ASEAN Committee on Culture and Information : ASEAN-COCI

            นับเป็นเวลาเกือบ 40 ปี ที่ประเทศไทยมีควาร่วมมือทางด้านวัฒนธรรมกับประเทศต่างๆ ใอาเซียนผ่านกลไกความร่วมมือของคณะกรรมการอาเซียนว่าด้วยวัฒนธรรมและสนเทศ โดยมีผลงานที่สำคัญในการเผยแพร่เพื่อสร้างความรู้และความเข้าใจให้กับบุคคลทั่วไปเกี่ยวกับวัฒธรรมของอาเซียน ได้แก่การรวบรวมและจัดทำหนังสือเพื่อเป็นการเผยแพร่องค์ความรู้ด้ารวัฒนธรรมที่ได้มีการค้นคว้าและรวบรวมเอาไว้ ซึ่งครอบคลุมมิติต่าง ๆทางวัฒนธรรม ได้แก่ วรรณกรรม อาเซียนศึกษา ประวัติศาสตร์ โบราณคดี ศิลปะร่วมสมัย มรดกทางวัฒนธรรม ฯลฯ ดังนี้
          1 งานด้านวรรณกรรม เป็นการรวบรวมวรรณกรรมประเทสต่างๆ ทั้งงานวรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณกรรมศษสนา วรรณกรรมการเมือง งานด้านประวัติศาสตร์ ซึ่งแสดงให้เห็นวิถีชีวิตในแต่ละยุคสมัย ของผุ้คนในที่ต่างๆ ที่มีควมหลากหลายทางวัฒนธรรม ตลอดจนเห้นถึงพัฒนากรของงานวรรณกรรมในอาเซียน
           2 งานอาเซียน เป็ฯการรวบรวมเพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับประสบการณ์ด้านการจัดการทางวัฒนธรรมของประเทศในอาเวียนโดยเฉพาะงานด้านพิพุิธภัณฑ์ ตลอดจนงานึกาาเกี่ยวกับสื่อในอาเซียนทั้งในแง่ของประเภท รูปแบบ ตลอดจนการวิเคราะห์ถึงความสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมวัฒนธรรมในอาเวียน นอกจากนี้ ยังรอบรวมงานศึกาาบางส่วนเกี่ยวกับพัฒนากาและการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในอาเซียน
       
3 งานด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี เป้นงานเกี่ยวกับการนำเสอนประวัติศาสตร์ของประเทศในอาเว๊ยน ตอลดจนพัฒนาการที่สำคัญของอารยธรรมต่าง ๆผ่านทางรูปแบบสถาบปัตยกรรมโบราณ การรวมรวมประวัติศาสรตืของพัฒนาการของอาเวีนผ่านคำบอกเล่าจากบุคคลสำคัญจากประเทศต่างๆ ที่มีบทบาทสำคัญในการทำงานและกำหนดนโยบายของอาเว๊ยน นอกจากนี้ ยังมีการศึกาาและแลกเปียนประสบการ์ด้านงานโบราณคดีทั้งงานด้านอนุรักษณ์และงานฟื้นฟู
          4 งานด้านศิลปะร่วมสมัย เป้ฯการรวบรวมศิลปะสมัยใหม่ที่เกิดขึ้นในอาเว๊ยน ซึ่งเป้นผลจากกาต่อยอดพื้นฐานมรดกทางวัฒนธรรมเดิมที่มีอยู่ ร่วมกับการับและประยุต์ใช้วัฒนธรรมจากภายนอก กลายเป็นรูปแบบศิลปะร่วมสมัยของอาเซียนในปัจจุบัน ได้แก่ การรวบรวมบทละครที่สำคัญของประเทสต่างๆ มหรสพและการละคร ตลอดจรงานด้านภาพยนตร์
          5 งานด้านมรดกวัฒนธรรม เป้นงานรวบรวมและศึกษาวัฒนธรรมดังเดิมของประเทศในอาเซียน อาทิ ดรจรี ศิลปะและหัตภกรรม การละเล่นพื้นเมือง อาหาร และเทศกาลประเพณีต่างๆ ตลอดจนศึกาาถึงลักษณะนิสัยของผุ้คนในอาเซียนที่มีร่วมกัน เช่น ลักษณะของอัธยาศัยไม่ตรี เป้นต้น
          นับเป็นความสำเร็จ ของ ASEAN-COCI ที่ได้ดำเนินกิจกรรมมากว่า 35 ปี และสามารถสั่งสมองค์ความรู่ซึ่งตรอบคลุมสาขาและความเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในอาเวียน อย่างไรก็ดี การรวบรวมองค์ความรู้ดังกล่าวส่วนใหย่ครอบคลุมเฉพาะกลุ่มประเทศในระยะเริ่มก่อตั้งอาเซียน ได้แก่ อินโดนีเซีน มาลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย รวมถึงบรูไนดารุสซาลาม ในขณะที่ประเทศสมาชิกใหม่ของอาเซียน ได้แก่ กัมพุชา ลาว พม่า และเวียดนาม จะีการรวบรวมข้อมุลทางวัฒนธรรมได้น้อยกว่า กลุ่มแรก ซึ่งประเทศเหล่านี้ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในแถบภาคพื้นทวีป และเป็นกลุ่มประเทศที่มีความคล้ายคลึงกันทางวัฒนธรรม และมีควมแกต่างจากกลุ่มประเทศในแถบภาคพื้นสมุทร
          ดังนั้น แม้องค์ความรู้ที่มีจะคอบคลุมหัวข้อทางวัฒนธรรมที่สำัย หากแต่ยังำม่สามารถให้ภาพรวมทั้งหมดของวัฒนธรรมทีเป็นตัวแทนของวัฒนธรรมอาเซียนได้ การทำงานในระยะต่อไปเกี่ยวกับเรื่องของการรวบรวมองค์ความรู้นั้นจึงควรที่จะให้ความสำคัญกับการสนับสนุนให้ประเทศในแถบภาคพื้นทวีปเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น เพื่อพัฒนาองค์ความรุ้ทีมีอยุ่ในสามารถเป้นจัวแทนภาพของอาเซียนอย่างแท้จริง และเป็นฐานที่แข็งแกร่งสู่การสร้างอัตลักษณ์อาเซีญนในอนาคต
       
นอกจากการพัฒนาด้านองค์ความรุ้แล้ว การทำงานในระยะต่ไปควรให้ความสำคัญกับการพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้เหล่านี้ เพื่อตอบโจทย์ยุทธศสตร์ของการเข้าสูประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียน โดยเฉพาะในแผนงานสร้างอัตลักาณ์อาเซียน ซึ่งเป็นภารกิจทีสำคัญของกระทรงวัฒนธรรม ดังนี้
          - การส่งเาริมการตระหนักรับรู้เกี่ยวกับอาเซียนและความรุ้สึกของการเป็นประชาคม การต่อยอองค์ความรู้ที่มีโดยการประชสัมพันธ์และจัดการถ่ายทอดองค์ความรู้เหล่านี้ต่อประชาชนดดยทั่วไป เพื่อทำให้เกิดความรับรุ้และความเข้าใจที่ถุกต้องของประชาชนเกี่ยวักบวัฒนธรรมของประเทศอื่นๆ ในอาเซียนความรับรู้และความเข้าใจดังลกาวจะเป้นขั้นอนที่สำคัญของการยอมรับและเข้าใจความแตกต่างทางวัฒนธรรมที่มีอยุ่ ซึ่งเป้นความจริงที่ไม่สามารถปฏิเสธได้ของอาเซียน และเป็นก้าวแรกสู่การอยูร่วมในประชาคมและสร้างความรู้สึกของการเป็นประชาคมร่วมกันในอนาคต
          - การอนุรักษณ์และส่งเสริมมรดกทางวัฒนธรรรมของอาเซียน การรวบรวมองค์ความรู้ที่ผ่านมาถือเป็นงานสำคัญของการอนุรักษณ์มรดกทางวัฒนะรรม ซึ่งถือว่าเป็นงานที่ ASEAN-COCI ได้ให้การสนับสนุนมากที่สุดอย่างไรก็ดี ที่ผ่านมาการทำงานยังอยู่ในขั้นของการรวบรวมข้อมูลทางวัฒนธรรมที่มีอยู่เท่านั้น การทำงานในระยะยถัดไปจึงควรให้ความสำคัญกับการศึกษาถึงระบบวิธีคิดและแบบแผนทางวัฒนธรรในอดีต ตลอดจนความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน เพื่อทำความเข้าใจกับพลวัตรของวัฒนธรรมอาเซียน เพื่อเป็นประโยชน์ในการกำหนดทิศทางและนโยบายทางวัฒนธรรมในแง่ของการสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมดั้งเดิมเพื่อให้ดำรงอยู่ได้ท่ามกลางการเปลียนแปลง         - ส่งเสริมการส้างสรรค์ดานวัฒนธรรมและอุตสาหกรรม ข้อมูลทางวัฒนธรรมทีได้รวบรวมไว้วามารถเป็นพื้นฐานสำคัญในการต่อยอดธุรกิจเชิงวฒนธรรม ทั้งในแง่ของการสร้างสรรค์สินค้าทางวัฒนธรรมหรือการสร้างแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมใหม่ๆ เป็นต้น อย่างไรก็ดี การจะสามารถนำองค์ความรู้ที่มีไปสู่ผลในทางปฏิบัติได้นั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการสร้างเครือข่ายภาคีจากภาคธุรกิจเอกชนและภาคประชสังคม ในฐานะผุ้ดำเนินการและร่วมรับผลประโยชน์ที่แ้จริงของการดำเนินงาน ดังนั้น การดำเนินการในระยะต่อไป จึงควรเน้นที่การสร้างเครือข่ายภาคีทางวัฒนธรรมที่ไม่จำกัดเฉพาะในหนวงานภาครัฐเท่าัน หากแต่ควรขยายขอบเขตไปสู่ภาคธุรกิจเอกชนและภาคประชาสังคมด้วย...

               
                     บางส่วนจาก..รายงานการศึกษาส่วนบุคคล เรื่อง "แยผยุทธศาสตร์กระทรวงวัฒนธรรมในการเตียมความพร้อสู่ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน" จัดทำโดย นางสาวดารุณี ธรรมโพธิ์ดล, หลักสูตรนักบริหารกาทูต สภาบันการต่างประเทศเทวะวงศ์วโรปการ กรทรงการต่างประเทศ, 2556.

              การสร้างอัตลักษณ์อาเซียนเป็นหนึ่งใน 6 วัตถุประสงค์หลักในการดำเนินการตามกรอบประชาคมอาเซียนด้านประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน นอกเหนือจากการพัมนาทรัพยากรมนุษย์ การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม ความยุติะรรมและสิทธิ การส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมและการลดข่องว่างทางการพัฒนา ทั้งนี้ การติดตามผลความก้าวหน้าการดำเนินการสามารถศึกษาได้จากรายงาน ซึ่งได้มีการวัดผลความก้าวหน้าตามแผยงานประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 2016-2025 ผ่านการประเมินผลดัชนีชี้วัดเชิงปริมาณและเชงคุณภาพถภึง 208 ตัวชี้วัด
             
การสร้างอัตลักษณ์อาเซียนนั้นมุ่งเน้นในเรื่องของการส่งเสริมการตะหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียนและความรุ้สึกของการเป็นประชาคมอาเซียนการปนุรักษ์และส่งเสริมมรดกทางวัฒนธรรม การส่งเสริมการสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรมและอุตสาหกรรม และการมีส่วนเกี่ยวข้องกับชุมชน ของประเทศในกลุ่มอาเวียน ซึงผลรายงานล่าสุดพบว่า ค่อนข้างประสบความสำเร็จเป้อย่างมากโดยเแฑาะอย่างยิ่งในปะเด้นการส่งเสริมการตระหนักรับรู้เกี่ยวกับอาเวียนและความรู้สึกของการป็นประชาคม
              ผลจากการสำรวจทัศนคติในช่วงปี 2014 โดยความร่วมมือ อินสติทิวส์ ออฟ เซอท์อีสท์ เอเซย สตัดดี้ อิน คอลลอโบเรชั่น และ อาเซียน ฟันด์เดชั่น สำรวจจากกระหนักรู้และทัศนคติของเยาวชนต่ออาเซียน ดดยสำรวจจากนักศึกษาระดับปริญญาตรีใน 10 ชาติอาเซียน จำนวน 4,623 คน เพื่อวัดทัศนคติและความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอาเซียน พบว่ เยาชนส่วนใหย่มีทัศนคติในทงบวกต่อการรวมกลุ่ม โดยมากกว่า ร้อยละ 80 เห็นด้วยกับประโยคที่ว่า "ไอ ฟิล ไอ แอม อ ซิติเซ็น ออก อาเซียน" ซึ่งสะท้อนถึงความตระหนักรู้และทัศนคติที่ดีมากต่ออาเวียนของเยาวชนในภูมิภาคซึ่งผลการสำรวจนี้ก็สอดคล้องกับการสำรวจ ซึ่งเน้นสำรวจทัศนคติการตะหนักรู้ของภาคธุรกิจ หน่วยงานราชการ และสาธารณชน ในประเด็นการริ่เร่ิมสรค้างความรุ้สึกการเป็นปรชาคมอเซียนวึ่งผลการสำรวจพบว่าร้อยละ 81 มีความคุ้นเคยกับเชื่ออาเซียนและมีทัศนคติว่า การรวมกลุ่มนันจะส่งผลกระทบทางบวกต่อชาติอาเวียน
              ความสำเร็จที่น่ากล่าวถึงอีกประเด็นหนึงคื อการอนุรักษรืและส่งเสริมมรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน โดยพบวา ปัจจุบันอาเว๊ยมีแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมที่ได้รับการขึ้นทะเพบียนกับองค์การการศึกาา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ  (ยูเนสโก) มากกว่า 20 ปแห่ง ซึ่งภายในอาเวียนเองมีความหลากหลาย มีความเป้นเอกลักษณ์สะท้อนวัฒนธรรมของเาซียน ยกตัวอย่างเช่น เมื่องพระนคร (อังกอร์) ในกัมพูชา หลวงพระบางในลาว หมู่โบราณสภานเมืองเว้ว้ในเวียดนาม เป็นต้น
              นอกจากนั้นแล้ว ในส่วนภาพรวมผลสำเร็จการดำเนินงานความร่วมมือด้านวัฒธรรม และสนเทศอาเซียนพิจารณาจากผลงานของคณะกรรมการอาเวียนว่าด้วยวัฒนธรรมและสนเท รหือ ASEAN-COCI ก็มีความเป็นรูปธรรมและหลากหลาย ยกตัวอย่งเช่น หนังสือเด็ก ผลงานวิชาการเอกสารสิ่งพิมพ์ เพื่อเผยแพร่วัฒนธรรมของอาเวียนนิทรรศการจิตรกรรมร่วมสมัยซึ่งจัดแสดงในประเทศต่างๆ นอกอาเวียน และปฏิญญาญาอาเซียน่ว่าด้วยมรดกวัฒนธรรม เพื่อนุรักษรืและพัฒนามรดกวัฒนะรรมของประเทศสมาชิก เป็นต้น...
            ที่มา http://www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=6677&filename=index

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)