วันพฤหัสบดีที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

Thai Idrntity in History

              ความหมายของ "อัตลักษณ์"
              พจนานุกรมภาษาไทย - อังกฤษหรืออังกฤษ-ไทย คำแปลของ Identity คือ คำว่า "เอกลักษณ์" ซ่งตรงกับความมหายของคำนี้ในพจนานนุกรมภาษาอังกฤษ นั้นก็คือ สิ่งที่เป็นีุณสมบัติของคนหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง และมีนัยขยายต่อไปว่าเป็นคุณสมบัติเฉพาะของส่ิงนั้น ที่ทำให้สสิ่งนั้นโดดเด่นขึ้นมา รหื แตกต่างจากสิ่งอื่น ทว่าในแวดวงสังคมศาสตร์ปัจจุบัน แนวโน้มทางทฤษฎียุคใหม่ ทำให้เกิดการตั้งคำถามอย่างมากกับวิะีการมองโลก การเข้าถึงความจริง ของสิ่งต่างๆ ..กลายเป็นนิยามความหมาย ซึ่งสมารถเลื่อหนไลเปลี่ยนแปรไปได้ตามบริบท มิได้หมายถึงคุณสบัติเฉาพะตัวอีกต่อไป ดังนั้นคำว่า "อัตลักษณ์" ดูจะเหมาะสมกว่าเอกลักษณ์...
           
 อัตลักษณ์ (ศรินยา) ให้ความมหายของคำอัตลักษณ์ว่า เป็นคำผสมระหว่างคำว่า "อัตฎกับ "ลักษณ์" คำว่า "อัต" เป็นภาษาบาลี (อตฺต) แปลว่ ตนหรือตัวตน ส่วนคำว่าลักษณ์ (ลกฺษณ) เป็นภาษาสันสกฤต แปลว่า เครื่องสแดงสิ่งหนึ่งให้เห็นว่าต่างกับอีกส่ิงนหึ่ง ดังนั้น ถ้าแปลตามรูปศัพท์อัตลักษณ์จึงแปลได้ว่า "สิ่งที่แสดงความเป็นตัวเอง หรือลักษณะที่แสดงถึงความเป็นตัวเอง"
             ฉลาดชาย รมิตานนท์ ให้ควำอธิบายว่า หมายถึงสิ่งที่เรารู้สึกว่าเป็นเรา หรือพวกเรา แตกต่างกจากเขา พวกเขา หรือคนอื่น อัตลักษณ์ไม่จำเป็นต้องมีหนึ่งเดี่ยวแต่อาจมีหลายอัตลักาณ์ที่ประกอบกันขึ้นมเป้นตัวเรา พวกเรา อัตลักษณ์ไม่ใช่สิ่ที่มีอยู่ตามธรรมชาติ แต่เป็นส่ิงที่ถูกสร้างขึ้นดดยสังคม อัตลักษณ์จึงจำเป็นต้องมีกระบวนการสร้างความเมหือนและควมแตกต่างระหว่าง "พวกเรา" หรือ "คนอื่น"
             สุภาพร คงศิริรัตน์ กล่าวว่าปรเภทของอัตักษณ์มี 2 ระดับคืออัตลักาณ์บุคคล และอัตลักษณ์ทางสัคม โดยศึกษาความคาบเกี่ยวและปฎิสัมพันะ์ของทั้งสองระดับนี้
              ธงชัย วินิจะกุล กล่าวถึงแนวคิดนี้ว่า เมื่อกเกิความหลากหลยของอัตลักษณ์ในบุคคลคนหนึ่งทำให้เกิดพลังบางอย่าขึ้นโดยเฉพาะในอัตลักษณ์ร่วมทางวัฒนธรรม เช่น วรรณะ กลุ่มชาติพันธุ์ ศาสนา ชาติ เป็นต้น
              แอนโทนี สมิธ นักมานุษยวิทยาชาวอังกฤษเห็นว่ ชาติที่ดำรงอยู่มานานแล้วมีลักาณะบางอย่างที่สืบต่อมาจากการเป็น "ชุมชนชาติพันธุ์" โดยสมิธประยุกต์มาจากภาษาฝรั่งเศส ดังนั้นแต่ละชาติจึงมีลักษณะบางอย่างเป้ฯของตนเอง บังผลให้พลเมืองของชาติแต่ละแห่งมีลักษณะแพาะของตนเองแตกต่างกันไป
             http://dcms.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=214342&query=%CD%D1%B5%C5%D1%A1%C9%B3%EC%E4%B7%C2&s_mode=any&d_field=&d_start=0000-00-00&d_end=2560-11-30&limit_lang=&limited_lang_code=&order=&order_by=&order_type=&result_id=1&maxid=6 chapter 2
ตามแนวคิดเรื่องอัตลักษณ์ดังที่กล่าวแ้วผุ้วิจัยพิจารณาเห้นว่าอัตลักษณ์ คือ ลักษณะเฉาพะของคนไทย หรืออัตลกัษณ์ไทยหมายถึงบางอย่าที่ติดอยู่ในสายเลือดของคนไทย และลักษณเฉพาะของคนไทยที่ไม่เหมอนกับชาติอื่น อัตลักณ์ไทยเกิดจากความคิดความเชื่อ และถูมิปัญญาในการดำรงอยู่และพัฒนาของสังคมไทย กล่าวอีนัยกนึ่ง อัตลักษณ์ไทยก็คือ วิถีไทย หรือลักษระไทย หรือกระบวนทางสังคมไทย ไม่ว่าชนชาติไหนหรือสมัยใดก็ตามมนุษย์เราสงสัยกันว่ "เราคือใค และเราจะอยู่กันอย่งไร" ในโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ซเรื่องเช่นนี ซึ่งก็คือ ควาต้องการอยากรู้เกี่ยวกับอัตลักษณ์ของัวเองพิจารณากัว่า เป้นเรื่องสำคัญๆ ที่จะต้องกำหนดไว้ การเปลี่ยนแปลงอัตลกัษณ์ไทยเกิดขึ้นเรื่อยๆ ตามพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ มโนทัศน์ และจิตภาพทางสังคม คนไทยจึงจำเป็นต้องปรับเเปลี่ยนมุมมอง หรือวิะีคิดเกี่ยวดับัชัวเองใันการณ์ มิฉะนั้นจะไม่สามารถปรับตัวได้ยอย่างมีพลัง ดังนั้นอัตลักษณ์ไทยที่สร้างขึ้นมาจึงตอบได้ว่า "ประเทศไทย" คือใครในอดีต คืออะไรในปัจจุบัน มุ่งจะป้ฯอะไรในอนาคต การปรับเปลี่ยนมุมอง หรือวิธีคิดเกี่ยวกับตัวเอง มิได้หมายถึงการละท้ิงจินตภาพเดิมถึงแม้ว่า ชาวไทยจะได้รับประเพณี ความเชื อและเทคโนโลยีระดับสูงมาจากอินเียตั้งแต่สัมยสุโขทั แตตค่คนไทยก็ไม่ต้องการร่วมอัตลักาณ์กับอินดีย หรือ ศรีรลักา และเรียกเขาว่า "แขก" ปละเรียกชาวตะวันตกว่า "ฝรั่ง" ตามชาวอินเดียและเปร์เซีย เช่น พุทธศาสนาในเมืองไทยเปลี่ยนแรูปแบบมาเป็นแบบไทย หนังสือศักดิ์สิทธิที่กำหนดเอกลักษณ์และอุดดมคติพุทธศาสนไทย คือไตรภูมิพระร่ง เป็นต้น

วันพุธที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

Community Identity to Education Foundation

             อัตลักษณ์ชุมชนรากฐานสู่การศึกษา ชุมชนแต่ละชุมชนย่อมมีแหล่งที่มแตกต่างกัน อาจเนื่องด้วยพื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมและเมื่อเวลาผ่านไปก็ส่งผลถึงบทบาทของชุมชนในการที่จะสรางอตลักาณ์ ซึ่งเป้นที่บงลอกความเป็นตัวตนของชุมชน อันเป็นภูมิปัญาที่มีความโดยเด่น ซึ่งควรค่าแก่การสืบสานและถ่ายทอดไปยังคนรุ่นหลัง ฉะนั้นแล้วสิงทีสำคัญที่สุด คือการเข้าใกล้ เข้าใจและเข้าถึง รู้จักชุมชนหรือท้องถ่ินของตนเองอย่างถ่องแท้เพื่อที่จตะสามารถถ่ายทอด สืบสาน และแห้ปัญหาในท้องถ่ินนั้นได้โดยที่ไมีการนำมาเรียนรู้เข้าสู่การศึกษาโดยเน้นการถ่ายทอดภูมิปัญญา อันเป็นตัวตนของท้องถิ่น
นั้นๆ ด้วยวิธีการที่หลากหลายและเหมาะสม จึงจะทำให้เป็นการเรียรู้และเป้นการเรียรฮุ้ที่ยั่งยืนและมีความหมายเพราะองค์ความรู้ในชุมช ท้องถ่ิน และภ๓มิปัญญา มีอยู่มากมาย หากแต่ขาดการถ่ายทอดและการเรียรู้ ซึ่งทั้งนี้จะต้องส่งเสริมให้มีการเรียนรู้โดยเป้นการเรียนรู้ตลอกชีิวติอย่างยั่งยืน และด้วยความสำคัญขององค์ความรุ้อันเป็นภูมิปัญญาท้องถ่ินที่เป็นอัตลักษณ์ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องนำพเอาภูมิปัญญาท้องถ่ินเข้ามาปรับใช้ในการเรียนการสอนเพื่อที่จะัพัฒนาการศึกษาต่ไป
            ความหมายจของอัตลักาณ อัตลักษณ์ หมายถึง คุณลักษณเฉพาะตัว ซึ่งเป้นตัวบ่งชี้ของลักษณะเฉพาะของบุคคล สังคม ชุมชน หรือประเทศนั้น ๆ อาจรวมถึง เชื้อชดาติ ภาษา วัฒนธรรมท้องเถิน และศาสนา ฯลฯ ซึ่งมีคุณลักษณะที่ไม่ทั่วไปหรือสากลกับสังคมอื่นๆ หรือเป็นลักษระที่ไม่เหมือนกับของคนอืนๆ เช่น หมู่บ้านนี้มีอัตลักษณ์างด้านการจักสาน ใครได้ยิก็จำได้ทันทีโดยที่สังคมแตะละสัวคมย่อมมีอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมเป้นของตนเอง ซึ่ยุคสมัยนี้เป็นยูโลกาภิวัฒน์ทำให้อัตลักษณ์ของังคมเปลี่ยนไปในรูปแบบที่ต่างกันออกไป
โดยที่คำว่า อัตลักษณ์ นั้นยังมีความหมายซ้อนทับกับ คำว่า เอกลัษณ์ ซึ่คงคำว่า เอกลักษณ์ หมายถึง ลักษณะเที่เหมือนกันหรือมีร่วมกัน โดยแบ่งประเภทของอัตลักษณ์ออกเป็น 2 ระดับด้วยกัน คือ อัตลักษณ์บุคคล ซึ่งถือเป็นลักษณเฉพาะัวของบุคคลนั้นๆ ว่ามีความเฉาพะและโดเด่นอย่างไ และอัตลักษณ์ทางสังคม ก็เป็นลักษณ์เฉพาะทางสังคมที่จะบ่งบอกได้ว่าชุมชนหรือสังคมนั้น ๆมีความโดดเด่นในด้านต่างๆ อย่างไร

              อีตลักษณ์ชุมชน นั้งเป็นรากเหง้าหรือวัฒนธรรมทางสังคมที่ถุกก่อให้เกิดขึ้นมาและใช้ในการยึดป็นภูมิปัญญาขนบธรรมเนียม ประเพณีในการปฏิบัติในสังคมสังคมนั้น ๆ ซึ่งมีัลักษณะของความโดดเด่นหรือมีความแกต่างกับขนบธรรมเรยมประเพณและวัฒนธรรมของสังคมอื่นๆ ซึ่งเป็นลักษระเฉพาะถ่ินที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะอลุ่มชุมชน
               การศึกษาไทยในปัจจุบัน จากสภาพการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ซผ่านกระแสโลกาภิวัฒน์ และโลกไซเบอร์ ทำให้คนไทยมุ่งแสวงหาคามสุขและสร้างอัตลักษณ์วนตัวผ่านเครื่อข่ายสังคมออนไลน์ เกิดเป็นวัฒนธรรมย่อยร่วมสมัยที่หลากหลายในรูปแบบการ่วมกลุ่มของบุคคลที่สนใจเรื่องเดี่ยวกันโดยที่วัฒนธรรมที่บ่งบอกความเป้นไทยไม่สามารถแสดงบทบาทที่ชัดเจน ขณะเีดยวกันสังคมไทยก็เผชิฯกับความเสื่อมถอยด้านคุณธรรมจริยธรรม ซึ่งสะท้อนได้จากคนในสังคมมคีความถี่ในการใช้ความรุนแรงในการแก้ไขปัญหาได้ไม่เต็มที ผุ้ที่ใช้ความรุนแรงมักขาดความยับยั้งชั่งใจ มีพฤติกรรเมเลีวนแบบหรืออาจเกิดจากการเลี้ยงที่ดุขาดการใช้เหตุใช้ผล ขาดความเอื้อเฟื้อเอ้ออาทร ส่งผลให้ความมีคุณธรรมและจริยธรรมของคนในสังคมลดน้อยลง (แผนพัฒนาเศราบกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบัยที่ 11) ทั้งยังเป้ญุคแห่งข้อมูลข่าวารและเทคโนโลยีที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดการเปลียนแปลงในหลายด้าน ได้แก สังคม วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การสื่อสาร การศึกษา และการคนมนาคมการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวสส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิต
ของคนในชุมชนและสังคม การเจริยเติบโตทางเศรษฐกจิและกระแสโลกาภิวัฒน์ มัผลกระทบต่อวัฒนธรรมประเพณีดั้งเดิมที่ดีงาม ส่งผลให้สังคมไทยมีความเป็นวัตถุนิยม พฤติกรรมของคนในสังคเปลี่ยนแปลง ให้ความสำคัญกับศีลธรรมและวัฒนฦธรรมที่ดีงามลดลง ทั้งการดำรงชีวิตประจำวัน การใช้ชีวิตและความสัมพันะ์กับผุ้อื่น มุ่งหารายได้เพือสนองความต้องการการช่ยเลหือเกื้อกุลดกันลดลง ความมีน้ำใจไมตรีน้อยลง เกิดการแก่งแย่งเอารัดเอาเปรียบกัน ทำให้คนไทยขาดความสามคคี ขาดการเคารพสิทธิผุ้อื่น และการยึดถือประโยชน์สวนร่วมส่งผลต่อวิถีชีวิตคนไทยทั้งระดับครอบครัว ชุมชน และประเทศสงผลให้เกิดปัญหาเก็กและยาชนททั้งในเมืองและในชุมชนท้องถ่ิน
              นโยบายแผนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปี ของกระทรวงศึกษาธิการ ได้กล่าวถึง สภาพปัจจุบันของการศึกษาไทยเกี่ยวกับหลักสุตรและกระบวนการเรียนการสอนว่า หลักสูตรส่วนใหย่จะมีเนื้อหาสาระความรู้ะดับชาติและสากลจนแทนบจะไม่มีความรุ้เกี่ยวกับท้องถ่ินที่อยู่ใกล้ตัวผุ้เรียน ทำให้ผุ้รเียนไม่รู้จักตนเอง ไม่รุ้จักชุมชน ท้องถ่ิ่น ของตนว่ามีคความเป้นมาอย่างไรและมีทรัพยากรอะไรบ้าง ดดยที่การศึกาาของไทยได้ทอดท้องิของดีที่เรามีอยงุ่ คือภุมิปัญญาท้องถ่ินโดยเื่อมีการับระบบการศึกษาแบบตะวันตกเข้ามา ก็ทำให้นักการศึกษาไม่สนใจ ไม่ปรับปรุงและไม่ยอย่อภูมิปัญญาไย ทำให้สุญเสียมรดกที่ล้ำค่าของชาติไปมาก ทั้งสังคมไทยละเลยไม่ให้ความสำคัญกับ
ภูมิปัญญาไทยมานาน เมือ่โรงเรียนมีระบบที่สอนกระทรวงซึกษาธิการ ความรุ้แบบสากลมากขึ้น ฉะนั้นการศึกษาเกี่ยวกับภุมิปัญญาอันเป็นอัตลักษณ์ ซึ่งเป็ฯการนำเอาสิ่งดีๆ ที่เกิดจากองค์ความรุ้ของพรรพบุรุษไทยในอดีตกลับมาสู่ สังคมไยอีกคร้งและเชื่อได้แน่ว่าทั้งในปัจจุบัน อนาคต จะสามารถเผชิญหน้ากับปัญหาต่างๆ ได้โดยใช้ภูมิปัญญาของไทยที่มีอยุ่ ตัวอย่างเช่นในปัจจบุันที่เป็นโลกแ่ห่งข้อมุลข่าวสารและเทคโนโลยีคงปฏิเสธไม่ได้ว่าส่งผลให้พฤติกรรมของคนในังคมเแลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้เกิดปัญหาเด็กและเยาวชนทั้งในเมืองและในขชุมชนท้องถ่ิน ทำให้ไม่รู้ถึงรากเหง้าของชุมชนตัวเอง ไม่รู้วามีสิ่งที่มีค่ามากมายนั้นคือภุมิปัญญาท้องถ่ิน ของตนเอง ที่สามารถนำปใช้เป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตได้ตรอง เพราะในแต่ละบริบทของท้องถ่ินก็ย่อมมีภูมิปัญญา ที่เป็นอัตลักษณ์ที่แตกต่งกันออกไป ดังนั้นนการจัดการศึกษา ความนำภูิปัญญาท้องถ่ินเข้ามามีส่วนร่วใดดยกา
รถ่ายทอดองค์คามรุ้จากคนรุ่งหนึงไปู่อีกรุ่นหนึ่งดดยมีการจัดกิจกรรมกาเรียนรุ้ที่สอดคล้องกับวิ๔ีชีิวติของคนในชุมชน จนเกิดองค์ความรุ้เ กิดอาชพีทั้งยังเป้นความภาคภุมิใจของคนในชุมช และเพื่อเป็นการถ่ายทอดความรุ้และสืบสานภุมิปัญญญาซึ่งการนำเอามรดกทางภูมิปัญญาท้องถ่ินอันเป็นอัตลักษณ์ เข้ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนซึ่งจะทำให้เด็กและเยาวขชได้รับประโยชน์จากการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ินอันเป็อัตลักษณ์ในท้องถ่ินของตนเอง และยังเป็นการปลูกฝังรากฐานให้เด็กและเยาชนมีความรักความผูกพันกับท้องถ่ินตนเอง โดยมุ่งเน้นปลูกฝังให้เด็ได้เรียนรู้ภูมิปัญญาอันเป็นอัตลักษณ์ที่มีความสอดคล้องกับชีวิตจริง เพราะจำทให้เด็กได้เรียนรู้และเข้าใจ เกิดเป็นความผุกพันและภาคภูมิใจในท้องถ่ินของตนเอง เรพาะการศึกษานั้นถือเป็เนครื่องมือสำคัญใการพัฒนาคน สร้างความเสมอภาค และโอาสทุกคนได้รับการศึกษาอย่างทั่ววไถึงและากรศึกษาเป็การให้โอกาสแก่ทุกฝ่าย และการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนให้เป็นมุนษย์ที่สมบูรณืทั้งีร่างกาย จิตใจและสติปัญญา ความรุ้และคุณธรรมในการดำรงชีิตให้สามารถอยุ่ร่วมกับผุ้อื่นได้อย่างมีความสุข ดังนั้นในการที่จะพัฒนาคนให้มีคุณภาพจึงจำเป็นที่จะต้องอาศัยหลักการ วิะีการหรือรูปแบบต่างๆ ที่สามารถจะผสมผสานความรู้ตามหลักสากลกับความต้องการรวมถึงสภาพของ้องถ่ินั้น ๆ เข้าด้ยกันอย่งเหมาะสมกลมกลืน ฉะนั้นแล้วจึงมีความจำเป็นที่จะต้องนำเอาภูมิปัญญาอันเป็นอัตลักษณ์มาถ่ายทอดและสอดแทรกเพื่อเป็นรากฐานในการศึกษาต่อไป
              ฉะนั้นภูมิปัญญาท้องถิ่น จึงถือเป็นแหล่งความรุ้ในท้องถ่ินที่อยู่ใกล้ชิดกับตัวเด็กมากที่สุด โดยการที่นำภุมิปัญยาท้องถ่ินมาใช้ในการจัดการศึกษาว฿่งมีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของเด็กและเยาชนในชุมชนนั้นๆ อย่างแท้จริง ซึ่การนำเอมรดกทางภูมิปัญญาท้องถ่ินอันเป็นอัตลักษณ์เข้ามช้ในการจัดการเรียนการสอนซึ่งจะทำให้เด็กและเยาชนได้รับประโยชน์จากการเรียนรู้ภุมิปัญญาท้องถ่ินอันเป็นอัตลักษณ์ในท้องถิ่นของตนเอง โดยถือเป็การปลูกฝังรากฐานให้เด็กและเยาชนมีความรักความผูกพันกับท้องถ่ินตนเอง โดยมุ่งเน้นปลูกฝังให้เด็าได้เรียนรู้ภูมิปัญญาอันเป็นอัตลักษณ์ที่มีความสอดคล้องกับชีวิตจริง เพราะจะทำให้เด็กได้เรียนรู้และเข้าใจ เกิดเป็นความผุกพันและภาคภูมิใจในท้องถ่ินของตนเอง อันจะนำไปสู่การวางราบฐานทางการศึกษาขอวเด็ไทยอย่างยั่งยืนสืบไป....
   
วารสารครุศาสตร ม.ราชภัฎมหาสารคาม ปีที่ 9 ฉบับที 1 (16) ประจำเดือนมกราคม-มิถุนายน 2555, "อัตลักษณ์ชุมชนรากฐานสู่การศึกษา", โดย ชลธิชา มาลาหอม, 

วันอังคารที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

Identities in the Uniqueness of National Museum of Japanese History

             อัตลักษณ์ในเอกลักษณ์ : พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติญี่ปุ่นประเทศไทย
             พิพิธภัฒฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติญี่ปุ่น" ตั้งอยู่ที่เมืองซากุร จังหวัดชิบะรัฐบาลฐี่ป่นุสร้างพิพิิธภัณฑ์แห่งนี้ขึ้นเนื่องในวาระครอบรอบ 100 ปี แห่งการปฏิรูปประเทศสมัยเมจิ จโดยเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1983 พิพิธภัณฑ์แห่งนี้เป้นทีเดี่ยในประเทศญี่ปุ่นที่มีลักษณะเฉพาะเป็นเอกลักษณ์สสำคัญ คือเป็นพิพิธภัณฑ์ประัตสาสตร์แห่งชาติเป้น "สถาบันการวิจัยระหว่างมหาวิทยาลัย"ด้านประวัติศาสตร์ และเป็นศูนย์กลางการศึกษาประวัติศาสตร์ โบราณคดีและวิถีชีวิตชนบธรรมเนียมพื้นบ้าน
             จากลักษณะเฉพาะดังกล่าวมีส่วนทำให้พิพิธภัณฑ์มีวิธีการและเลือกเรื่องราวที่จะนำเสนอในรูปแบบที่น่าสนใจคือ มีข้อมูลที่หลากหลาย มีกลักการทางวิชาการมากกว่าที่อื่นและให้ความสำคัญกับคุณค่าทางวัฒนธรรมและวิถีชีวิตคนในสังคม ภาพประวัติศาสตร์ที่ปรากฎในการจัดแสดงจึงไม่ใช่้ภาพวีรกรรมความกล้าหาญของบรรพบุรุษของผุ้ปกครองหรือของกลุ่มอำนาจแต่เป็นภาพวิถีชีวิตที่เป้ฯสามัญของผุ้คนทุกกลุ่มที่อยุ่ร่วมกันบนเกาะญี่ปุ่น สะท้อนให้เห็นว่าคนทุกกลุ่มคือผุ้ที่สร้างและพัฒนาวิธีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณีของตนเองจนเป้นอัตลักาณ์ของชาติปัจจุบัน..
            พิพิธภัณฑ์กับฃลักษณะพิเศษที่เป็นหนึ่งเดี่ยว
           
 นอกจากมีรูปแบบอาคารและลักษระสถปัตยกรรมที่น่าสนจแล้ว พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ยังมีลักาณะเฉพาะบางประการคือ
              - ในฐานะพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติแห่งเดียวในประเทศญีปุ่น
              - ในฐานะ "สถาบันการวิจขัยระหว่างมหาวิทยาลัย" ด้านประวัติศาสตร์แห่งเดี่ยในประเทศญี่ปุ่น
              - ในฐานะศูนย์กลางการศึกษาประวัติศาสตร์ โบราณคดีและวิถีชีวิตขนบธรรมเนียมพื้นบ้านแก่งเดี่ยวในประเทศญี่ปุ่น
               1 ในฐานะพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติแห่งเดียวในประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่นเป็นประเทศหนึ่งที่มีพิพิธภัณฑ์จำนวนมากถ้าพิจารณาจากสังกัดจะแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ พิพิธภัฒฑ์ของรัฐกับพิพิธภัณฑ์เอกชน และในพิพิธภัณฑ์ของรัฐก็แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือพิพิธภัณฑ์แห่งชาติและพิพิธภัณฑ์ของหน่วยงานราชการในท้องถ่ิน พิพิธภัณฑ์ในญี่ปุ่นมีมากมายหลายชนิ จากการสำรวจของกระทรวงศึกษาธิการวัฒนธรรมกีฬาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประเทศญี่ปุ่นมีพิพิธภัฒฑ์ทั้งที่ขึ้นทะ
เบียบและไม่ขั้นทะเบียบรวมทั้งสิ้น กว่าหกพันแห่ง และในพิพิธภัณฑ์จำนวนมากที่มีอยุ่นั้นพิพธภัณฑ์ประวัติสาสตร์มีจำนวนมากที่สุดคือ สามพันสามร้อยแห่ง ในบรรดาพิพิธภัณฑ์ที่มีอยู่จำนวนมากนี้พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติมีเพียงที่เดี่ยวคือพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสต์แห่งชาติญี่ปุ่น ที่เมืองซากุระ จังหวัดชิบะ
               2 ในฐานะ "สถาบันการวิจัยระหว่งมหาวิทยาลัย" ด้านประวัติศาสตร์แห่งเดียวในประเทศญีปุ่่น "สถาบันการวิจัยระหว่างมหาวิทยาลัย" คือประชาคมทางวิชาการชั้นนำของโลกท่ี่เป็นรูปแบบเฉพาะของญีปุ่น เกิดขึ้นเมือรัฐบาลญี่ปุ่นมีนโยบายที่จะพัฒนาและส่งเสริมงานวิจัยให้ก้าวหน้ามากยิ่งขึ้นด้วยการตั้งสถาาบันแห่งชาติในด้านต่างๆ 5 ส่วนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สถาบันแห่งชาติทั้ง 5 แห่งจะมี
"สถาบันการวิจัยระหว่างมหาวิทยาลัย" ในสังกัดทำหน้าที่เป้นสถาบัวิจัยระดับสูงและผนวกรวมกันเป้นสถาบันการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยภายใต้ชื่อ
"มหาวิทยาลัย โซเคนได" ให้การศึกษาเฉพาะระดับปริญญาเอก โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่เมือง ฮายาม่า จังหวัด คานาซาว่า
               สำหรับพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติญี่ปุ่นตั้งแต่เร่ิมก่อตั้งขึ้นอยู่กับกระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ต่อมาในปี ค.ศ. 2004 ถุกกำหนดให้ขึ้นต่อ เนชั่นอินทิทิวส์ ฟอร์ เดอะ ฮิวแมนนิตี้ ซึ่งเป็นองค์กรใหม่ของกระทรวงศึกษาธิการฯ มีฐานะเป็น สถาบัน วิจัยมหาลัยนานาชาติ ร่วมกับสถาบัอื่นอีก 6 แห่ง
               3 ในฐานะศุนย์กลางการศึกษาประวัติศาสตร์ โบราณคดีและวิถีชีวิตขนบธรรมเนียมพื้นบ้านแห่งเดี่ยวในประเทศญี่ปุ่น
               นอกจากลักษณะเฉพาะที่เปลี่นไปตามนโยบายและการจัดระเบียบบริหารองค์กรของรัฐบาลแล้วพิพิธภัฒฑ์ยังมีหน้าที่เฉาพะที่เปลียนไปตามนโยบายและการจัดระเบียบบริหารองค์กรของรัฐบาลแล้วพิพิธภัณฑ์ยังมีหน้าที่เฉพาะเกี่ยวกับงานด้านประวัติศาสตร์ในฐานะที่สูรย์กลางความรู้ที่สำคัญ ...
           
 ศ.โคชิมา มิชิฮิโร ศ.ประจำพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติญีปุ่นและบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัย โซเคนได ได้อธิบายเกตุผลว่า "ภาพรวมวิถีชีวิตคนธรรมดาสามัญถือเป็นแนวคิดหลัก ของพิพิธภัณฑ์แห่งี้เพราะเป็นคนกลุ่มหใหญ่ในสังคม อย่างไรก็ามพิพิธภณฑ์อื่นๆ ก็มีจัดแสดงวิ๔ีชีิวติของคนธรรมดาสามัญเช่นกันแต่ไม่ใบ่เป้นแนวคิดหลัก นอกจานี้พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ก็ไม่แสดงประวัติศาสตร์ผุ้นำ เช่น ฝดซกุล ไดเมียว หรือผุ้นำชุมชน เพราะเรื่องราวของผุ้นำมีจัดแสดงในพิพิธภัฒฑ์แห่งชาติจะแสดงภาพของประชาชนเป็นสำคัญ ประวัตศาสตร์ผุ้นำมีหล่าวถึงมากแล้วในหนังสือและในหนังสือแบบเรียนนอกจากนี้ประวัติศาสตร์ไม่ได้เกิดขึ้นได้ด้วยการกระทำของคนเพียงคนเดียว แต่เป็นประวัติศาสตรื๘องคนหลายฝ่ายหลายกลุ่ม พิพิธภัฒฑ์แห่งนี้จงต้องการให้เห็นภาพคนส่วนใหญ๋ในประวัติศาสตร์"
          พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์หลายแห่งมักจะใช้ "ประวัติศาสตร์โศกนาฎกรรม" เน้สภาพความโศกเศร้าความเจ็บปวด และความเสียหายที่ประเทศเป็นฝ่ายถูกกระำท รวมทั้งอาจจะสร้างภาพของวัรบุรุษที่ปรากฎตัวขึ้นเพื่อนำพาชาติให้หลุ่มพ้นจากโศกนาฎรรมมาเป้นเครื่องมือในการจัดแสดงเพื่อดึงให้คนในสังคมเกิดความรุ้สึกร่วมเป็นหนึ่งเดียว
           แต่ในฐานะพิพิธภัฒฑ์แห่งชาติในฐานะสถาบันการศึกษาและใน
ฐานะศูนย์กลางการศึกษา พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชติญี่ปุ่นมีวิธีการจัดแสดงที่ต่างออกไป มีช้อมุลที่หฃากหลายและมีหลักการทางวิชาการมากว่าที่อื่น โดยให้ความสำคัญกับคุณต่าทางวัฒนธรรมและวิถีคนในสังคมใช้เป็นเครื่องมือในการบอกแล่าพัฒนาการของชาติ ภาพประวัติศาสตร์ที่ปรากฎในการจัดแสดงจึบงไม่ใช่ภาพวีรกรรมความหล้าหาญของบรรพบยุรุษ ของผุ้ปกครอง หรือของกลุ่มอำนาจ แต่เป็นภาพวิถีชีวิตที่เป็นสามัญและความพยายามของผุ้คนทุกกลุ่มที่อยู่ร่วมกันบนเกาะญี่ปุ่น
           พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แก่งชาติญีปุ่น สะท้อนให้เห็นว่าคนทุกกลุ่มคือผู้ที่สร้างและพัฒนาวิถีชีวิตวัฒนธรรม ประเพณีของตนเองจนเป็นอัตลักาณ์ของชาติปัจจุบัน ดังนั้นส่ิงที่เห้ฯและเป็นอยู่ในสังคมไม่ได้เกิดจากคุณูปการของกลุ่มอำนาจหรือชนชั้นปกครองแต่เพียงเท่านั้น แต่ทั้งหมดทั้งมลคือความงดวามและรุ่งเรืองทางวัฒนธรรมร่วมกันของคนทุกชันชั้นบนเส้นทางปรวัติสาสตร์ชาติที่ยาวนาน...
         
         บางส่วนจากบทความ "อัตลักษณ์ในเอกลักษณ์ : พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติญี่ปุ่นประเทศไทย"นงค์ลักษณ์ ลิมศิริ, สถาบันการจัดการปัญญาพิพัตร,
         

วันจันทร์ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

Cultural identity

          อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม : มิตินิทัศน์เพื่อพิจารณาอัตลักษณ์ของชาติ
          วัฒนธรรมเกิดขึ้นจากความเป็นมนุษย์ ที่จะต้องอยู่รวมกันเพือสามารถดำรงอยู่ไดและกาอรอยู่ร่วมกันก็ต้องมีการสร้างอะไรบางอย่าง และส่ิงที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อให้ดำรงอยู่ร่วมกันให้ได้นั้นคือส่ิงที่เรียกว่า วัฒนธรรมซึ่งจะแตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อมของแต่ละสังคมซึ่งลักษณะเด่นของแต่ละวัฒธรรมที่เป็นลักาณะเฉพาะของสังคมที่ทำให้แต่ละสังคมแตกตางกันนั้นเรยกว่า อัตลักษณ์ ฉะนั้นอัตลักษณ์ถือได้ว่าเป็นผลรวมของการดำเนินการหรือการกำรกระทำของสังคมนั้นๆ
            ลักษณะเฉพาะทางวัฒนธรรมในด้านตางๆ ในแต่ละสังคมที่หลากหลายของโลกนี้นั้น เราสามารถเปรียบเทียบความแตกต่างพื้นฐานระหว่าง "ลักษณะตะวันตก" และ "ลักษณะตะวันออก" ด้วยใช้เกณฑ์ขงอ แอนเดอร์สัน เจน เซอร์แวซส์ ที่ได้สรุปไว้ในหนังสือ คอมูนิเคชั้น เยียร์บุค ในบทความเรื่อง " Cultural Identity and Modes of Communication" ซึ่งสามารชี้ให้เห็นลักษณะของแต่ละวัฒนธรรมโดยทัวไปไว้คือ
            - แนวคิดเกี่ยวกับโลก ในวัฒนธรรมตะวันออกนั้นมีความเชือในเรื่องของความเป็นหนึ่งเดียวกับ โลกและจักรวาล ในขณธที่โลกตะวันอตกนั้นเชื่อในอำนาจ แห่งการควบคุม ความรู้ ในแบบของโลกตะวันออก นั้นมีจุดหมายไปในวิถีทางที่ดีกว่าและทำให้ใกล้ชิดยิ่งขึ้นที่จะพบกับการสอดประสานกันอย่างกลมหลือนระหว่างธรรมชาติและมนุษย์ในขณะที่ความรู้แบบตะวันตกจะมีจุดมุ่งหมายในเรื่องของความสงบสุขที่ควบคุมได้ และเพื่อให้ระบบระเบียบเป้ฯคุณค่าที่ดีที่สุด
            - แนวคิดเกี่ยวกับตัวบุคคล ในวิะีการสื่อสารแบบตะวันตกนั้นจะเน้นให้ความสำคัญกับภาพลักษณ์ส่วนบุคคลเป็นสำคัญโดยใมีจุดยืนอยู่ที่ความเป็นตัวของตัวเอง นขชณะที่การสื่อสารแบบบริบทวัฒนธรมตะวันออกนั้นจะคำนึงถึงบทบาทกลุ่มหรือการทำตัวเองให้เป็นไปตามแนวทางของกลุ่มมากกว่า เป้นการให้กลุ่มเรียกหรือกำหนดสถานภาพของตนในสังคม
จอรฺจ เฮอร์เบิรฺต มีด
            - ความสัมพันธ์ทางสังคม แนวความคิดความสัมพันธืแบบมีลำดับชั้น ยังคงดำรงอยู่และถูกเน้นย้ำอย่งชัดแจ้งในโลกตะวันออก แต่ละบุคคลจะไม่เท่าเทียมกันจะต้องมีการจัดแบ่งระดับมีคนที่อยุ่สูงกว่าหรือต่ำกว่าในทุกวงการไม่ว่าจะเป็นในสภาบันทงสังคมใดก็ตามทั้งครอบครัว บริษัทหรือที่โรงเรียน เป็นต้นขณะที่โลกตะวันตก นั้นจะเน้นการสื่อสารแบบทางนอนและความสัมพันธ์แบบเท่าเที่ยมกัน
            - วิธีการสื่อสารการสือสารแบบตะวันตก นั้นจะมีรูปแบบที่ตรงไปตรงมาและชัดเจน มีการใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการแลกเปลี่ยนความคิดยึดมั่นในการแสดงให้ผุ้รับสารได้รับทราบข้อเท็จจริงทั้งหลายด้วยการใช้เหตุและผลมายืนยันเพื่อโน้มน้าวให้เชื่อมั่น ใความสำคัญต่อสารที่สงออกไป หรือสนใจการเข้ารหัส จะเรียกได้ว่าการสื่อสารประสบความสำเร้๗ก็เมื่อผุ้รับสารเข้าใจในสารที่ส่งออกไปในขณะที่การสื่อสารแบบตะวันออก มัลักษณะที่อ้อมค้อมและแฝงด้วยความหมาย ขึ้นอยุ่กับสถานการณ์ เพื่อรักษาความสัมพันธืและความรู้สึกและให้ความสำคัญกับผุ้รับสารมากว่า
            ขณะที่ชาวตะวันตกเร่ิมการสนทนาด้วยเป้าหมายที่ัชัดเจนพวกเขาต้องการพูดหรือได้รับบางส่ิงบางอย่างไม่ว่าจะเป็นวัตถุ หรือไม่ใช่วัตถุก็ตาม แต่สำหรับชาวตะวันออกน้นถือว่าการสนทนานั้นคือการแลกเปลี่ยนทางอารมณ์ ซึ่งความพึงพอใจในการสื่อสารนับเป้นส่ิงสำคัญโดยในาการสื่อสารระหว่งบุคคล นั้นชาวตะวันออกจะพยายามประเมินความรู้สึกและสถานะทางจิตในเวลานั้นและเน้นการพยายามสื่อสารแบบองค์รวม ชาวตะวันออกจะเห้นว่าข้อเท็จจริง จะถูกเปิดเผยเมื่อเขาหรือเธอ พร้อมสำหรับมันหรือในอีกทางหนึ่งก็คือเมื่อความรุ้ที่ได้รับนั้นเพียงพอ และความเขาใจได้ถูกสะสมีวบรวมขึ้น ชาวตะวันตกคาดทำนายทัศนคติของพวกเขาด้วยคำนึงถึงธรมชาิและเทคโนโลยี ในการที่พวกเขาต้องการจะสั่งการและควบคุมในสิ่งเหล่านี้แต่ชาวตะวันออก จะพยายามเพื่อให้ทั้งคู่ประสบความสำเร็จในการเกิดความสัมพันธ์ที่สอดประสานกลมกลืนกัน กล่าวโยสรุปแล้วเราแบ่งแยกวิธีการสื่อสารแบบตะวันตกและตะวันออกด้วย 3 เรื่องนี้คือ การหยั่งรู้/รู้โดย สัญชาตญาณ แนวคิดเหตุผลนิยม และแนวคิดแบบประจักษ์นิยม
          การใช้ภาษาเพื่อากรสื่อสารของชาวเอเชียในหลายๆ กลุ่มชนนั้นมัมีลักษณะพิเศษตรงที่มันเป็นภาษาที่มีระดับในการใช้คำพูด โดยอ้างอิงตามอายุ สถานะทางสังคม และรูปแบบของการปฏิสัมพันะ์ทางสังคม คนๆ หนึ่งจะต้องใช้ชื่อเรียกและรุปแบบของการใช้คำนำหน้าในการเรียกหรือกล่าวถึงด้วยคำที่แตกต่างกันเมื่อจะสนื่อสารกับคนที่อ่อนกว่าหรือแก่กว่ช่วงชั้นสูงกว่าหรือต่ำกว่า จัดเป้นการใช้ภษาาแบบแบ่งระดับสูงต่ำ ที่ซึ่งในโลกตะวันตก นั้นรูปแบบภาษาอังกล่าวนี้มันค่อยๆ หายไปอย่างช้าๆ
          ลิตเทิต จอห์น ได้กล่าวถึงแนวคิดของ จอร์จ เฮอร์เบริท มี๊ด นักทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ ว่านการสื่อสารที่เกิดขึ้นแต่ละครั้งนั้น ผู้สื่อสารควรต้องคำนึงถึงเรื่อง "ตัวตน" หรือ โดยนัยเดียวกัน "อัตลักษณ์" ด้วยเนหื่องจากมนุษย์มีการโต้ตอบกับตนเองเช่นเดียวกับมีการโต้ตอบกับผุ้อื่น ตัวตนหรือ อัตลักาณ มีหลายระดับตั้งแต่ ระดับบุคคล ระดับสังคม ระดับตัตนของมนุษย์ นอกจานี้ มี๊ด ยังเสนอแนวคิดว่า การที่มนุษย์จะมี เซลฟ์ คอนเนคชั่น ได้ก็ เนื่องมาจาการพูดคุยกับบุคคลอื่นในวสังคม กล่าวคื อเมื่อมีการสื่อสารระหว่างบุคคลเกิดขึ้นนั้น จะดูว่าพฤติกรรมสื่อสารของคู่สื่อสารที่มาจากต่างวัฒนธรรมมแนวโน้มการถอดรหัสสารอย่างไรมีองค์ประอบอะไรบ้างเป็นตัวกำหนด ตั้งแต่องค์ประกอบใหญ่คื อวัฒนธรรม สังคม ไปจนถึงองค์ประกอบที่เล็กลงมาคือลักาณะเฉาพะของแต่ละบุคคล ฉะนั้น การก่อรูปทรงอัตลักษณ์ของสภาพสังคมจำเป็นต้องอาศัยบทบาทแห่งบริบทของตนเอง และการสร้างรูปแห่งตัวตนของมนุษย์ให้ดีมากขึ้น

             วิทยานิพนธ์ "อัตลักษณ์ของชาติตามนโยบายการศึกษา", โดย ธงชัย สมบูรณ์, ม.รามคำแหง คณะศึกษาศาสตร์, บทที่ 2 หน้า ตอนที่ 3 หน้า 48-51, 2553.
           
           
         

วันอาทิตย์ที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

Teacher : A Tap Root of Nation Identity

             ครู : วิถีแห่งการสร้างอัตลักาณ์ของขาติ
             การศึุกษาไทยจำเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องทำให้ครูมีความรู้สึกผุกพันและหยั่งรากลึคกลงไปในทุกพื้นที่ท้ังในเขตที่อุดมสมบูรณ์ (เขตเมือง) และเขตที่แห้งแล้ง (เขตชนบท) เพราะเป้าหมายของความจริงสูงสุด คือ ความรุ้และธรรมะ ซึ่งความรุ้นั้นเป็นความรุ้มี่สามารถนำมาเป้นหางเสือและปรับใช้ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตประจำวันได้โดยไม่ต้องเกิดสภาวะคับข้องใจหตรือสภาวะทางเลหือก ส่วนะรรมะจเป็นการให้ตระหนักและรับรู้ำด้อย่างเด่นชัดว่า ชีวิตมีคุณค่าและมีความหมายซึ่งทั้งความรุ้และะรรมะนี้ต่างต้งมีครุเป้นผุ้ให้ "ส่วนผสม" นี้เพื่อก่อให้เกิดเป็เนื้อเดีวกัน ฉะนั้น วิถีของการสร้างชาติจึงควรมีทิศทางดังนี้
           1 การลุ่มลึกถึงวิธีสอนของการสร้าฝชาตินิยมครุจำเป็นต้องศึกษาและสร้างกระบวนการและคุณค่่าแห่งวิชาพลเมืองศึกษาและสร้างกระบวนการและคุณค่าแห่งวิชาพลเมืองศักษา ให้เกิดการสำนึกรวมกัน ไม่ว่าจะมีชาติพันธ์ ฐานคติ ความเชื่อ ศาสนา ชนชั้น หรือแม้แต่วัฒนวิถีแห่งตนเอง ต้องสอนให้เกิดความรุ้สึกและความสำนึกของความเป็นเนื้อเดียวกันในความเป้นชาติ ครุจะต้องหล่อหลอมรวม "ความเป้นวัฒนธรรมต่างสี" ลดความต่างสร้างความเหมือน" ทำให้เกิดการก่อรูปแหบ่งความเป็นเอกภาพได้ ซึ่งถือว่าเป็นภารกิจอันทรงเกี่ยต์ในการสร้างชาติ
           2 ความมั่งคั่งทางสติปัญญา ครุจะต้องเป็นตัวกระตุ้นในการที่จะดึงและส่งเสริม "ทุนทางปัญญา" ของลูกศิษย์เพื่อที่จะให้ผลผลติเหล่านี้ได้มีความสามารถ มีศักยภาพ และมีสมรรถนะ ในการผลิตความรุ้ใหม่และการสร้างสรรค์ผลผลิตในด้านต่างๆ ซึ่งจะเป็นส่วนหนึ่งในการส้าความมั่งคั่งและความสั่นคงทางเศรษฐกิจต่อประเทศชาติได้
           3 รื้อฟื้นบ่มเพาอจิตวิญญาณแห่งความสัมพันะ์ระหว่างครูกับศิษย์ จิตวิญญาณแห่งการสอน ครุจะต้องทลายกำแพงการเรียนรู้แบบเก่าให้เกิดสภาวะการเรียรู้พร้อมกันและร่วมกัน สร้างความสมดุลระหว่างการรับรุ้เนื่อหา และการนำไปใช้ได้อย่างชัดเจน ซึ่งแก่นแกนเหล่านี้จะกลายเป็นสารัตถุแหงระบบการศึกษาเชิงคุณค่า โดยอัตโนมัติ
         
จากประวัติศาสตร์ รัฐชาติไทยมีการปรับเปลี่ยนตนเองอย่างรวดเร็ว ซึ่งการอภิวัฒน์อย่างเป็นทางการนี้มีมาตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จจพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งถอืได้ว่าประเทศไทย ได้สร้างดลกสมัยใหม่ให้กับบริบททางการศึกษาดดยภาพฉายที่ชัดเจน เมื่อมการประกาศใช้ดครงการการศึกษาฉบับแรกปี พ.ศ.2441 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน การปรับเปลี่ยนนี้เป้นไปด้วยเหตุแห่งฐานคติที่จะต้องปกป้องและรักษาความเป็นชาติ และมีกานส่งผ่านบริบทของการศึกษาโดยมีครูเป็นผู้ปลูกฝังในการ "ลงรหัส" ในความมหายแห่งรัฐ และความเป็นชาติที่สอดคล้องกัน พลเมืองที่เกิดจากการอบรมขัดเกลาและสังสอนในโรงเรียนนั้น จะต้องมีควารู้สึกว่าเป็นชาติเดียวกันหรือเป็นพวกพ้องเดี่ยวกันอัจะก่อให้เดิดความมั่นคงและเสถียรภาพในรัฐนั้นฉะนั้เนการสร้างชาติดดยากรปลูกฝังความเป็นชาติของครู จำเป็นจะต้องมีองค์ประกอบ 2 ประการ คือ การสร้างชาติโดยการสร้างประวัติศาสตร์ร่วมกัน และการสร้างชาติดดยการสร้าฝสัญลักษณ์ร่วมกัน ซึ่งองค์ประกอบทั้งสองนี้จะหลอมรวมเป้นการสร้างอัตลักษณ์ของชขาติได้เป็ยอน่างดี ฉะนั้น บทสรุปที่ได้จากบทตั้งทางการศึกษาคือ ความสามารถในการดำเนินการสร้างชาติดยมีกระบวนการส่งฝผ่านดังนี้
         1 นโยบายของรัฐชาติ ต้องกลับมาฟื้นฟูวิชาหน้าที่พลเมือง หรอืวิชาพลเมืองศึกษาใหม่ รัฐบาลต้องมีการกำหนดหรือจะต้องสถาปนาความศักดิ์สิทธิ์"เทวาลัยแห่การผลิตครูไ เช่นเดิม
         2 ครูต้องเชื่อมั่นในศักิด์ศรีและยกย่อวคุณต่าแห่งเกี่ยติยศในการสร้างชาติและจุต้องอยู่บนฐานคติว่าเราเป็นครุกันได้คนละอย่าง ละครูคือผุ้ให้ ผุ้เติมเต็มและผุ้มีเมตตา
          3 การปลูกฝังโลกทัศน์ทางสังคม ความจริงและภาพเสมือนจริงจะต้องถุกสถาปนาความศํกดิ์สิทธิ์ทั้งกายภาพ (ปูชนียบุคคล) และชีวภาพ (จิตวิญญาณ) ให้กับสังคมเห็นความสอดคล้องและดยงใยกับสังคมทีเป็นอยู่ได้อย่างชัดเจน เพราะปัจจุบันช่่องว่างทางสังคมของครูยังมีสภาวะความรุนแรงเชิงโครงสร้างให้เห็นปรากฎในบางพื้นที่
          4 สื่อ ซึ่งถือเป็นช่องทางสาธารณะที่บุคคลทั่วไปสามารถรับข่าวสารได้ดี ความเที่ยงวตรง แห่งวิชาชีพนั้นสื่อควรมีการตรวจสอบข้อมูลต่างๆ อย่างถี่ถ้วนและเป็นธรรม ก่อนำเสนอข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับครูทั้งทางบวกและทางลบ ทั้งนี้ผุ้เขียนมิได้ว่าสื่อจะไม่สามารถนำเสนอเรื่องราวในเรื่องทางลบได้ แต่ต้องตระหนักว่า "สร้างภาพหรือสร้างสุข" ให้แก่ผุ้บริโภคสื่อ
           ดังนี้น เส้นทางของ "ครู" รากแก่งแห่งการสร้างอัตลักษณ์ของชาติ" นั้นคงแายภาพออกามชัดเจนกับสังคมปัจจุบันเพียงแต่สิ่งที่ครุจะต้องกระหนักในหน้าที่กสารสอน คือสนอแล้วเกิดภาพอย่างไร สร้างภาพหรือสร้างสุขสอนให้คิดหรือได้คิ สอนแบบเรียนรู้ร่วมกัน หรือเรียนรู้ลอกกัน สอนให้เข้าใจ หรือสอนให้เข้าสมอง และประเด็นที่สำคัญ สอนให้ทำได้หรือสอนให้ได้ทำ บทสรุปเหล่านี้คึงสอดคล้องกับวาทกรรมของ มล. ปิ่น มาลากุล ที่ว่า "ชาติยืนคงอยู่ เพราะครูดี สำคัญนักหน้าที่เรามีอยุ่ งานก่อนสร้างห้างหอ ยากพอพู แต่งานครูยากยิ่งกว่าสิ่งใด"

      - บางส่วนจากบทความ "ครู : รากแก้วแห่วการสร้างอัตลักษณ์ของชาติ โดย ธงขัย สมบูรณ์

วันเสาร์ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

ASEAN identity as a socio - cultural region

             อัตลักษณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมของภุมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในแง่ของภูมิศาสตร์และยุทธศาสตร์ อัตลักษณ์ของเอชียตะวันออกเฉียงใต้ นั้นถึงแม้จะเป็นเรื่องของ "การส้าง" และจินตนาการ โยคนอเมริกันและยุโรปตะวันตก ซึ่งเป้นนักวิจารณ์ที่จะหากฎเกณฑ์ร่วใรการกำหนดความเป้นภุมิภาคของเอเชียอาคเนย์ก็ได้ยอรับว่า "แม้จะเป้นการสร้างแต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในฐานะเป็นภูมิภาคหนึ่ง เป้นความเป้นตริงสำหรับนักวิชาการและประชาชนในแถบนี้ด้วยกันทั้งสิ้น และอัตลักษณ์นี้มีลักาณเป็นรูปธรรมมากขึ้นเมื่องมีการก่อตั้งสมาคมอาเซียนขึ้นมา
          แม้ว่าจะมีความแกต่างกันในการกำหนดแนวคิดและอัตลักษณ์ของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้แต่ก็เป็นที่ยอมรับร่วมกันวว่า มีลักาณะสำคัญทางสังคมและวัฒนธรรมที่เป็นลักษณะร่วมของประเทศตางๆ ในภูมิภาคนี้มากพอที่จะแดงให้เห็ฯลักษณเฉพาะที่แตกต่างไปจากจีน และอินเดีย ถึงแม้ว่าจะไม่ถึงระดับทีจะบอกได้ว่าเป้นลกัษระที่มีร่วมกันของทั้ง 10 ประเทศในภูมิภาคที่มีขอบเขตที่ชัดเจนโดดเด่นและไม่มีข้อโต้แย้งใดๆ ได้ก็ตาม ลักาณะทางสังคมและวัฒนธรรมเหล่านี้นับเป้นลักาณะเฉาพะของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยแท้ แม้จะรับัฒนธรรมจากจีน และอินเดีย สังคมต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเแียวใต้ได้เลือกรับและประยุกต์วัฒนธรรมให้เข้ากับลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมดั้งเดิมของตนเพื่อจุดมุ่งหมายเแฑาะที่เหมาะสมกับผุ้คนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น แม้จะอยู่ภายใต้วัฒนธรรม ฮินดูของอินเดีย แต่ระบบวรรณะไม่ปรากฎในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือแม้แต่ศิลปกรรม หรือการรนัยถือเทพเจ้าต่างๆ ของฮินดูก็ถูกดัดแปลงให้เข้ากับความเชื่อและพิธีกรรมดั้งเดิมของชนพื้นเมืองนอกจากนี้จากหลักฐานทางโบราณคดี และทาง
มนุษยวิทยาพบว่า การเพาะปูลกและการใช้ดลหะในแถบนี้มีอายุนานกว่าที่เคยคาดการณืไว้มาก "กล่าวอีนัยหนึ่ง ภุมิภาคนี้หาใช่ดินแดนล้าหลังที่รับอารยธรรมจากเพื่อบ้านในเขตคใกล้เคียง แต่เป็นดินแดนที่มีกการแรดิษญ์คิดค้นและพัฒนาการของตนเองที่มีเนื้อหาสาระและรูปแบบของวัฒนธรรมร่วมที่แพร่หลายไปตลอดทั้งภูมิภาคตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์และลหังประวัติศาสรตร์จนถึงประมาณรหนึ่งพันปีหลังคริสตกาลที่อิทะิพลของอินเดียเร่ิมปรากฎชัด
           ภาษาศาสตร์ นักภาษาศาสตร์พบว่าภาษาที่ใช้พุดในบรรดาชนพื้นเมืองในหมู่เกาะต่างๆ อยู่ในกลุ่ม ออสโตนีเซียน แพร่หลายอยู่ในหมู่เกาะมาลายู-อินโดนีเซียตั้งแต่ สามหมื่นปีกอ่นคริสกาล เข้าสู่อาณาจักรจามปา ร่วมั้งหมู่เกาะมาดากัสการ์เมือประมาณ สองพันกว่าปี มาแล้ว ภาษาดังกล่าวเป้นต้น
ตระกูลของภาษาที่ใช้ในมาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์(ตากาล็อก) รวมทั้งภาคใต้ของไทย เวียดนาม และเขมร
          ในแผ่นดินให่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รูปแบบภาษามีลักษระซับซ้อนขึ้น แต่กลุ่มภาษาไต-กะได ใช้พุดกันอย่างแพร่หลายในประเทศไทย รัฐฉานพม่า ลาว ภาคใต้ของจีน และทางเหนือของเขมร เวียดนาม และมาเลเซีย กลุ่มภาษาหลักอีกกลุ่มหนึ่งคือ ออสโตรเอเชียติด เป็นภาษาพูดของชาวเวียดนาม เขมร มอญ และชาวเขาบางกลุ่มทางเหนือของพม่า เวียดนาม และลาว รวมท้งชนพื้นเมืองในแหลมมลายู ส่วนกลุ่มภาษาจีน-ธิเบต ใช้พูดในหมู่คนพม่า และชาวเขากลุ่มต่างๆ ในพม่า และประเทศเพื่อบ้านของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งอินเดียตอนเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ บังคลาเทศ ภาคใต้ของธิเบสและเนปาล
        ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม มีลักษณะร่วมที่แพร่หลายในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยทั่วไปแม้ว่าจะไม่สามารถบอกได้ว่าเป็นักษรร่วมของสังคมทั้งภุมิภาคเช่นเดียวกับภาษา ไดแก่ ลักษณะเฉพาะของการจัดระเบียบทางสังคมที่แตกต่างไปจากสังคมจีนและอินเดีย จากการศึกษาของนักมานุษยวิทยาพบวา ลักษณะครอบครัวของสังคมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีลักาณะเป้นการนัฐาติทั้งสายพ่อและสายแม่ หมายถึง่า สถานะภาพทางเครือญาติของบุคคลกำหนดโดยสายสัมพันะ์ทั้งญาติข้างแม่และญาติข้างพ่อ หรืออาจจะเลือกเอาสายใดสายหนึ่งก็ได้ เช่น คนไทยเรามีปุ่ย่า ตายาย ลุง-ป้า -น้า-อา เป้ฯต้น ภายใต้กฎการนับฐาติทั้งสองสายนี้ ทำให้กลุ่มญาติแบบตระกูล "แซ่" แบบจีนไม่ปรากฎแต่ถือรวม ๆ ญาติทั้งสายพ่อแม่รวมๆ ญาติทั้งสายพ่อแม่รวมำัน การเลือกที่อยุ่หลังแต่งงานก็มักจะเลือกอยู่ข้างพ่อหรือแม่ก็ได้ หรืออาจแยกออกมาตั้งเป้ฯครอบครัวเดี่ยว การสืบมรดกเช่นที่ดินก็จะแบ่งเท่าๆ กันระหว่างพี่น้องทั้งหญิงและชาย ลักษณะของการจัดระเบียบทางสังคมของครอบครัวและเครือญาติดังกล่าวมักจะเปิดโอาสให้มีความเสมอภาคในทางเพศด้วย จากการศึกษาทางมานุษยวิทยาพบว่า ผุ้หญิวในสังคมในเอเชียตะวัน
ออกเฉียงใต้มีบทบามสุในกิจการของครัวเรือนและในการตัดสินในเรื่องการทำการเกษตรและการต้าดดยทั่วไปเาจะพบลักษณะของการจัดระเบยบเครือญาติแบบ 2 สาย ในสังคมที่ยอุ่ยนที่ราบบนผืนแผ่นดินใหญ่ และชาวเขาของเกาะบอร์เนียวและฟิลิปปินส์ แต่เราก็ยังพบว่า มี่ส่วนหนึ่ง แม้จะเป็นส่วนน้อยที่อาศัยอยุ่ยนเทือกเขาในแผ่นดินใหญ่ และหมู่เกาะสุมาตรา และภาคตะวันออกของอินโดนีเซียที่การจัดระเบียบทางเครือญาตเป็นการสืบายเดียวและมีกลุ่มโคตรวงศ์เดีวยกัน...

         อย่างไรก็ตาม อัตลักษณ์ร่วทางสังคมและวัฒนธรรมเหล่านี้หาได้ซ้อนทับกับขอบเขตทางภุมิศาสตร์ การเมือง หรือสามารถกำหนดขอบเขตของภุมิภาคทงสังคมและวัฒนธรรมได้อย่างชัดเจน ลักษณธทางภาษาเป็นต้น อาจครอบคลุมประชากรและดินแดนกว้างไกลไปกว่าเขตแดนของเอเชยตะวันออกเฉียงใต้ ทั้งนี้ขึ้นอยุ่กับว่าเราจะใช้เกณฑ์อะไรมากำหนดความเป็นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มากกว่าในโลกยุคโลกาภิวัตน์ และการเกิดสมาคมอาเซียนเพื่อเศรษบกิจและการต้าของภุมิภาคนั้น เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แน่นอนแยกจากภูมิภาคอื่น และมีอัตลักษณ์ของตนเอง ที่โดดเด่นในเวทีากรเมืองและเศรษฐกิจโลก...
         
           - บทความ "อัตลักษณ์และความหลากหลายทางวัฒนธรรมของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้" โดย ปีรชา คุวินทร์พันธุ์

วันศุกร์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

ASEAN Inditification

       
  อัตลักษณ์อาเซียน ชาตินิยมเหนือภูมิภาค นักวิชาการไทยมอง การสร้างอัตลักาณือาเซียน มีอยุ่ แต่ไม่ถูกผลักดันประชาสัมพันธ์เท่าที่ควร
           ในช่วงเวลาที่ทุกภาคส่วนในไทยำลังเตรียมพร้อมสำหรับการเปิดประชาคมอาเวียนในปี 2558 โดยเฉพาะในด้านเสรษบกิจการเมือง เรื่องของวัฒนธรรมกลับไม่ค่อยมีใครพูดถึง โดยเแพาะการสร้างอัตลักษณ์อาเซียน ซึ่งนักวิชาการไทยมองว่ามีอยุ่ แต่กลับไม่ถูกผลักดันประชาสัมพันธ์เท่ารที่ควร
           คงต้องยอรับว่าในช่วง 2-3 ปีมานี้ ภาพธงอาเวียนปลิวไสว หรือการจัดกิจกรรมสัมนา ไปจนถึคงรายการและข่ายตามสื่อมวลชนทุกแขนงเกี่ยวกับอาเซียน เป้นหลักฐานบ่งบอกได้เป็นอย่างดีว่าสังคมไทยกำลังตื่นตัวกับการเข้าสู่การเปิดเสรีประชาคมอาเซียนอย่างเต็มรูปแบบในปลายปี 2558 ที่จะถึงนี้อย่างมาก
           แต่ส่วยใหญ่แล้ว การพูดคุยภกเถียง และเตรียมความพร้อมสำหรับทั้เงเอกชนและราชการไทย มุ่งเน้นที่ความร่วมมือ้ดานเศรษบกจและการเมืองมากกว่าในด้านสังคมวัฒนธรร ทั้งๆ ที่เรื่องของอัตลักษณ์และวัฒนธรรมร่วมอาเซียนเป็นปัจจัยหลักที่จะส่งเสริมให้การรวมประชาคมอาเซียนเป็นไปอย่างราบรื่น ตามคำขวัญอันสวยหรูที่ว่า วัน วิชัน, วัน ไอเดนติตี้, วัน คอมมูนนิที้ หรือ หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งอัตลักษณ์ หนึ่งประชาคม
           ด้วยเหตุนี้ การจัดงานสัมนาของกรมประชาสัมพันะ์ ภายใต้หัวข้อ "อัตลักษณ์อาเซียนมีหรือไม่"ซึ่งมีสื่อมวบชนแลบะนักวิชาการมาร่วมงานเป้นจำนวนมาก จึงเป็นโอกาสอันดีที่จะมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับความร่วมมือด้านสังคมวัฒนธรรมในอาเซียน โดยเฉพาะการหาอัตลักษณ์ร่วมกันที่มากกว่าคำพูดที่ว่า "อัตลักษณ์ของอาเซียนก็คือความหลากหลาย" ซึ่งกลายเป็นการย้อนแย้งว่าอัตลักษณ์ของอาเซียนก็คือการไม่มีอัตลักษณ์นั่นเอง
           ผุ้ช่วยศาสตรจารย์กิตติ ประเสริฐสุข ผุ้อำนวยการสถาบันเอเชียตะวันออกศึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าว่าอัตลักษ์ร่วมของอาเวียนมีอยู่หลายประการ แต่เป็นทั้งในแง่บวกและแง่ลบโดยในแง่บวก ก็คือการมีประวัติศาสรต์ร่วมกันในการเคยตกเป้นอาณานิคมของชาติตะวันตกและต้องต่อสู้เรียกร้องเอกราช ไปจนถึงวัฒนะรรมการรักครอบครัว อุปนิสัยร่าเริง การเป็นเจ้าภาพที่ดีไปจนถึงวัฒนธรรมที่เป้ฯรูปธรรมอย่างอาหารหรือสถาปัตยกรรมที่มีรากเหง้าใกล้เคียงกัน
           ขณะที่อัตลักษณ์ร่วมของชาติอาเซียนในแง่ลบ ก็คือการทุจริตคอรัปชั่น เล่นพรรคเล่นพวกไปจนถึงการปกครองแบบเผด็จการอำนาจนิยม ที่แอบแผงอยุ่แม้แต่ในประเทศที่ดูเป็นประชาธิปไตยอย่างไทยและสิงค์โปร์ และที่สำคัญที่สุดก็คือวัฒนธรรมชาตินิยมล้นเกิน ที่สร้างความบาดหมางดดยไม่จำเป็นระหว่างชาติสมาชิกอาเซียนหลายครั้ง โดยล่าสุด ก็คือกรณีพิพาทพระวิหารระหว่างไทยกับกัมพูชา ซึ่งถือเป็นความล้มเหลวของวัฒนธรรมอาเซียน
         
 ซึ่งในเรื่องนี้ ศาสตรจารย์พิเศษชาญวิทย์ เกาษตรศิริ อดีตอธิการบิดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก็ให้ความเห้นว่า วัีฒนธรรมชาตินิยม ซึ่งังคงอยู่เหนือวัฒนธรรมภุมิภาคนิยมตามที่อาเซียนควรจะมี เกิดจากส่ิงทีเรียกว่า "ประวัติศาสตร์บาดแผล" หรือการที่แต่ละชาิตสร้างประวัติศาสตร์แบบกล่าวหาชาติเพื่อบ้านโดยเฉพาะในแบบเรียนประวัติศาสตร์ตั้งแต่ประภมจนถึงมัธยมปลายซึ่งทำให้เกิดทัศนคติผิดๆ ระหว่างประชาชน กลายมาเป้นปัญหาความขัดแย้งระหว่างชาติสมาชิกอาเซียน
            ศาสตราจารย์ชาญวิทย์ยังกล่าวอีกว่า การสร้างอัตลักาณืและความร่วมมือทางสังคมวัฒนธรรมที่สำคัญในอาเซียน จึงควรเริ่มจากให้รัฐมนตรรีศึกษาธิการชาติอาเซียน ร่วมกันสะสางหลักสูตรการเรียนประวัติศาสตร์ที่เน้นสันติภาพ และสร้างความเข้าใจระหว่างชาติเพื่อนบ้านมากกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
            ศาสตราจารย์ชาญวิทย์ยังกล่าวทิ้งท้ายอีด้วยว่า หากคนไทยและชาวอาเซียนทั้งหมดต้องการพัฒนาเข้าสู่ประชาคมอาเซียนอย่างราบรื่น จะต้องอาศัยความใกล้ชิดทางสังคมวัฒนธรรมในระดับประชาชนอย่างใกล้ชิด ไม่ว่าจะเป็นการเรียรุ้ภาษาชาติเพื่อบ้านหรือการส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในประเทศอาเซียน มากกว่าการติดธงชาติหรือแต่งกายชุดประจำชาติที่ไม่ได้ใช้แต่งกันจริงๆ ในชีวิตประจำวัน เพื่อให้ทีศนคติภูมิภาคนิยม อยู่เหนือความเป็นชาาตินิยมทีฝังรากลึกมานานในอาเซียนให้ได้...https://www.voicetv.co.th/read/60616
            วิถีอาเซียน ตัวขวางการหลอมรวมประชาสังคม
             การเสวนาเรื่อง "มองไปข้างหน้า : ประชาคมสังคมและวัฒนธรรอาเซียน" โดย ศ.ดร.อาภรณ์ สุวรรณ จากคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระบุว่า ความร่วมมือในกรอบอาเซียน เป็นผลผลิตจากการตกลงของรัฐบาล ซึ่งแต่ละประเทศมีอิสระในการกำหนดนโยบายร่วมกัน ดดยมีข้อตกลงต่างๆ และ "วิถีแห่งอาเซียน" เป็นตัวกำกับ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า บทบาทของภาคประชาสังคมในการบูรณาการอาเวียนถูกละเลย นำไปสู่คำถามสำคัญที่ว่ อัตลักษณ์ที่มีร่วมกัน และความเป็อาเซียนคืออะไร.... ในความพยายามสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียว ในรัฐชาติซึ่งเกิดใหม่แต่ละประเทสยังมีประชาชนกลุ่มหนึ่ง ซึ่งพยายามรักษาอัตลักษณ์และวัฒนธรรมของตัวเองที่มีอยุ่มาตั้งแต่ก่อนเกิดความเป็นรัฐชาติ เมื่อเรื่องรัฐชาติเป็นเรื่องใหม่ ผสมกับความรู้สึกแบบชาตินิยม ทำให้การสร้างจิตสำนึกความเป็นอาเวียน และการสร้างอัตลักษณ์ร่วมกัน เป็นเรื่องที่ยังไม่สามารถเกิดขึ้นได้ เพราะต่างยังต้องการคงความเป็นอิทธิพลทางวัฒนธรรมในแบบรัฐ มีความเป็นเจ้าของวัฒนธรรมตามแบบชาตินิยม แบ่งแยกกีดกันวัฒนธรรมจากเพื่อบ้านแม้หลายวัฒนธรรมจะมีรากฐานกันมาแต่เดิม
            ปัญหาเรื่องอัตลักษณ์ ความสับสนทงปรวัติศาสตร์ และเส้นแบ่งเขตแดนที่ละเลยเชื้อชาติ และอัตลักษณ์ยังทำให้เกิดปัญหาเรื่องความมั่นคง ทั้งในระดับรัฐ และระดับระหว่างประเทศ เช่น ปัญหาบริเวณพรมแดนไทย-มาเลเซีย หรือบริเวณพรมแดนมาเลดซีย-ฟิลิปปินส์
            ศ.ดร. ธเนศนำเสนอประเด็นว่ สิ่งหนึ่งที่ชาติสมาชิกอาเวียนมีร่วมกันเกือบทุกประเทศ ยกเว้นไทยคืออิทธิพลจากชาติตะวันตก ผ่านการเป็นส่วนหนึ่งของอาณานิคม ซึ่งไม่ได้มาด้วยความสมัครใจของชาติสมาชิก การบังคับ-กดขี่จากชาติตะวันตก กลับทำให้เกิดระบบระเบียบ ภาษา และแนวคิด ตามแบบตะวันตกแท้ๆ ที่ทำให้ชาติอาเซียนหลายชาติมีความเชื่อมฝดยงกับประเทศแม่ จากทางยุธโรป มากกว่ารากเหง้าแต่เดิม เช่นใน ฟิลิปปินส์ ี่มองว่าตนเป็นส่วนหนึ่งของสเปน และความเป็นยุโรป จนถึงก่อนการเกิดการตระหนักรู้ถึงความเป็นเอเชียเมื่อทศวรรษที่ 1880-1900 ฟิลิปปินส์จึงเร่ิมมองสภานะตัวเองว่าเป็นส่วนหนึ่งของโลกมลายู แลเริ่มหันหน้ายอมรับอัตลักาณ์ความเป็นอาเซียนมากขึ้น
            การปลุกระดดมกระแสชาตินิยมไปจนถึงการพัฒนาทางด้านเศรบกิจและสังคมอย่างก้าวกระโดด ตามตัวแบบอย่างญี่ปุ่นในหลายประเทศ ยัวทำให้เกิดชนชั้นใหม่ในอาเซียนอย่าง"ชนชั้นกลาง" ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่ปรับตัวและเติบโตขึ้นพร้อมกับสังคมเมือง ทำให้ไม่ยึดติดกับอัตลักษณ์และวัฒนธรรมดังเดิม และพร้อมที่จะมีบทบาทในกรประสานความร่วมมือ เพื่อสร้างสิ่งที่ดีกว่าขึ้นใหม่ในอนาคต
            จริงอยู่ ที่การก่อตั้งอาเซียนในยุคเริ่มแรก เป็นเหตุผลทางการเมืองเนื่องจากต้องการต้านภัยคอมมิวนิสต์ โดยชาติสมาชิกทั้ง 5 ชาติ ต่างได้รับอิทธิพลจากโลกเสรีฝ่ายตะวันตก กระทั้งเมื่อผ่านไประยะหนึ่ง เห็นว่าการแบ่งแยกกีดกันเพื่อบ้านไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ร่วมกันในภุมิภาคเท่าความร่วมมือ จึงเกิดความพยายามประสานความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ ร่วข้อตกลงระวห่างกันและตั้งเป้าที่จะเป็น "ประชาคมอาเซียน" ในปี 2558 นี้
             
จะเห็นได้ว่า การตัดสินใจของอาเซียนแต่ละครั้งนั้น เป็นไปเพือผลประโยชน์ของ "รัฐ" ในองค์รวมเป็นสำคัญ ทำให้ความพยายามที่จะสร้างอัตลักษณ์ร่วมกันของชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นความพยายามด้านโครงสร้าง ที่ดำเนินการโดยส่วนกลางหรือรัฐบาลของประเทศสมาชิกมาตลอด นอกจากนี้ "วิถีแห่งอาเซียน" เองก็ยังเป็นตัวขัดขวางพัฒนาการ เพราะทำให้การตัดินใจเชื่องช้าต้องรอทุกชาติลงมติเป็นเอกฉันท์ ขณะเดียวกันก็ห้ามแทรกแซงกิจการภายในของกันและกัน ทำให้ข้อตกลงทั้งหลายทีทำไว้ไม่สามารถออกมาเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะเรื่องสิทธิมนุษยชน เช่นการต้ามนุษย์ การปิดกั้นเสรี ภาพในการสื่อสาร และการต้้งคำถามต่อรัฐบาล ซึ่งถูกปิดกั้นไม่ให้มีการแทรกแซงแก้ปัญหาระว่างกัน ตามวิถีแห่งอาเซียน
               ศ.ตร. ธเนศระบุอกีว่า "อาเซียนจะเป็นประชาคมไม่ได้ หากยังมีการใช้อำนาจเกินหน้าที่โดยเจ้าหน้าที่รัฐ หร้อมเสนอว่า หากมีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมร่วมกัน การเข้าพื้นที่ไปศึกษา ส่งเสริมบทบาทของสภาบันอาเซียน  ในการแทรกแซงกิจการภายในแบบเชิงบวก ก็อาจจะเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขั้นได้นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้มีกาชำระประวัติศาสตร์ ร่วมกันในหมู่ชาติสมาชิก เพื่อทำความเข้าใจรากเหง้าที่มีร่วมกัน สร้างความเป็นหนึ่งเดียว ความเข้าสใจซึ่งกันและกันและการไม่แบ่งแยกในปมู่ชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และวัฒนธรรมอาเซียน" จากความร่วมมือในระดับบนของภาครัฐ ผสานกับขัยเคลื่อนความร่วมมือในระดับบุคคลของภาคประชาสังคมทั้งในและระหว่างชาติสมาชิก จะช่วยส่งเสริมกันให้กลายเป็นการบูรณาการที่ได้ประโยชน์ในระยะยาว...https://www.khaosod.co.th/view_newsonline.php?newsid=TVRNNU9UZzJOemM1TXc9PQ==

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...