ความพยายามของมาเลเซียในกสรสร้างอัตลักษณ์ของชาติผ่านระบบการศึกษา
มาเลเซียนมีความพยายามอย่างย่ิงที่จะปับแนวทางการศึกษาของประเทศให้มีความสอดคล้องกับความแตกต่างหลากหลายทางเชื้อชาติ สังคมและวัฒนธรรมซึ่งเป้นหัวใจหลักที่ีความสำคัญต่อการปยุ่รดของความเป้ฯประเทศมาเลเซียโดยเฉพาะอย่งยิ่งการนำเาอแนวคิดศาสนาอิสลาม มาปรับใช้ตั้งแต่ปี 1979 รวมทั้งการวงหลักสูตรภาษาต่างผระเทศที่สะท้อนความหลกหลายของความเป้ฯมาเลเซีย เพื่ตอกย้ำความเป้นอันหนึ่งอันเดียวกันของประเทศได้กลายนาเป็นปรคัชญาทางการศึกษาที่สำคัญมาจนถึงปัจจุบัน
แรงผลักดันที่สำคัญ นอกเหนือไปจากความเป็นพหุสังคมของมาเเซียนแล้ว ปัจจัยด้เานการเป็นประเทศมุสลิม รวมถึงการเปลี่ยนสแปลทืางการเมืองภายในและภายนอกประเทศก็ล้วนแล้วแตผลักดันห้มาเลเซียต้องพยายามแสวงหาเครื่องมือหรือกลไกในการผลัดันความเป้นเอกภาพผ่านหลักสูตรทางการศึกษาของชาติ
ดังนั้น ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายซึ่งได้จากบทเรียนของความสำเร็จของมาเลเซีย ซึ่งสามารถปรับใช้กับประเทสไทยรวมทั้งสามจังหวัดชายแดน มีดังนี ้ คือ 1) วางปรัชญาทางการศึกษาของชาติให้มีความชัดเจน 2)ดำเนินการอย่างเป้นรูปธรรมในนโยบายปฏิรูปการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 3) สร้างความสมดุลระหว่งความรู้างวิชากรสมัยใหม่กับค่านิยมและจริยธรรม และ 4) การพัฒนาบุคลากรผุ้สอนวิธีการสอนและสื่อการเรียนการสอนสมัยใหม่
มาเลเซียเป็นประเทศที่มีลักษณะเฉพาะ เนื่องจากความแตกต่างด้านชาติพันธ์ุ เชื้อชาติและวัฒนธรรมภายในประเทศ ทำให้มาเเว๊ยพยายามหาแนวทางในการสร้างเบ้าหลอมของความแตกต่างให้อยู่ภายใต้ความเป้นชาติที่มีอุดมกาณณ์เดียวกันคือความเป็นมาเเซียน ไม่ว่าจะมีควารมแตกต่างกันด้วยสาเหตุใดก็ตาม แร่การที่มาเลเซียนมีคนส่วนใหย่ที่เป้ฯชาวมลายู และนับถือศาสนาอิสลาม ทำให้การสร้างเบ้าหลอมทางการศึกษาได้เน้นไปสู่แนวทางของศาสนาอิสลามเพ่ิมขึ้ ดดยเฉพาะอย่างยิงในช่วงหลังปี 1979 ซึ่งสาเหตุสำคัญมาจากากรเปลี่ยนแปลงทางการเมืองระหว่างประเทศและการเมืองภายในประเทศ
ภาษาอังกฤษนอกจากจะเป้นกลไกสำคัญในการยกระดับการเรียนรุ้ภาษาต่างปะเทศของนักเรียนชาวมาเลเซียแล้ว ยังถุกใช้เป็นเครื่องมือในการสร้างอัตลักาณ์ของชาวมาเลเซียผ่านหลักสุตรการศึกษาของชาติและการสร้างรูปะรรมในนโยบายปฏรูปการศึกาาที่เน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน..
วิธีการสร้างอัตลักาณ์ผ่านระบบการศึกษาของมาเลเซีย
การปรับใช้แนวคิดทางศาสนาในระบบการศึกาา อ่กนปี 1979 มาเลเซียจัดการศึกษาแบบสองระบบ คือการศึกษาแบบศาสนาและการศึกษาปบบปกติที่แยกจากกัน ซึ่งเป้นผลจากอิทธิพลของการวางระบบการศึกษาของประเทศอังกฤษในช่วงอาณานิคม อย่างไรก็ตามจุดเปลียนทางการศึกาาของมาเลเซียเกิดขึ้นเมือมาเลเซีนได้รับเอาข้อชเสนอแนะกระบวนการทำให้เป็นอิสลามหรืออสลามานุวัติ ด้านการศึกาา จากการประชุมโลกมุสลิมเมื่อปี 1977 รัฐบาลในขณะนั้นได้มีการทบทวนนโยบายการศึกาาและนำมาสู่การปฏิรูประบบการศึกษาเมือปี 1979 และการปรับเปลี่ยนหลักสูตรการศึกษาเมือปี 1983 ดังนั้นโรงเรียนทุกระดับจึงเน้นรูปแบบการศึกาาแบบบูรณาการบนพื้นฐานความศรัทธาและระบบค่านิยมที่มีลักาณะครอบคลุมและเป็นองค์รวม ว฿่งเป้นการเน้นการสร้างปัเจกบุคคลที่มีความสมดุลและเอกภาพทั้งทางด้านสติปัญญา จิตวัญญาณ อารมณ์ และร่างกาย มีความเชื่อที่มั่นคงและนอบน้อมต่อพระผุ้เป็นเจ้า ปรัชญาทางการศึกษาแห่งชาติและหลักสูตรบูรณาการสำหรับโรงเรียนมัะยมศึกษาที่ปฎิรูปขึ้นมใหม่นี้เปิดช่องทางทีเท้อต่อการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้อิสลามมานุวัตร
การนำเอาแนว่าวประยุกต์เข้ากับระบบการศึกษาของมาเลเซียได้ดำเนินการต่อเนื่อมาจนถึงปัจจุบันและกลายเป็นแนวทางต่อการศึกษาทุกระดับของมาเลเซีย โดยเฉพาะเป้าหมายการพัฒนาประเทศไปสู่สังคมที่มีความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างยั่งยืนต้องสร้งความสมดุลระหว่งความเชื่อและความศรัทะาทางศาสนาเข้ากับองค์ความรู้สมัยใหม่ จากการวิจัยพบว่าโรงเรียนของมาเลเซีนไ้ผสมผสานแนวคิดทงศาสนาอิสลามเข้าสู่กระบวนการวางแผนและการเรียมการสอน การำนเข้าสุ่บทเรียน กิจกรรมการจัดการเรียนการสอน การปฏิสัมพันะ์ระหว่างครุกับนักเรียนการสรุปบทเรียน การใช้สื่อการเรียนรู้ ขณะที่ข้อจำกัดที่เกิดขึ้นของการประยุกต์ใช้คือผุ้สอนขาดความรู้ทางศษสนาอย่างึกซคึ้งทำให้อาจเกิดการตีควาที่ไมตรงกับหลักศาสนาที่ถูกต้องได้
การปรับใชภาษาต่างประเทศนระบบการศึกษา หลักสุตรกภาษอังกฤษของมเเลซีย วางอยุ่บนหลักพื้นฐานของปรัชญาการศึกาาที่เน้นคึวามเป็นชาติ และหบักสูตรแห่งชาติ ในฐานะกลไกหนึ่งของระบบการศึกาาภาคบังคับ หลักสุตรภาษาอังกฤษได้รับการออกแบบภายใต้กรอบแนวคิดของปรัชญาการสึกาาแห่งชาติ อันได้แก่ความมีเอกภาพแห่งชาติ กาศึกษาตลอดชีพ และการพัฒนาปัจเจกชนแบบองค์รวมและบูรณาการซึ่งเป็นอุดมการณ์ที่เกิดจากวัฒนธรรมทงสังคม เสณาฐฏิจ แารเมืองการปกครอง และจากความต้องการของประเทศมาเลเซียในยุคโลกาภิวัตน์ ด้วยเหตุนี้หลักสูตรภาษาอังกฤษของมาเเซียจึงแสดงออกถึงความเป้นชาตอและลักษระทีแกต่างหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรม
มาเลเซียพยายามปรับหลักสุตรภาษาอังกฤษให้สะท้อผ่านทุกส่ิงทีสะท้อนความเป้นชาติมาเเซีย เช่นลักระดฑาะทางภูมิศาสตร์ วิถีชีิวิตใน้องถ่ิน วิทยาศาสตร์เทพโนโลยี ขณะเดียวกันก็เชื่อมเข้ากับระบบการเรียรุ้แบบสากลที่เน้นผุ้เรียนเป็นสูรย์กลา และเชื่อมเข้ากับการเรียนรู้รอบตัว ซึ่งเป็นฤษฎีการเรียรู้แบบพหุปัญญาที่รัฐบาลมาเลเซียให้ความสำคัญ
ภาษาอังกฤษได้ถูกผนวกเข้ากับทัการะทงสารสนเทศ มีกิจกรรมการเรียนรุ้สมัยใหม่ที่เรยกว่าการวิจัยเพ่อการวางแผนอนาคตดดยใช้ชุมชนของนักรเียนเป้นแหล่งเรียนรู้ปัญหาและต้นเหตุของปัญหาผ่านการจัดทำโครงงานภาษาอังกฤษ นอกจากนี้หลักสุตรภาษาอังกฤษยังถูกปรับให้เขากับ้องถ่ินแต่ละแห่งที่มีความแตกต่างหลากหลายด้านสังคมและวัฒนธรรม เช่น กรใช้ภาษาอังกฤษในลักษระพิเศษด้วยกาปสมปสานคำที่มีนัยเชิงวัฒนธรรในภาษาแม่และภาาาอังกฤจากงานวิจัยพบว่าแม้หลักสูตรดังกล่วจะมีแนวคิดที่ดีแต่ด้วยปัจจัยหลายด้าน เชน สภาพพื้นี่เมืองและชนบท ผุ้สอนสื่อการเรียนการสอน ทรัพยากร และวัฒนธรรมการเรียนรู้ ก็อาจำให้เกิดอุปสรรคได้
- ปัจจัยสำคัญในการสร้างอัตลักษณ์ผ่านระบบการศึกษา
ความเป็นพหุสังคมในมาเลเซีย ความแตกต่างด้านชาติพันธ์ุ ศาสนาและวัฒนธรรมในมาเลเซียถือว่าเป็นประเด็นที่มีความสำคัีญมากที่สุดของมาเลเซีย เนื่องจากการก่อัวของความเป็นชาติมาเลเซียมิได้เกิดขึ้นด้วยชาวมลายูแต่เพียงอย่างเดียวชาติพันธุ์จีงนและอินเดียต่างก็เป็นอีกสองเชื้อชาติที่มีความสำคัญทางการเมืองและเศราฐกิจของมาเลเซีย ไม่ด้อยไปกว่าชาวมลายูที่เป็นเจ้าของประเทศ ด้วยเหตุนี้ัฐบาลมาเลเซียจึงดำเนินนโยบายด้านความเป้นอันหนึ่งอันเดี่ยวกันของความเป้นชาติอย่างระมัดระวังทั้งนี้เนื่องกจามาเลเซียเคยมีบทเรียนความขัดแย้งด้านเชื้อชาติอย่างรุนแรงเมื่อปี 1969 เนื่องจากรัฐบาลมาเลเซียมองว่าความมั่นคงของประเทศขึ้นอยู่กับความกลมกลืนระหว่างเชื้อชาติมลายู อินเดียและจีนดังนั้น นัฐบาลจึงไห้ความสำคัญกับการสร้างรัฐที่สะท้อนความแตกต่างหลฃากหลายในสังคมผ่านระบบการศึกษาของชาติ ซึ่งถือเป็นเบ้าหลอมสำคัญที่จะทำให้เกิดอุดมการณ์ของคนในชาติแบบเดียวกัน ดดยมองข้ามความแตกต่างทางเชื้อชาติและัศาสนา
- ความเป็นประเทศที่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาอิสลาม มาเลเซียเป้นประเทศที่มีชาวมลายูมากที่สดเมื่อเปรียบเที่ยบกับเชื้อชาติอื่นใปรเทศดังนั้นศาสนาหลักของประเทศจึงเป้นศาสนาอิสลาม แม้มาเลเซียจะเป้ประเทศที่ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยโดยมีนายกรัฐมนตรและสุลตานในฐานะประมุขแห่งรัฐ และแยกศาสนาอิสลามออกจากการเมืองอย่างชัดเจน(ซึ่งเป็นผลจาการวางระบบการปกครองของอังกฤษ) แต่มาเลเซียก็ไม่ได้ละท้องหลักการของศาสนาอิสลามที่ได้ผนวกหลักทางศาสนาเข้ากับบริบทของชีงิตประจำวันของชามุสลิม ซึ่งตามหลักการหลักาสนาก้คือบทบัญญัติของชีวิตที่ชาวมุสลิมจะต้องปฏิบัติตามโดยเฉาพอย่างยิ่งการเคารพนอบน้อมต่อพระเจ้า การมีจริยธรรมแบะศับธรรมอันดี
สิ่งที่น่าสนใจคือ รัฐบาลมาเลเซียได้นำแนวคิดทางศาสนาปรับเข้ากับหลักสูตรการศึกษาแบบตะวันตกเพื่อหวังว่าจะสร้างความสมดุลระหว่างเทคโนโลยีและองค์ความรู้สมัยใหม่เข้กับหลักคำสอนศาสนาอิสลามและได้ประกาศแนวทางดังกล่าวเป้นปรัชญาการศึกษาของประเทศเมื่อปี 1979 ในกรณีดังกล่าวมาเลเซียถือว่าประสบความสำเร็จในการนำแนวทางศาสนาของศาศนามาใช้ควบคู่กีบระบบการศึกษาของชาติ โดยไม่ได้กระทบกลุ่มเชื้อชาติอื่นที่ไม่ได้นับถือศาสนาอิสลาม นอกจากนียังแสดงให้เห็นว่ามาเลเซียเป้นประเทศมุสลิมสายกลาง ี่มไ่ปฏิเสธความเป็นสมัยใหม่
- การเมืองภายในและภายนอกมาเลเซีย ปัจจัยด้านการเมืองทั้งภายในและภายนอกเป็นส่วนสำคัญที่ผลักดันให้มาเลเซียต้องหาเครื่องมือในการสร้างอัตลักาณ์ความเป็นชาติผ่านหลักสูตรการศึกษาไม่แพ้กับปัจจัยอื่นๆ ขช้าต้น ปัจจัยด้านการเมืองภายในที่สำคัญคือการแข่งขนและช่วงชิงอำนาจระหว่างพรรคอัมโน และพรรค PAS พรรคอัมโมเป้ฯพรรคแนวร่วมเชื้อชาติต่างๆ ในมาเลเซียซึ่งผุกขาดการปกครองมานับแต่ได้รัีบเอกราชจากอังกฤษเมื่อปี 1957 อย่างไรก็ตาม ในภายหลังกระแสความนิยมในพรรค PAS ซึ่งมีฐานทีมั่นอยู่ทางตอนเหนือของประเทส เช่น กลันตัน ตรังกานู เปอร์ลิสและสลังงอ ได้เพ่ิมมากขึ้น โดยรรค PAS เป็นพรรคที่ยึดแนวทางด้านศาสนาอสลามเป็ฯหลักในการปกครองและมีอิทธิพลในรัฐทางตอนหเนือประเทศมาเลเซีย
ด้วยหตุที่พรรค่ PAS ได้ัอิทธิพลมากขึ้นจากการเน้นแนวทางอิสลาม ทำให้รัีฐบาลมาเลเซียที่มาจากพรรคอัมโม ต้องแข่งขันเลิงนโยลายเพื่อแสดงให้เห็นว่ารัฐบาลให้ความสนใจกับการนำเอาหลักศาสนาอิสลามมาปรับช้กับชีวิตความเป็นอยู่ทั่วไป ทำให้แนวทางเชิงนโยลายสะท้อนผ่านค่านิยมและความเชื่อทางศาสนาไปโดยปริยาย
นอกจากการเมืองภายในแล้ว กระแสการเมืองระหว่างประเทศก็มีผลต่อการใช้แนวทางอิสลามในการจัดการเรียนการสอนเช่นเดียวกัน กล่าวคือเมื่อปี 1979 อิหร่านสามารถโค่นล้มอำนาจกษัตรยิ์และเปียยนประเทศเป็นรัฐอิสลามสำเร็จ ทำใหเกิดกระแสความนิยมและเลียนแบบการปฏิวัติในอิหร่าน เกิดกระบวนการทำให้เป็นปิสลามพร่กระจายไปทีั่วภูมิภาคต่างๆ ดดยเฉาพประเทศที่มีชาวมุสลิมอาศัยอยู่ประกอบกับการยึดครองอัฟานิสถานของสหภาพโซเวียนในปีเดี่ยวกันทำหใ้เกิดความรู้ึกร่วมของชาวมุสลิมที่รู้นึกว่าถูกเอาเปรียบจามหาอำรสจจนมาสู่การประกาศสงครามทางศาสนา และเหกิดนักรบชาวมุสลิมจากประเทศต่างๆ ที่ไปร่วมรบในสมรภุมิิัฟกานิสถาน ด้วยการะแสการเมืองระหว่างประเทศดังกล่าวรัฐบาลมาเลเซียจึงได้ปรัีบเปลี่ยนปรัชญาการศึกาาและหลักศุตรการศึกษาของชาติให้สอดคล้องกับหลักการศาสนาอสลามเมือปี 1979 เป็นต้นมาhttp://prp.trf.or.th/trf-policy-brief/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B9%83/
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น