางพื้นที่
          4 สื่อ ซึ่งถือเป็นช่องทางสาธารณะที่บุคคลทั่วไปสามารถรับข่าวสารได้ดี ความเที่ยงวตรง แห่งวิชาชีพนั้นสื่อควรมีการตรวจสอบข้อมูลต่างๆ อย่างถี่ถ้วนและเป็นธรรม ก่อนำเสนอข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับครูทั้งทางบวกและทางลบ ทั้งนี้ผุ้เขียนมิได้ว่าสื่อจะไม่สามารถนำเสนอเรื่องราวในเรื่องทางลบได้ แต่ต้องตระหนักว่า "สร้างภาพหรือสร้างสุข" ให้แก่ผุ้บริโภคสื่อ
           ดังนี้น เส้นทางของ "ครู" รากแก่งแห่งการสร้างอัตลักษณ์ของชาติ" นั้นคงแายภาพออกามชัดเจนกับสังคมปัจจุบันเพียงแต่สิ่งที่ครุจะต้องกระหนักในหน้าที่กสารสอน คือสนอแล้วเกิดภาพอย่างไร สร้างภาพหรือสร้างสุขสอนให้คิดหรือได้คิ สอนแบบเรียนรู้ร่วมกัน หรือเรียนรู้ลอกกัน สอนให้เข้าใจ หรือสอนให้เข้าสมอง และประเด็นที่สำคัญ สอนให้ทำได้หรือสอนให้ได้ทำ บทสรุปเหล่านี้คึงสอดคล้องกับวาทกรรมของ มล. ปิ่น มาลากุล ที่ว่า "ชาติยืนคงอยู่ เพราะครูดี สำคัญนักหน้าที่เรามีอยุ่ งานก่อนสร้างห้างหอ ยากพอพู แต่งานครูยากยิ่งกว่าสิ่งใด"

      - บางส่วนจากบทความ "ครู : รากแก้วแห่วการสร้างอัตลักษณ์ของชาติ โดย ธงขัย สมบูรณ์

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)