Identities in the Uniqueness of National Museum of Japanese History

             อัตลักษณ์ในเอกลักษณ์ : พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติญี่ปุ่นประเทศไทย
             พิพิธภัฒฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติญี่ปุ่น" ตั้งอยู่ที่เมืองซากุร จังหวัดชิบะรัฐบาลฐี่ป่นุสร้างพิพิิธภัณฑ์แห่งนี้ขึ้นเนื่องในวาระครอบรอบ 100 ปี แห่งการปฏิรูปประเทศสมัยเมจิ จโดยเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1983 พิพิธภัณฑ์แห่งนี้เป้นทีเดี่ยในประเทศญี่ปุ่นที่มีลักษณะเฉพาะเป็นเอกลักษณ์สสำคัญ คือเป็นพิพิธภัณฑ์ประัตสาสตร์แห่งชาติเป้น "สถาบันการวิจัยระหว่างมหาวิทยาลัย"ด้านประวัติศาสตร์ และเป็นศูนย์กลางการศึกษาประวัติศาสตร์ โบราณคดีและวิถีชีวิตชนบธรรมเนียมพื้นบ้าน
             จากลักษณะเฉพาะดังกล่าวมีส่วนทำให้พิพิธภัณฑ์มีวิธีการและเลือกเรื่องราวที่จะนำเสนอในรูปแบบที่น่าสนใจคือ มีข้อมูลที่หลากหลาย มีกลักการทางวิชาการมากกว่าที่อื่นและให้ความสำคัญกับคุณค่าทางวัฒนธรรมและวิถีชีวิตคนในสังคม ภาพประวัติศาสตร์ที่ปรากฎในการจัดแสดงจึงไม่ใช่้ภาพวีรกรรมความกล้าหาญของบรรพบุรุษของผุ้ปกครองหรือของกลุ่มอำนาจแต่เป็นภาพวิถีชีวิตที่เป้ฯสามัญของผุ้คนทุกกลุ่มที่อยุ่ร่วมกันบนเกาะญี่ปุ่น สะท้อนให้เห็นว่าคนทุกกลุ่มคือผุ้ที่สร้างและพัฒนาวิธีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณีของตนเองจนเป้นอัตลักาณ์ของชาติปัจจุบัน..
            พิพิธภัณฑ์กับฃลักษณะพิเศษที่เป็นหนึ่งเดี่ยว
           
 นอกจากมีรูปแบบอาคารและลักษระสถปัตยกรรมที่น่าสนจแล้ว พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ยังมีลักาณะเฉพาะบางประการคือ
              - ในฐานะพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติแห่งเดียวในประเทศญีปุ่น
              - ในฐานะ "สถาบันการวิจขัยระหว่างมหาวิทยาลัย" ด้านประวัติศาสตร์แห่งเดี่ยในประเทศญี่ปุ่น
              - ในฐานะศูนย์กลางการศึกษาประวัติศาสตร์ โบราณคดีและวิถีชีวิตขนบธรรมเนียมพื้นบ้านแก่งเดี่ยวในประเทศญี่ปุ่น
               1 ในฐานะพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติแห่งเดียวในประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่นเป็นประเทศหนึ่งที่มีพิพิธภัณฑ์จำนวนมากถ้าพิจารณาจากสังกัดจะแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ พิพิธภัฒฑ์ของรัฐกับพิพิธภัณฑ์เอกชน และในพิพิธภัณฑ์ของรัฐก็แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือพิพิธภัณฑ์แห่งชาติและพิพิธภัณฑ์ของหน่วยงานราชการในท้องถ่ิน พิพิธภัณฑ์ในญี่ปุ่นมีมากมายหลายชนิ จากการสำรวจของกระทรวงศึกษาธิการวัฒนธรรมกีฬาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประเทศญี่ปุ่นมีพิพิธภัฒฑ์ทั้งที่ขึ้นทะ
เบียบและไม่ขั้นทะเบียบรวมทั้งสิ้น กว่าหกพันแห่ง และในพิพิธภัณฑ์จำนวนมากที่มีอยุ่นั้นพิพธภัณฑ์ประวัติสาสตร์มีจำนวนมากที่สุดคือ สามพันสามร้อยแห่ง ในบรรดาพิพิธภัณฑ์ที่มีอยู่จำนวนมากนี้พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติมีเพียงที่เดี่ยวคือพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสต์แห่งชาติญี่ปุ่น ที่เมืองซากุระ จังหวัดชิบะ
               2 ในฐานะ "สถาบันการวิจัยระหว่งมหาวิทยาลัย" ด้านประวัติศาสตร์แห่งเดียวในประเทศญีปุ่่น "สถาบันการวิจัยระหว่างมหาวิทยาลัย" คือประชาคมทางวิชาการชั้นนำของโลกท่ี่เป็นรูปแบบเฉพาะของญีปุ่น เกิดขึ้นเมือรัฐบาลญี่ปุ่นมีนโยบายที่จะพัฒนาและส่งเสริมงานวิจัยให้ก้าวหน้ามากยิ่งขึ้นด้วยการตั้งสถาาบันแห่งชาติในด้านต่างๆ 5 ส่วนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สถาบันแห่งชาติทั้ง 5 แห่งจะมี
"สถาบันการวิจัยระหว่างมหาวิทยาลัย" ในสังกัดทำหน้าที่เป้นสถาบัวิจัยระดับสูงและผนวกรวมกันเป้นสถาบันการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยภายใต้ชื่อ
"มหาวิทยาลัย โซเคนได" ให้การศึกษาเฉพาะระดับปริญญาเอก โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่เมือง ฮายาม่า จังหวัด คานาซาว่า
               สำหรับพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติญี่ปุ่นตั้งแต่เร่ิมก่อตั้งขึ้นอยู่กับกระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ต่อมาในปี ค.ศ. 2004 ถุกกำหนดให้ขึ้นต่อ เนชั่นอินทิทิวส์ ฟอร์ เดอะ ฮิวแมนนิตี้ ซึ่งเป็นองค์กรใหม่ของกระทรวงศึกษาธิการฯ มีฐานะเป็น สถาบัน วิจัยมหาลัยนานาชาติ ร่วมกับสถาบัอื่นอีก 6 แห่ง
               3 ในฐานะศุนย์กลางการศึกษาประวัติศาสตร์ โบราณคดีและวิถีชีวิตขนบธรรมเนียมพื้นบ้านแห่งเดี่ยวในประเทศญี่ปุ่น
               นอกจากลักษณะเฉพาะที่เปลี่นไปตามนโยบายและการจัดระเบียบบริหารองค์กรของรัฐบาลแล้วพิพิธภัฒฑ์ยังมีหน้าที่เฉาพะที่เปลียนไปตามนโยบายและการจัดระเบียบบริหารองค์กรของรัฐบาลแล้วพิพิธภัณฑ์ยังมีหน้าที่เฉพาะเกี่ยวกับงานด้านประวัติศาสตร์ในฐานะที่สูรย์กลางความรู้ที่สำคัญ ...
           
 ศ.โคชิมา มิชิฮิโร ศ.ประจำพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติญีปุ่นและบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัย โซเคนได ได้อธิบายเกตุผลว่า "ภาพรวมวิถีชีวิตคนธรรมดาสามัญถือเป็นแนวคิดหลัก ของพิพิธภัณฑ์แห่งี้เพราะเป็นคนกลุ่มหใหญ่ในสังคม อย่างไรก็ามพิพิธภณฑ์อื่นๆ ก็มีจัดแสดงวิ๔ีชีิวติของคนธรรมดาสามัญเช่นกันแต่ไม่ใบ่เป้นแนวคิดหลัก นอกจานี้พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ก็ไม่แสดงประวัติศาสตร์ผุ้นำ เช่น ฝดซกุล ไดเมียว หรือผุ้นำชุมชน เพราะเรื่องราวของผุ้นำมีจัดแสดงในพิพิธภัฒฑ์แห่งชาติจะแสดงภาพของประชาชนเป็นสำคัญ ประวัตศาสตร์ผุ้นำมีหล่าวถึงมากแล้วในหนังสือและในหนังสือแบบเรียนนอกจากนี้ประวัติศาสตร์ไม่ได้เกิดขึ้นได้ด้วยการกระทำของคนเพียงคนเดียว แต่เป็นประวัติศาสตรื๘องคนหลายฝ่ายหลายกลุ่ม พิพิธภัฒฑ์แห่งนี้จงต้องการให้เห็นภาพคนส่วนใหญ๋ในประวัติศาสตร์"
          พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์หลายแห่งมักจะใช้ "ประวัติศาสตร์โศกนาฎกรรม" เน้สภาพความโศกเศร้าความเจ็บปวด และความเสียหายที่ประเทศเป็นฝ่ายถูกกระำท รวมทั้งอาจจะสร้างภาพของวัรบุรุษที่ปรากฎตัวขึ้นเพื่อนำพาชาติให้หลุ่มพ้นจากโศกนาฎรรมมาเป้นเครื่องมือในการจัดแสดงเพื่อดึงให้คนในสังคมเกิดความรุ้สึกร่วมเป็นหนึ่งเดียว
           แต่ในฐานะพิพิธภัฒฑ์แห่งชาติในฐานะสถาบันการศึกษาและใน
ฐานะศูนย์กลางการศึกษา พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชติญี่ปุ่นมีวิธีการจัดแสดงที่ต่างออกไป มีช้อมุลที่หฃากหลายและมีหลักการทางวิชาการมากว่าที่อื่น โดยให้ความสำคัญกับคุณต่าทางวัฒนธรรมและวิถีคนในสังคมใช้เป็นเครื่องมือในการบอกแล่าพัฒนาการของชาติ ภาพประวัติศาสตร์ที่ปรากฎในการจัดแสดงจึบงไม่ใช่ภาพวีรกรรมความหล้าหาญของบรรพบยุรุษ ของผุ้ปกครอง หรือของกลุ่มอำนาจ แต่เป็นภาพวิถีชีวิตที่เป็นสามัญและความพยายามของผุ้คนทุกกลุ่มที่อยู่ร่วมกันบนเกาะญี่ปุ่น
           พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แก่งชาติญีปุ่น สะท้อนให้เห็นว่าคนทุกกลุ่มคือผู้ที่สร้างและพัฒนาวิถีชีวิตวัฒนธรรม ประเพณีของตนเองจนเป็นอัตลักาณ์ของชาติปัจจุบัน ดังนั้นส่ิงที่เห้ฯและเป็นอยู่ในสังคมไม่ได้เกิดจากคุณูปการของกลุ่มอำนาจหรือชนชั้นปกครองแต่เพียงเท่านั้น แต่ทั้งหมดทั้งมลคือความงดวามและรุ่งเรืองทางวัฒนธรรมร่วมกันของคนทุกชันชั้นบนเส้นทางปรวัติสาสตร์ชาติที่ยาวนาน...
         
         บางส่วนจากบทความ "อัตลักษณ์ในเอกลักษณ์ : พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติญี่ปุ่นประเทศไทย"นงค์ลักษณ์ ลิมศิริ, สถาบันการจัดการปัญญาพิพัตร,
         

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)