ความหมายของ "อัตลักษณ์"
พจนานุกรมภาษาไทย - อังกฤษหรืออังกฤษ-ไทย คำแปลของ Identity คือ คำว่า "เอกลักษณ์" ซ่งตรงกับความมหายของคำนี้ในพจนานนุกรมภาษาอังกฤษ นั้นก็คือ สิ่งที่เป็นีุณสมบัติของคนหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง และมีนัยขยายต่อไปว่าเป็นคุณสมบัติเฉพาะของส่ิงนั้น ที่ทำให้สสิ่งนั้นโดดเด่นขึ้นมา รหื แตกต่างจากสิ่งอื่น ทว่าในแวดวงสังคมศาสตร์ปัจจุบัน แนวโน้มทางทฤษฎียุคใหม่ ทำให้เกิดการตั้งคำถามอย่างมากกับวิะีการมองโลก การเข้าถึงความจริง ของสิ่งต่างๆ ..กลายเป็นนิยามความหมาย ซึ่งสมารถเลื่อหนไลเปลี่ยนแปรไปได้ตามบริบท มิได้หมายถึงคุณสบัติเฉาพะตัวอีกต่อไป ดังนั้นคำว่า "อัตลักษณ์" ดูจะเหมาะสมกว่าเอกลักษณ์...
อัตลักษณ์ (ศรินยา) ให้ความมหายของคำอัตลักษณ์ว่า เป็นคำผสมระหว่างคำว่า "อัตฎกับ "ลักษณ์" คำว่า "อัต" เป็นภาษาบาลี (อตฺต) แปลว่ ตนหรือตัวตน ส่วนคำว่าลักษณ์ (ลกฺษณ) เป็นภาษาสันสกฤต แปลว่า เครื่องสแดงสิ่งหนึ่งให้เห็นว่าต่างกับอีกส่ิงนหึ่ง ดังนั้น ถ้าแปลตามรูปศัพท์อัตลักษณ์จึงแปลได้ว่า "สิ่งที่แสดงความเป็นตัวเอง หรือลักษณะที่แสดงถึงความเป็นตัวเอง"
ฉลาดชาย รมิตานนท์ ให้ควำอธิบายว่า หมายถึงสิ่งที่เรารู้สึกว่าเป็นเรา หรือพวกเรา แตกต่างกจากเขา พวกเขา หรือคนอื่น อัตลักษณ์ไม่จำเป็นต้องมีหนึ่งเดี่ยวแต่อาจมีหลายอัตลักาณ์ที่ประกอบกันขึ้นมเป้นตัวเรา พวกเรา อัตลักษณ์ไม่ใช่สิ่ที่มีอยู่ตามธรรมชาติ แต่เป็นส่ิงที่ถูกสร้างขึ้นดดยสังคม อัตลักษณ์จึงจำเป็นต้องมีกระบวนการสร้างความเมหือนและควมแตกต่างระหว่าง "พวกเรา" หรือ "คนอื่น"
สุภาพร คงศิริรัตน์ กล่าวว่าปรเภทของอัตักษณ์มี 2 ระดับคืออัตลักาณ์บุคคล และอัตลักษณ์ทางสัคม โดยศึกษาความคาบเกี่ยวและปฎิสัมพันะ์ของทั้งสองระดับนี้
ธงชัย วินิจะกุล กล่าวถึงแนวคิดนี้ว่า เมื่อกเกิความหลากหลยของอัตลักษณ์ในบุคคลคนหนึ่งทำให้เกิดพลังบางอย่าขึ้นโดยเฉพาะในอัตลักษณ์ร่วมทางวัฒนธรรม เช่น วรรณะ กลุ่มชาติพันธุ์ ศาสนา ชาติ เป็นต้น
แอนโทนี สมิธ นักมานุษยวิทยาชาวอังกฤษเห็นว่ ชาติที่ดำรงอยู่มานานแล้วมีลักาณะบางอย่างที่สืบต่อมาจากการเป็น "ชุมชนชาติพันธุ์" โดยสมิธประยุกต์มาจากภาษาฝรั่งเศส ดังนั้นแต่ละชาติจึงมีลักษณะบางอย่างเป้ฯของตนเอง บังผลให้พลเมืองของชาติแต่ละแห่งมีลักษณะแพาะของตนเองแตกต่างกันไป
http://dcms.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=214342&query=%CD%D1%B5%C5%D1%A1%C9%B3%EC%E4%B7%C2&s_mode=any&d_field=&d_start=0000-00-00&d_end=2560-11-30&limit_lang=&limited_lang_code=&order=&order_by=&order_type=&result_id=1&maxid=6 chapter 2
ตามแนวคิดเรื่องอัตลักษณ์ดังที่กล่าวแ้วผุ้วิจัยพิจารณาเห้นว่าอัตลักษณ์ คือ ลักษณะเฉาพะของคนไทย หรืออัตลกัษณ์ไทยหมายถึงบางอย่าที่ติดอยู่ในสายเลือดของคนไทย และลักษณเฉพาะของคนไทยที่ไม่เหมอนกับชาติอื่น อัตลักณ์ไทยเกิดจากความคิดความเชื่อ และถูมิปัญญาในการดำรงอยู่และพัฒนาของสังคมไทย กล่าวอีนัยกนึ่ง อัตลักษณ์ไทยก็คือ วิถีไทย หรือลักษระไทย หรือกระบวนทางสังคมไทย ไม่ว่าชนชาติไหนหรือสมัยใดก็ตามมนุษย์เราสงสัยกันว่ "เราคือใค และเราจะอยู่กันอย่งไร" ในโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ซเรื่องเช่นนี ซึ่งก็คือ ควาต้องการอยากรู้เกี่ยวกับอัตลักษณ์ของัวเองพิจารณากัว่า เป้นเรื่องสำคัญๆ ที่จะต้องกำหนดไว้ การเปลี่ยนแปลงอัตลกัษณ์ไทยเกิดขึ้นเรื่อยๆ ตามพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ มโนทัศน์ และจิตภาพทางสังคม คนไทยจึงจำเป็นต้องปรับเเปลี่ยนมุมมอง หรือวิะีคิดเกี่ยวดับัชัวเองใันการณ์ มิฉะนั้นจะไม่สามารถปรับตัวได้ยอย่างมีพลัง ดังนั้นอัตลักษณ์ไทยที่สร้างขึ้นมาจึงตอบได้ว่า "ประเทศไทย" คือใครในอดีต คืออะไรในปัจจุบัน มุ่งจะป้ฯอะไรในอนาคต การปรับเปลี่ยนมุมอง หรือวิธีคิดเกี่ยวกับตัวเอง มิได้หมายถึงการละท้ิงจินตภาพเดิมถึงแม้ว่า ชาวไทยจะได้รับประเพณี ความเชื อและเทคโนโลยีระดับสูงมาจากอินเียตั้งแต่สัมยสุโขทั แตตค่คนไทยก็ไม่ต้องการร่วมอัตลักาณ์กับอินดีย หรือ ศรีรลักา และเรียกเขาว่า "แขก" ปละเรียกชาวตะวันตกว่า "ฝรั่ง" ตามชาวอินเดียและเปร์เซีย เช่น พุทธศาสนาในเมืองไทยเปลี่ยนแรูปแบบมาเป็นแบบไทย หนังสือศักดิ์สิทธิที่กำหนดเอกลักษณ์และอุดดมคติพุทธศาสนไทย คือไตรภูมิพระร่ง เป็นต้น
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น