จากการนำเสอนความมหายของการผลิตซื้ำทางวัฒนธรรมดามแนวคิดของนักวิชาการดังกลร่าวข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า การผลิตซ้ำทางวัฒนธรรม หมายยถึงการปกป้อง ดำรงรัษาหรือเพ่ิมพุนวัฒนธรรมที่มีการผิตขึ้นในกลุ่มสังคม เมื่อเกิดการผลิตและสร้างควมมหายทางวัฒนธรรมใหม่ขึ้นม สาชิกจะทำการคัดลือกความคิด ความเชื่อ ค่านิยมหรือการปฎิบัติที่เหมาะสมและทำการผลิตซ้ำด้วยวิะีการต่างๆ จนเกิดการยอมรับเป็นบรรทัดฐานเพื่อการอยุ่ร่วมกันแสดงถึงความเป้ฯหนึ่งเดี่ยวของกลุ่ม สร้างคามแกต่างระหว่างกลุ่ม วัฒนธรรมใดที่มีการผลติขึ้นแล้วไม่ได้รับการอมรับ วัฒนธรรมนั้นก็จะตายไปในที่สุด ทั้งนี้ สถาบันยหนอบุคคลที่มีอำนาจจะเป็นผุ้ชี้ขาดความยืนยงของวัฒนธรรมและแต่ละกลุ่มสังคมก็จะมีแนวทางปฏิบัติด้านวัฒนธรรมแตกต่างกัน
การผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมเป็นความสัมพันะขององค์ประกอบการผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมทั้งในระดับที่เป็นนามธรรมและรูปธรรม ประกอบไปด้วยผู้ผลิตวัฒนธรรม เนื้อหาสาระ สถานที่สื่อที่ใช้ในการนืบทอดและผุ้มีส่วนเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม การผลิตซ้ำทางวัฒธรรมจึงเกิดการสื่อสารขึ้นเพื่อสืบทอดหรอืขยายผุ้เผยแพร่วัฒนธรรมเพ่ิมช่องทางในการสื่อสารทางวัมนธรรมและเพิ่มสมาชิกใหม่ในองค์การ การผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมจะมีความหมายสมบูรณืก็ต่อเมื่อเป็นการผลิตซ้ำที่มีรหัส ความหมายหรือความเชื่อบางประการแผงอยู่เบื้องหลัง ดังนั้น กาญจนรา แก้วเทพ และสมสุขหินวิมา จึงเสนอแนวทางการศึกษากระบวนการผลิตและผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมซึ่งมีองค์ประกอบ 4 ด้าน ได้แก่ การผลิต การเผยแพร่ การบริโภคและการผลิตซ้ำ ซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการศึกษาวัมนธรรมองค์การ โดยพิจารณาว่าวัฒนธรรมในองค์การถูกผลิตขึ้นมาได้อย่างไร ใครเป็นผู้ผลติวัฒนธรรม วัฒนธรรมดังกล่าวมีการเผยแพร่หรือสื่อสารในองค์การอย่างไร สมาชิกในกลุ่มรับรู้และข้าใจวัฒนธรรมเหล่านี้อย่างไร อีกทั้งสมาชิกในกลุ่มมีวิธีการผลิตซ้ำวัฒนธรรมองค์การอย่างไร
การญจนา แก้วเทพ และสมสนุข หินวิมาน จะได้ให้แนวทางในการวิเคราะห์กระบวนการผลิตและผลิตซ้ำทางวัฒนธรรม อะิบายเพ่ิมเติมถึงกระบวการผลิตและผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมทั้ง 4 ด้านดังนี้
1. ด้านการผลติ คือการพิจารณาว่าวัฒนธรรมได้รับการผลิตและสร้างความหมายขึ้นมาได้อย่างไร ใครเป็นผู้ผลิตทางวัฒนธรรม ผุ้ผลิตสร้างสัญลักษณ์หรือสิ่งประดิษฐ์ทางวัฒนธรรมอย่างไรทั้งนี้ กริสเวิร์ล ได้อธิบายว่าการผลิตวัฒนธรรมทีความสัมพันะ์กับการเปลี่ยนแผลงสภาพแวดล้อมภายนอกองค์กา เช่น ระบบการตลาด ผุ้ซื้อผู้บริโภค ผุ้ที่มีอำนาจทางการตลาด รวมทั้งโครงสร้างทางการเมือง สงคมและวัฒนธรรม ผุ้ผลิตวัฒนธรรมจะำทการตรวจสอบสภพแวดล้อมอย่งรอบคอลเพื่อที่จะผลิตวัมนธรรมให้มีความสอดคล้องกับความต้องการของผุ้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อต่อสุกับคู่เข่งขัน การผลิตวัฒนธรรมจะนำไปสู่การสร้างความมาหยยองวัตถุทาง วัฒนธรรม โดยากรสร้างความหาายทางวัฒฯธรรมต้องอาศัยอความเข้าใจที่ตรงกันทั้งผุ้ผลิตเลแะผุ้รั้บด้วย
สวยดอก: การผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมหัตถศิลป์งานใบตองล้านนา |
2. ด้านการเผยแพร่ คือการพิจารณาว่าผุผลิตวัฒนะรรมดำเนินการเผยแพร่วัฒนธรรมให้เป็นที่รับรู้กันในองค์การอย่งไร โดยกล่าวถึงการเผยแพร่วัฒนธรรมว่าเกิดมาจากการที่แต่ละกลุ่มสังคพยายามที่จะผลติวัฒนธรรให้เป้นของตนเอง ดังนั้นึงทำให้ผุ้ผลิตวันธรรมและสมาชิกในกลุ่มร่วมกันสร้างความหายและวิ๔ีทางการับรู้วัถุทางวันธรรม และดำเนินการแบ่งปันความหายทางวัฒนรรมที่มีอยุ่ด้วยวิธิการต่างๆ ให้เป็นทีรัรุกันภายในหลุ่ ซึ่งอาจจะทำใ้เกิผลประดยชน์หรือเป้นอุปสรรคตอการขับเคลื่อนกลุ่มก็ได้ การเผยแพร่วัฒนธรรมเนกิจกรรมการแลกเปลี่ยนความรุ้ในระดับปัเจจกบุคคล ระดับกลุ่มย่อยและระพับกลุ่มใหญ่ของสมาชิกทั้งหมดในกลุ่ม เพื่อให้สมาชิกในกลุ่มรับรุ้ความหมายทางวัฒนธรรมขององค์การ ผุ้ผลิตวัฒนะรรมจะดำเนินการกระตุ้นเตือนให้สมาชิกในกลุ่มประพฤติตามเป้าหมายเสมอ
3.ด้านการบริโภค คือการพิจารษว่าสมาชิกในกลุ่มบริโภคหรือรับรุวัฒนธรรมที่ถุกเผยแพร่อย่งำร และความมหายของวัฒนธรรมทีสมาชิกในกลุ่มรับปรุ้มีการเปลี่ยนแปลงจากส่ิงที่ผุ้ผลิตวัฒนธรรม ได้สร้างขึ้นไว้อย่งไรบ้างทั้งนี้การับรุ้ของปัจเจกบุคคลเกี่ยวช้องกับการรับรุ้ทางสังคม ในฐานุสมาชิกของกลุ่มี่เข้าไปมีสวนร่วม ซึงเกิดข้นมาจากการเสื่อสารระหว่งบุคคลอันจะทำให้เกิดความคิดที่แตกต่างเมื่อมาร่วมอยุ่กันเป้นหมุคณะ เนื่อจากการคับรุ้ท่างสังคมที่มีมาจากความสนใจเแพาะส่วยบุคคล อารมณ์ความรุ้สึกและการทำความเข้าใจความาหยจาสัญลักษรืหรือวัตถุที่รัีบรุ้และมองเห้นความแตกต่างของระดับชนชั้นในใัีงคมและประสบการณ์ที่สะสมมาจะส่งผลให้แต่ละคนมีการับรุ้ทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
4. ด้านการผลติซ้ำคือการพิจารณาว่าวัฒนธรรมถูกผลิตซ้ำต่อเนื่องเพื่อให้ดำรงอยุ่อย่างไรทั้งน การผลิตซ้ำความมีความเกี่ยข้องกับการสื่อสารทางวัฒนธรรมซึงมีผลต่อการับรุ้ความหายทางวัฒนธรรมโดยเทคโนโลี กลุ่มคนและสัคมความสัมพันะ์ต่อการสร้างและการเปลี่ยนแปลงอัตลักษณ์ของกลุ่มเพราะสมาชิกในกลุ่มมีการแลกเปลียนข้อมุลข้าวสารและความรุ้ทางวัฒนธรรมตลอดเวลาซึ่งการผลิตซำสาารถทำได้โดยากรสื่อสารผ่านตัวบุคคลหรือการใช้สื่อเทคโนโลนีด้วยวิธีต่างๆ...
" การสืบทอดอัตลักษณ์ของคนอีสานในชุมชนตำบลสะตอน อ.สอยดาว จ.จันทบุรี" ภาคนิพนธ์ ของ สุทธิ กาบพิลา ปริญญารัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี, มิถุนายน 2558.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น