Community Identity to Education Foundation

             อัตลักษณ์ชุมชนรากฐานสู่การศึกษา ชุมชนแต่ละชุมชนย่อมมีแหล่งที่มแตกต่างกัน อาจเนื่องด้วยพื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมและเมื่อเวลาผ่านไปก็ส่งผลถึงบทบาทของชุมชนในการที่จะสรางอตลักาณ์ ซึ่งเป้นที่บงลอกความเป็นตัวตนของชุมชน อันเป็นภูมิปัญาที่มีความโดยเด่น ซึ่งควรค่าแก่การสืบสานและถ่ายทอดไปยังคนรุ่นหลัง ฉะนั้นแล้วสิงทีสำคัญที่สุด คือการเข้าใกล้ เข้าใจและเข้าถึง รู้จักชุมชนหรือท้องถ่ินของตนเองอย่างถ่องแท้เพื่อที่จตะสามารถถ่ายทอด สืบสาน และแห้ปัญหาในท้องถ่ินนั้นได้โดยที่ไมีการนำมาเรียนรู้เข้าสู่การศึกษาโดยเน้นการถ่ายทอดภูมิปัญญา อันเป็นตัวตนของท้องถิ่น
นั้นๆ ด้วยวิธีการที่หลากหลายและเหมาะสม จึงจะทำให้เป็นการเรียรู้และเป้นการเรียรฮุ้ที่ยั่งยืนและมีความหมายเพราะองค์ความรู้ในชุมช ท้องถ่ิน และภ๓มิปัญญา มีอยู่มากมาย หากแต่ขาดการถ่ายทอดและการเรียรู้ ซึ่งทั้งนี้จะต้องส่งเสริมให้มีการเรียนรู้โดยเป้นการเรียนรู้ตลอกชีิวติอย่างยั่งยืน และด้วยความสำคัญขององค์ความรุ้อันเป็นภูมิปัญญาท้องถ่ินที่เป็นอัตลักษณ์ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องนำพเอาภูมิปัญญาท้องถ่ินเข้ามาปรับใช้ในการเรียนการสอนเพื่อที่จะัพัฒนาการศึกษาต่ไป
            ความหมายจของอัตลักาณ อัตลักษณ์ หมายถึง คุณลักษณเฉพาะตัว ซึ่งเป้นตัวบ่งชี้ของลักษณะเฉพาะของบุคคล สังคม ชุมชน หรือประเทศนั้น ๆ อาจรวมถึง เชื้อชดาติ ภาษา วัฒนธรรมท้องเถิน และศาสนา ฯลฯ ซึ่งมีคุณลักษณะที่ไม่ทั่วไปหรือสากลกับสังคมอื่นๆ หรือเป็นลักษระที่ไม่เหมือนกับของคนอืนๆ เช่น หมู่บ้านนี้มีอัตลักษณ์างด้านการจักสาน ใครได้ยิก็จำได้ทันทีโดยที่สังคมแตะละสัวคมย่อมมีอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมเป้นของตนเอง ซึ่ยุคสมัยนี้เป็นยูโลกาภิวัฒน์ทำให้อัตลักษณ์ของังคมเปลี่ยนไปในรูปแบบที่ต่างกันออกไป
โดยที่คำว่า อัตลักษณ์ นั้นยังมีความหมายซ้อนทับกับ คำว่า เอกลัษณ์ ซึ่คงคำว่า เอกลักษณ์ หมายถึง ลักษณะเที่เหมือนกันหรือมีร่วมกัน โดยแบ่งประเภทของอัตลักษณ์ออกเป็น 2 ระดับด้วยกัน คือ อัตลักษณ์บุคคล ซึ่งถือเป็นลักษณเฉพาะัวของบุคคลนั้นๆ ว่ามีความเฉาพะและโดเด่นอย่างไ และอัตลักษณ์ทางสังคม ก็เป็นลักษณ์เฉพาะทางสังคมที่จะบ่งบอกได้ว่าชุมชนหรือสังคมนั้น ๆมีความโดดเด่นในด้านต่างๆ อย่างไร

              อีตลักษณ์ชุมชน นั้งเป็นรากเหง้าหรือวัฒนธรรมทางสังคมที่ถุกก่อให้เกิดขึ้นมาและใช้ในการยึดป็นภูมิปัญญาขนบธรรมเนียม ประเพณีในการปฏิบัติในสังคมสังคมนั้น ๆ ซึ่งมีัลักษณะของความโดดเด่นหรือมีความแกต่างกับขนบธรรมเรยมประเพณและวัฒนธรรมของสังคมอื่นๆ ซึ่งเป็นลักษระเฉพาะถ่ินที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะอลุ่มชุมชน
               การศึกษาไทยในปัจจุบัน จากสภาพการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ซผ่านกระแสโลกาภิวัฒน์ และโลกไซเบอร์ ทำให้คนไทยมุ่งแสวงหาคามสุขและสร้างอัตลักษณ์วนตัวผ่านเครื่อข่ายสังคมออนไลน์ เกิดเป็นวัฒนธรรมย่อยร่วมสมัยที่หลากหลายในรูปแบบการ่วมกลุ่มของบุคคลที่สนใจเรื่องเดี่ยวกันโดยที่วัฒนธรรมที่บ่งบอกความเป้นไทยไม่สามารถแสดงบทบาทที่ชัดเจน ขณะเีดยวกันสังคมไทยก็เผชิฯกับความเสื่อมถอยด้านคุณธรรมจริยธรรม ซึ่งสะท้อนได้จากคนในสังคมมคีความถี่ในการใช้ความรุนแรงในการแก้ไขปัญหาได้ไม่เต็มที ผุ้ที่ใช้ความรุนแรงมักขาดความยับยั้งชั่งใจ มีพฤติกรรเมเลีวนแบบหรืออาจเกิดจากการเลี้ยงที่ดุขาดการใช้เหตุใช้ผล ขาดความเอื้อเฟื้อเอ้ออาทร ส่งผลให้ความมีคุณธรรมและจริยธรรมของคนในสังคมลดน้อยลง (แผนพัฒนาเศราบกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบัยที่ 11) ทั้งยังเป้ญุคแห่งข้อมูลข่าวารและเทคโนโลยีที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดการเปลียนแปลงในหลายด้าน ได้แก สังคม วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การสื่อสาร การศึกษา และการคนมนาคมการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวสส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิต
ของคนในชุมชนและสังคม การเจริยเติบโตทางเศรษฐกจิและกระแสโลกาภิวัฒน์ มัผลกระทบต่อวัฒนธรรมประเพณีดั้งเดิมที่ดีงาม ส่งผลให้สังคมไทยมีความเป็นวัตถุนิยม พฤติกรรมของคนในสังคเปลี่ยนแปลง ให้ความสำคัญกับศีลธรรมและวัฒนฦธรรมที่ดีงามลดลง ทั้งการดำรงชีวิตประจำวัน การใช้ชีวิตและความสัมพันะ์กับผุ้อื่น มุ่งหารายได้เพือสนองความต้องการการช่ยเลหือเกื้อกุลดกันลดลง ความมีน้ำใจไมตรีน้อยลง เกิดการแก่งแย่งเอารัดเอาเปรียบกัน ทำให้คนไทยขาดความสามคคี ขาดการเคารพสิทธิผุ้อื่น และการยึดถือประโยชน์สวนร่วมส่งผลต่อวิถีชีวิตคนไทยทั้งระดับครอบครัว ชุมชน และประเทศสงผลให้เกิดปัญหาเก็กและยาชนททั้งในเมืองและในชุมชนท้องถ่ิน
              นโยบายแผนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปี ของกระทรวงศึกษาธิการ ได้กล่าวถึง สภาพปัจจุบันของการศึกษาไทยเกี่ยวกับหลักสุตรและกระบวนการเรียนการสอนว่า หลักสูตรส่วนใหย่จะมีเนื้อหาสาระความรู้ะดับชาติและสากลจนแทนบจะไม่มีความรุ้เกี่ยวกับท้องถ่ินที่อยู่ใกล้ตัวผุ้เรียน ทำให้ผุ้รเียนไม่รู้จักตนเอง ไม่รุ้จักชุมชน ท้องถ่ิ่น ของตนว่ามีคความเป้นมาอย่างไรและมีทรัพยากรอะไรบ้าง ดดยที่การศึกาาของไทยได้ทอดท้องิของดีที่เรามีอยงุ่ คือภุมิปัญญาท้องถ่ินโดยเื่อมีการับระบบการศึกษาแบบตะวันตกเข้ามา ก็ทำให้นักการศึกษาไม่สนใจ ไม่ปรับปรุงและไม่ยอย่อภูมิปัญญาไย ทำให้สุญเสียมรดกที่ล้ำค่าของชาติไปมาก ทั้งสังคมไทยละเลยไม่ให้ความสำคัญกับ
ภูมิปัญญาไทยมานาน เมือ่โรงเรียนมีระบบที่สอนกระทรวงซึกษาธิการ ความรุ้แบบสากลมากขึ้น ฉะนั้นการศึกษาเกี่ยวกับภุมิปัญญาอันเป็นอัตลักษณ์ ซึ่งเป็ฯการนำเอาสิ่งดีๆ ที่เกิดจากองค์ความรุ้ของพรรพบุรุษไทยในอดีตกลับมาสู่ สังคมไยอีกคร้งและเชื่อได้แน่ว่าทั้งในปัจจุบัน อนาคต จะสามารถเผชิญหน้ากับปัญหาต่างๆ ได้โดยใช้ภูมิปัญญาของไทยที่มีอยุ่ ตัวอย่างเช่นในปัจจบุันที่เป็นโลกแ่ห่งข้อมุลข่าวสารและเทคโนโลยีคงปฏิเสธไม่ได้ว่าส่งผลให้พฤติกรรมของคนในังคมเแลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้เกิดปัญหาเด็กและเยาวชนทั้งในเมืองและในขชุมชนท้องถ่ิน ทำให้ไม่รู้ถึงรากเหง้าของชุมชนตัวเอง ไม่รู้วามีสิ่งที่มีค่ามากมายนั้นคือภุมิปัญญาท้องถ่ิน ของตนเอง ที่สามารถนำปใช้เป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตได้ตรอง เพราะในแต่ละบริบทของท้องถ่ินก็ย่อมมีภูมิปัญญา ที่เป็นอัตลักษณ์ที่แตกต่งกันออกไป ดังนั้นนการจัดการศึกษา ความนำภูิปัญญาท้องถ่ินเข้ามามีส่วนร่วใดดยกา
รถ่ายทอดองค์คามรุ้จากคนรุ่งหนึงไปู่อีกรุ่นหนึ่งดดยมีการจัดกิจกรรมกาเรียนรุ้ที่สอดคล้องกับวิ๔ีชีิวติของคนในชุมชน จนเกิดองค์ความรุ้เ กิดอาชพีทั้งยังเป้นความภาคภุมิใจของคนในชุมช และเพื่อเป็นการถ่ายทอดความรุ้และสืบสานภุมิปัญญญาซึ่งการนำเอามรดกทางภูมิปัญญาท้องถ่ินอันเป็นอัตลักษณ์ เข้ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนซึ่งจะทำให้เด็กและเยาวขชได้รับประโยชน์จากการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ินอันเป็อัตลักษณ์ในท้องถ่ินของตนเอง และยังเป็นการปลูกฝังรากฐานให้เด็กและเยาชนมีความรักความผูกพันกับท้องถ่ินตนเอง โดยมุ่งเน้นปลูกฝังให้เด็ได้เรียนรู้ภูมิปัญญาอันเป็นอัตลักษณ์ที่มีความสอดคล้องกับชีวิตจริง เพราะจำทให้เด็กได้เรียนรู้และเข้าใจ เกิดเป็นความผุกพันและภาคภูมิใจในท้องถ่ินของตนเอง เรพาะการศึกษานั้นถือเป็เนครื่องมือสำคัญใการพัฒนาคน สร้างความเสมอภาค และโอาสทุกคนได้รับการศึกษาอย่างทั่ววไถึงและากรศึกษาเป็การให้โอกาสแก่ทุกฝ่าย และการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนให้เป็นมุนษย์ที่สมบูรณืทั้งีร่างกาย จิตใจและสติปัญญา ความรุ้และคุณธรรมในการดำรงชีิตให้สามารถอยุ่ร่วมกับผุ้อื่นได้อย่างมีความสุข ดังนั้นในการที่จะพัฒนาคนให้มีคุณภาพจึงจำเป็นที่จะต้องอาศัยหลักการ วิะีการหรือรูปแบบต่างๆ ที่สามารถจะผสมผสานความรู้ตามหลักสากลกับความต้องการรวมถึงสภาพของ้องถ่ินั้น ๆ เข้าด้ยกันอย่งเหมาะสมกลมกลืน ฉะนั้นแล้วจึงมีความจำเป็นที่จะต้องนำเอาภูมิปัญญาอันเป็นอัตลักษณ์มาถ่ายทอดและสอดแทรกเพื่อเป็นรากฐานในการศึกษาต่อไป
              ฉะนั้นภูมิปัญญาท้องถิ่น จึงถือเป็นแหล่งความรุ้ในท้องถ่ินที่อยู่ใกล้ชิดกับตัวเด็กมากที่สุด โดยการที่นำภุมิปัญยาท้องถ่ินมาใช้ในการจัดการศึกษาว฿่งมีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของเด็กและเยาชนในชุมชนนั้นๆ อย่างแท้จริง ซึ่การนำเอมรดกทางภูมิปัญญาท้องถ่ินอันเป็นอัตลักษณ์เข้ามช้ในการจัดการเรียนการสอนซึ่งจะทำให้เด็กและเยาชนได้รับประโยชน์จากการเรียนรู้ภุมิปัญญาท้องถ่ินอันเป็นอัตลักษณ์ในท้องถิ่นของตนเอง โดยถือเป็การปลูกฝังรากฐานให้เด็กและเยาชนมีความรักความผูกพันกับท้องถ่ินตนเอง โดยมุ่งเน้นปลูกฝังให้เด็าได้เรียนรู้ภูมิปัญญาอันเป็นอัตลักษณ์ที่มีความสอดคล้องกับชีวิตจริง เพราะจะทำให้เด็กได้เรียนรู้และเข้าใจ เกิดเป็นความผุกพันและภาคภูมิใจในท้องถ่ินของตนเอง อันจะนำไปสู่การวางราบฐานทางการศึกษาขอวเด็ไทยอย่างยั่งยืนสืบไป....
   
วารสารครุศาสตร ม.ราชภัฎมหาสารคาม ปีที่ 9 ฉบับที 1 (16) ประจำเดือนมกราคม-มิถุนายน 2555, "อัตลักษณ์ชุมชนรากฐานสู่การศึกษา", โดย ชลธิชา มาลาหอม, 

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)