ประชาคมเศรษบกิจอาเซียน กับ ช่องวางจากการพัฒนา
ประชาคมอาเซียน มีรัฐสมาชิก 10 ประเทศ ใน 10 ประเทศนี้ มี 4 ประเทศที่มีฐานะและสภาวะเศราฐกิจด้อยกว่า เล็กกว่า และพัฒนาน้อยกล่าวอี 6 ประเทศ และ 4 ประเทศที่ว่านี้ก็เข้ามาเป็นสมาชิกอาเซียนที่หลักว่าอีก 6 ประเทศ
4 ประเทศที่ว่ด้อยกว่าทางเศรบกิจนี้คือ กัมพุชา, ลาว, เมียนม่าร์, และเวียดนาม อาเซียนมีศัพท์บัญญัติย่อชื่อกลุ่ม 4 ประเทศนี้ว่า CLMV ย่อมมาจากตัวอักษรนำหน้าชื่อสี่ประเทศนั้นเอง เมื่อรู้สถานภาพทางเศราบกิจของตนว่าต้องเร่งกัฒนาเพื่อให้ไล่ทันรัฐสมาชิกประเทศอื่น กลุ่ม CLMV จึงเร่งพัฒนากันเต็มที่ ทำให้อาเซียนมักจะได้ข่าวดีเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจของกลุ่ม CLMV กันบ่อยๆ
ในปี พ.ศ. 2557 สำนักเลขาธิการอาเซียน ณ กรุงจาการ์ตา แถลงข่าวเรื่องการประเมินผลกลางปี ว่าด้วยเรื่องความคืบนหน้าในการปฏิบัติตามแผนการหลอมรวมหรือบูรณาการเศราฐกจิประชาคมอาเซียน ให้ได้ตามแผนงานที่เรียกชื่อเป็นทางการวาไความริเริ่มบูรณาการอาเซียน แผน 2" พอสรุปได้ว่า
20 ปีที่ผ่านมา กลุ่ม CLMV พัฒนาเศรษบกิจของแต่ละประเทศไปไดอย่างดีและรวดเร็ซ..นี่เป้ฯข่าวดีแต่การพัฒนาที่ทำให้เศราฐกิจเติบโตอย่างรวดเร็ซ ทำให้เกิดช่องวางทางเศราฐฏิจระหว่างคนรวยกับคนจ เป็นข่าวไม่ดี แต่ไม่ถึงกับเป็นข่าวร้าย เพราะการพัฒนาในสังคมที่ด้อยพัฒนา หรือในประเทศที่ล้าหลังยากจนทางเศราฐกจิในโลกนี้นั้น ก็มักจะพบปัญหาชองว่างอันเกิดจากการพัฒนาด้วยกันทั้งสิ้น นักเศราฐศ่าสตร์เรียกว่า "ช่องว่างอันเกิดจากการพัฒนา" เพราะในสังคมเศราฐกิจนั้นคนรวยก็พัฒนาเร็ว แถมยังพัฒนาตัวเองและกิจการของตัวเองโดย
การเอารัดเอกเปรยบหรือย่างน้อยก็กดขี่ค่าจ้างแรงงานคนจนอีกด้วย คนรวยก็เลยรวยกันอย่างไม่สามควรจะรวยมากขนาที่ได้รวยนั้น ส่วนบรรดาคนจนนั้นแม้จะมีงานทำดีมากขึ้น มีายได้เพ่ิมมากขึ้น แต่ก็ไม่มากขึ้นในระดับที่ควรได้ แถมถูกเอาเปรียบและถูกกดขี่ค่าจ้างแรงงานจากนายจ้างที่รวยกว่าก็ย่ิงทำให้คนจนจะจนลงไปกว่าเดิมก่อนการพัฒนา หากเปรียบเที่ยบกับคนที่รวยกว่าที่เขารวยมากขึ้นจนเกิดสัดส่วนที่ควรเป็น ถ้าหากระบบเศราฐกิจมีความยุติธรรม
"คนรวย รวยมากขึ้น รวยเร็วขึ้น คนจน รอยขึ้นน้อย รวยขึ้นช้า" นีคือช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจน หรือ "ช่องว่างอันเกิดจากการพัฒนา "นั่นเอง"คนที่อยู่ระหว่างกลาง หรือผุ้มีรายได้ระดับกลาง ที่เรียกกันแบบแบ่งชนชั้นว่า "ชนชั้นกลาง" นั้นมีน้อยเต็มที ในทาง
ทฤษฎี หากการพัฒนาสามารถทำให้เกิดชนชั้นกลางมากๆ มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ทำให้เหลือจำนวนคนจนกับคนรวยน้อยที่สุด สังคมก็จะมีปัญหาน้อยมาก เพราะคนรวยไม่กี่คนก็ปล่อยให้เขารวยไป และย่อยครั้งในสังมทีมีคุธรรม คนรวยก็มักจะบริจากความรวยกลับเข้าสุ่ระบบเศรษฐกิจ ช่วยคนจนต่อไป ทั้งทางตรงและทางอ้อม ส่วนจนที่จนมาากๆ จริงๆ นั้นในเมือมีจำนวนไม่มากนัก รัฐและสังคมก็สามารถช่วยกันดูแลไ้ จด้านนโยบายแบบรัฐสวัสดิการก็ได้ หรือจะโดยนโยบายเชิงประชานิยม แต่ทำแบบมีกรอบจำกัดให้ช่วยเฉพาะประชกรที่จจริงๆ ก็ได้ หากเป็นไดดังนั้ก็จะพอสร้างสังคมที่พลเมืองเป็นสุขทั่วหน้ากันได้
คนรวยมา
กๆ ซึ่งเป็นผุ้เสียภาษีอากรมากกว่าใครๆ ก็จะดิ่มเอิบใจที่รุ้ว่าเงินภาษีอากรของตนได้ถุกนำไปใช้ประโยชน์แก่ประชาชนผุ้อ้อยโอกาสจริงๆ ส่วน "ชนชั้นกลาง" หรือผูมีรายได้ปานกลางนั้นก็จะมีความสุขที่ได้ทำงานและดำเนินชีวิตอย่งขยันหมั่นเพียร จ่ายภาษีอากรเต็มทุกบาททุกสตางค์แล้วรู้ว่าเงินภาษีอาการที่ตนจ่ายไปให้รัฐนั้นจะกลับมาสร้างสังคมมและแก้ปัญหาสังคมอย่างแท้จริง
สำหรับคนจนที่มีอยู่เป็นจำนวนไม่มากนักนั้นก็จะอบอุ่นใจ ได้ว่าสังคมทุกระดับช่วยดุแลอยู่ ความมั่นคงในชีวิตเศรษกิจของคนจน แม้จะไม่ร่ำรวยหรูหรา แต่ก็มั่นคงพอที่จะมีแรงผลักดันควม
ทะเยอทะยานในชีวิตให้ก่อร่างสร้างตัวให้มั่งคั่งและเป็นสุขกว่าเดิมได้
ปัญหาเฉพาะของอาเซียนในเวลานี้้ หากดูแเฉาพะเรื่องเศรษฐกิจ ก็อยุ่ที่ช่องว่างอันเกิดจากการพัฒนาในกลุ่มประเทศ CLMV แต่ก็มิได้หมายความจะไม่มีปัญหาเดียวกันนี้ในประเทศอื่นๆ ที่จริงในประเทศไทย, ฟิลิปปินส์, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย ก็มีปัญหาเช่นดัน โดยเฉพาะประเทศไทยของเรานั้น นับวันก็จะเพิ่มพูนปัญหานี้มากขึ้นเรื่อยๆ
สำนักเลขาธิการอาเซียนแถลงต่อไปว่า ผลการประเมินกลางปีที่พบว่า CLMV มีปัญหาช่องว่างจากการพัฒนามากขึ้นแล้วนั้น จึงวิเคราะห์ต่อว่าปัญหารเศณษบกจิของ CLMV ที่ว่ากำลังตั้งเค้านี้นอกเหนอจะกระทบการบูรณาการประชาคมเศราฐกิจอาเว๊ยนตาม IAI แผน 2 โดยตรงแบ้ว ยังจะไปกระทบกระบวนการ บูรณาการในประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน และกรทบประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนด้วย
ทั้งหมดนี้หมายคึวามว่าปัญหาช่องว่างทางเศราฐกิจ จะนำไปสู่ปัญหาการเมืองและความมั่นคง อีกทั้งจะเป็นปัญหาสังคมและวัฒนธรรมด้วย หากไม่แก้ไขตัดไฟแต่ต้นลมแล้ว ในอนาคตอันไม่ำลกกลุ่มประเทศ CLMV ก็จะมีปัญหาสังคมครบวงจร แล้วก็จะกลายเป้นปัญหาของอาเซียนทั้งประชาคม เพราะอาเซียนต้องการ "บูรณาการระบบเศรษบกิจในภูมิภาคก่อนอื่นใด โดยหวังว่าหากทำสำเร็จก็จะเกิดการบูรณาการในด้านการเมือง ความมั่นคง สังคม วันธรรม ได้ครบถ้วน
ที่ประชุมจากการ์ตายังไมีมีคำตอบอะไรนอกจากจะแสดงความเข้าใจในปญหา แล้วก็เสนอให้คณะทำงานระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส (ระดับปลัดกระทรวงฯ) ไปศึกษาร่วมกันกับฝ่ายออสเตรเลีย ว฿่งจะให้ความช่วยเหลือผ่านองค์กร และจะมีคณะทำงานจากสถาบันแม่โขง มาช่วยงานด้วย งานจากนี้ไปคือการเร่งศึกษาเพื่อปัฐแผนปฏิบัติการที่มีอยู่แล้ว ให้สามารถรับสถานการณ์ได้ทันท่วงที....https://www.dailynews.co.th/article/220636
วันอาทิตย์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2560
วันเสาร์ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2560
Thai Idrntity in History 3
พระบาทสมเด้จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยุ่หัว ระบบราชการเร่ิมพัฒนาไปได้เองเไมือนเครื่องจักรแล้ว แต่พระองค์กลับทรงกตะหนักถึงความไม่มั่นคงแห่งพระราชอำนาจพระองค์ไม่สามารถสานต่อแนวพระราชำริของพระราชบิดาในเรื่องการเสริมสร้างความมั่นคงเกี่ยติยศ และความสามัคคีของข้าราชการภายใต้ความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตรยิ์ พระองค์จึงทรงหาทางเลือกใหม่ที่จะทำให้พระองค์ทรงเป้นองค์อธิปัตย์ที่สามารถนำประเทศไปสู่ความมั่นคงและสิวิไลซ์ได้
ทางเลือกหใม่ของพระองค์มีพื้นฐานอยุ่บนความคิดที่แพร่หลายอยู่ในประเทศในเวลานั้น คือ "ความรักชาติไทย" ทรงเป้นผุ้นำในการให้ความมหายรอืนิยาม "ความเป็นไทย" เพื่อให้เป็น "วิญญาณหรือดวงใจ" ของชาติไทย และทรงทำให้ชาติไทยและควมเป้นไทยกลายเป็นรากฐานของควสามสามัคคีภายใต้การนำของพระมหากษัตริย์ ซึ่งชาติไทยและความเป้นไทยจะมีพลังในแง่ที่สร้างเอกภาพ ภายใได้ด้วยการสร้างภาพให้ปรากฎชัดเจนว่า "ชาติไทย, ความเป้นไทย, คนไทย" เป็นพวกเราและมีคนอื่นทีไม่ใช่พวกเราและไม่มีความรักใคร่ผุกพันตอพวกเรา จะทอดทิ้งเราในยามวิกฤต ทรงเน้นสถาบนให่ คื อ "ชาติไทย" ทรงเน้นความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ในเชิงสัญญลักษณ์มากขั้นดดยเน้นความเป็น "ประมุข" ของพระมหากษัตริย์
"อนึ่งเมื่อสวงนชาติแล้ว ก็จะเป็นต้องสวงนสิ่ง ซึ่งเป็นหลักแห่งชาติคือ พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขนำชาติในการทั้งปวง พระราชาเป็นสง่าแห่งแคว้น.."
พระบาทสมเด้จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงย้อนกลบไปใช้ความคิดในไตรภูมิพระร่วงมาเชื่อมต่อกบความคิดแบบอังกฤษ ซึ่งเน้นสถาบันสำคัญ 3 สถาบันคือ พระผุ้เป็นเจ้า พระมหากษัตริย์ ประเทศชาติ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงนำมาปรับเป็นชาติ (แทนด้วยธงไตรรงค์) ศาสนา (พระพุทธรูป) พระมหากษัตริย์ (พระบรมสาทิสลักษณ์)
สถาบันหลักของไทยคือ ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ดังกล่าว ทรงขยายความคิดเรื่องรัฐสยามของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเพิ่มประเด็นเรืองชาตินิยม ความรักชาติ และเพื่อชาติ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่กัวทรงมีนดยบายปลูกฝังความรู้สึกชาตินิยม ทรงเห้นว่า คนไทยที่แท้จริงต้องมีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ์ ประเทศไทยไม่ได้เป็นเพียงดินแดนทีคนไทยอาศัยอยู่เท่านั้น แต่เป็นชาติไทยที่มีเอกลักาณ์ประจำชาติที่ทำให้ไทยมีความแตกต่างจากชาติอื่น สิงท่แตกต่างกันก็คื ประวัติศสตร์ของชาวไทย องค์ประกอบทางด้านศิลปะ ภาษา วรรณคด และศาสนาของคนไทย รวมทั้งความจงรักภักดีที่มีต่อพระมหากษัตริย์ และความภาคภูมิใจที่เป็นชาติเสรี คนไทยต้องเข้มแข็งและสามัคคีกัน ช่วยกัน รักษาความดีงามของวันธรรมไทยและฃความเป็นชาติไทยเอาวไว้ให้มั่นคงสืบไป...โดยสรุปแล้ว อัตลักาณ์ไทยในแนวพระราชดำริพระบาทาสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวทรงเน้น "ความเป็นไทย" ที่ศิวิไลท์ กล่าวคือ ความเป็นไทย แม้จะมีลักษณะเฉฑาะ แต่ลักษณะเฉพาะนั้นก็มี "วิญญาณ" หรือ "ภูมิธรรม" ที่เป็นสากลเหมือนกับวิญญาณ หรือ ภูมิธรรมของประเทศยุโรปอยู่แล้ว นอกจากภูมิธรรมของไยจะมีสวนเป้นสากลแล้ว ยังมีส่วนที่เหนือกว่ "ภูมิธรรม" ของชาติอื่่น เช่น "พุทธศาสนา" ซึ่งเ้นของไทย เป็นต้น
ภูมิธรรมของชาติที่พระงค์เน้นคือ ความซื่อสัตย์ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ความสามัคคี ความกล้าหาญ ความเพียรในการทำคุณประโยชน์เพื่อชาติ และพระมหากษัตรยิ์ การรักษาเกี่ยรติยศของชาติ ความซอตรงต่อหน้าที และซื่อตรงต่อคนทั่วไป ที่สำคัญที่สุดคือ "ความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์"
อัตลักษณ์ไทยในทรรศนะของสมเด้จฯ กรมพรยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานะภาพทรงมองอตลักษณ์ไทย (สยาม) แตกต่างจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยุ่หัว ทรงมองว่าไทย (สยาม) มีอัตลักษณ์ 3 ประการ คือ ความรักอิสระในแง่ขชาติ สังคม และปัจเจกชน ความปราศจากวิหิงสา กล่าวคือ ถ้าเลือกได้ชาวสยามจะเลือการตกลงแบบสันติวิธี และชาวสยามมีความสามารถในการประสานประโยชน์ หรือ การประนีประนอม รู้จักคัดเลือกส่วนดีจากแหล่งต่างๆ ม่เปลี่ยนให้เป็นไทย
สมเด็๗ฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงกล่าวถึงคุณธรรม 3 อย่างของชนชาติไทย ซึ่งเป็นอุปนิสัยประจำชาติว่า "ที่ชนชาติไทยสามารถปกครองประเทศสยามมาได้ช้านาน ถ้าจะนับเวลาเกือบถึง 700 ปี เข้าบัดนี้ จำต้องอาศัยคุณธรรมอย่างอื่นอนมีอยุ่ในอุปนิสัยของชนชาติไทยด้วย ข้าพเจ้าพิจารณาดูตามหลักฐานที่ปรากฎในพงศาวดาร เห็นว่า ชนชาติ
ไทยมีคุณธรรม 3 อย่างที่สำคัญจึงสามารถปกครองประเทศสยามมาได้คือ ควาจงรักอิสระของชาติอย่างหนึ่ง ความปราศจากวิหิงสาอย่างหนึ่ง ความฉลาดในการประสานประโยชน์อย่างหนึ่ง.." และทรงพยายามทำให้คนทั่วไปแระจักษ์ด้วยว่า พระมหากษัตริย์ไทยในสมยรัตนดกสินทร์ทรงเป้นผุ้นำแห่งคุณธรรมทั้งสามประการ...และทรงพยายามสร้างอัตลักษณ์ของชนชั้นต่างๆ ในประเทศ เช่น อัตลักษณ์ เจ้า อัตลักษณ์ข้าราชการ อัตลักาณราษฎร อัตลักาณ์พระสงห์ อัตลักษณ์ผุ้หญิง และอัตลักษณ์พ่อค้าและชาวจีน ฯลฯ เพื่อให้คนแต่ละชนชั้นรู้ไดอ้ย่างชัดเจนว่าตนเป็นใคร มีสถานภาพและหน้าที่อย่างไรในประเทศไทยด้วย
ผลงานทังหมดของสมเด้จฯ กรมพระยาดำรงราชานุำภาพคือ การสร้างจิตสำนึกใหม่เกี่ยวกับอัตลักษณ์ไทยโดยผ่านการปฏิรูประบบบริหารการศึกษา งานวิจย การสร้างพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ และห้องสมุด ท้ายที่สุดคือ การสร้างราชบัณฑิตยสถานเลียนแบบ เพื่อกำหนดภาษาแห่งชาติ วรรณคดี และเพื่อรักษาศิลปะดั้งเดิม โบราณสถาน และสมบัติแห่งชาติ
ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เน้นอัตลักษณ์ไทยที่เป็น "ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์" ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมชเน้นว่ "ชาติไทย" ดีกว่าชาติอื่น เพราะมี "ความเป็นไทย" อันมีคุณค่าหลายอย่าง ได้แก่ พระมหากษัตรยิืทไยที่ควรต่าแก่การเคารพบูชา ภาษาไทยที่เป้นภาษาของชนชาติไทยแต่โบราร ศิลปะไทย และขนบธรรมเนียมประเพณีต่าง ๆเป็นต้น ซึ่ง "ความเป็นไทย" เหล่านี้เป็นส่ิงที่ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช นำมาเน้นในโอกาสต่างๆ และอธิบายให้เห็นความหมายหรือความสำคัญอยู่เสมอ
ในวันที่สิ้นสุดระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของไทยการศึกษาแบบตะวันตกส่วนใหญ่เป็นภัยมากกว่าเป็นคุณต่ออัตลักษณ์ไทย (สยาม) มร.สก๊อต ที่ปรึกษาราชการชาวต่างประเทศ (อังกฤษ) กล่าวว่า ข้อผิดพลาดข้อสำคัญที่สุดของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวคือ การส่งชาวสยามไปศึกษาต่อต่างประเทศตั้งแต่อายุยังน้อย เมื่อบุคคลเหล่านี้กลับมาเป้นผุ้นำก็จะเป็นผุ้นำที่ไม่เข้าใจอัตลักษณ์ไทย (สยาม) จึงเป็นผลเสียต่อประเทศมากกว่าผลดี
อัตลักษณ์ไทยในทรรศนะของชาวต่างประเทศ
หลวงวิจิตรวาทการ กำหนดว่า อัตลักษณ์ไทย หมายถึง ความเป็นไทยทางวัฒนธรรม ท่า
พยายามสร้างอัตลักษณ์ไทยเพื่อตอบสนองต่อปัญหาของชาติตามที่มองเห็นแลเพื่อบรรลุอุดมคติของชาติไทยตามที่ท่านใฝ่ฝัน ท่านกล่าวถึงอัตลักษณ์ไทย่า ถ้าคนเราเปลี่ยนนิสัย หรือ เปลี่ยนความเคยชินในการดำเนินชีวิต ไปหลายชั่วคนก็จะเป็นลักษณะที่กลอมเข้าไป "อยู่ในเลือดและเปลี่ยนแปลไม่ได้ทีเดียว" คือ กลายเป้นลักษณะประจำชาติ หลวงวิจิตรวาทการเน้นอัตลักษณ์ไทย่า "เป็นของดีของชาติ" และ "นิสัย" ของดีของชาติ หมายความว่า สิ่งที่ทำให้ชาติไทยมีเกี่ยรติมากขั้น และได้รับความนับถือจากต่างชาติมากขึ้น
เช่น ประวัติศาสตร์ไทย โบราณคดีไทย อักษรศาสตร์ไทย ศิปละของชาติไทย และจารีตประเพณีไทย เป็นต้น ที่เป็นเครื่องเชิดชูเกียรติของชขาติ ส่วนการเน้น "นิสัย" หรือ "จิตใจ" หรือ "ศีลธรรม" ของคนไทยกลายเป็นปัจจัยแห่งความแข็งแรงมั่นคงของชาติไทย นอกจากนี้ หลวงวิจิตรวาทการสร้าง "ความเป็นไทย"โดยเน้น "มติมหาชน" เพื่อทำให้ "ชาติไทย" เจริญก้าวหน้าและ "คนไทย" มีความภาคภุมิใจในชาติของตน และเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง อัตลักษณ์ที่รัฐบาลไทยเน้นคือ "ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์" เพื่อต่อต้านคอมมิวนิสต์
สรุป.. อัตลักษณ์ไทยที่ชนชั้นผุ้ปกครองในสมััยนั้นพยายามสร้างให้เกิดขึ้นมีทั้งอัตลักษณ์ของชาติ อัตลักษณ์ รัฐสยามเป็นรัฐที่รักสงบเป้นมิตรกับนานาประเทศปราศจากวิหิงสา อัตลักษณ์ของพระมหากษัตรยิืเป็นพระมหากษัตริย์ของประชาชน (ราษฎร) ทรงอุทิศตนเพื่อประโยชน์สุขของราษฎร ตั้งอยุ่ในทศพิธราชธรรม (ทรงเป้นธรรมราชา) อัตลักษณ์ของข้าราชการคือ จงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ รักเกียรติ อุทิศตนเพื่อประเทศชาติ อัตลักษณ์ของปัจเจกชน (คนทั่วไป) รักอิสรภาพเป็นมิตรกับคนต่างชาติ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตรย์ ประพฤติตนตามหลักธรรมของศาสนาพุทธ...
- วิทยานิพนธ์ "อัตลักษณ์ไทยที่ปรากฎในนโยบายต่างประเทศยุคปรับปรุงประเทศตามแบบตะวันตก" โดย Lee Joeng yoon, ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต มหวิทยาลัยบูรพา บทที่ 2,หน้า 11-17, 2552.
ทางเลือกหใม่ของพระองค์มีพื้นฐานอยุ่บนความคิดที่แพร่หลายอยู่ในประเทศในเวลานั้น คือ "ความรักชาติไทย" ทรงเป้นผุ้นำในการให้ความมหายรอืนิยาม "ความเป็นไทย" เพื่อให้เป็น "วิญญาณหรือดวงใจ" ของชาติไทย และทรงทำให้ชาติไทยและควมเป้นไทยกลายเป็นรากฐานของควสามสามัคคีภายใต้การนำของพระมหากษัตริย์ ซึ่งชาติไทยและความเป้นไทยจะมีพลังในแง่ที่สร้างเอกภาพ ภายใได้ด้วยการสร้างภาพให้ปรากฎชัดเจนว่า "ชาติไทย, ความเป้นไทย, คนไทย" เป็นพวกเราและมีคนอื่นทีไม่ใช่พวกเราและไม่มีความรักใคร่ผุกพันตอพวกเรา จะทอดทิ้งเราในยามวิกฤต ทรงเน้นสถาบนให่ คื อ "ชาติไทย" ทรงเน้นความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ในเชิงสัญญลักษณ์มากขั้นดดยเน้นความเป็น "ประมุข" ของพระมหากษัตริย์
"อนึ่งเมื่อสวงนชาติแล้ว ก็จะเป็นต้องสวงนสิ่ง ซึ่งเป็นหลักแห่งชาติคือ พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขนำชาติในการทั้งปวง พระราชาเป็นสง่าแห่งแคว้น.."
พระบาทสมเด้จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงย้อนกลบไปใช้ความคิดในไตรภูมิพระร่วงมาเชื่อมต่อกบความคิดแบบอังกฤษ ซึ่งเน้นสถาบันสำคัญ 3 สถาบันคือ พระผุ้เป็นเจ้า พระมหากษัตริย์ ประเทศชาติ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงนำมาปรับเป็นชาติ (แทนด้วยธงไตรรงค์) ศาสนา (พระพุทธรูป) พระมหากษัตริย์ (พระบรมสาทิสลักษณ์)
สถาบันหลักของไทยคือ ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ดังกล่าว ทรงขยายความคิดเรื่องรัฐสยามของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเพิ่มประเด็นเรืองชาตินิยม ความรักชาติ และเพื่อชาติ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่กัวทรงมีนดยบายปลูกฝังความรู้สึกชาตินิยม ทรงเห้นว่า คนไทยที่แท้จริงต้องมีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ์ ประเทศไทยไม่ได้เป็นเพียงดินแดนทีคนไทยอาศัยอยู่เท่านั้น แต่เป็นชาติไทยที่มีเอกลักาณ์ประจำชาติที่ทำให้ไทยมีความแตกต่างจากชาติอื่น สิงท่แตกต่างกันก็คื ประวัติศสตร์ของชาวไทย องค์ประกอบทางด้านศิลปะ ภาษา วรรณคด และศาสนาของคนไทย รวมทั้งความจงรักภักดีที่มีต่อพระมหากษัตริย์ และความภาคภูมิใจที่เป็นชาติเสรี คนไทยต้องเข้มแข็งและสามัคคีกัน ช่วยกัน รักษาความดีงามของวันธรรมไทยและฃความเป็นชาติไทยเอาวไว้ให้มั่นคงสืบไป...โดยสรุปแล้ว อัตลักาณ์ไทยในแนวพระราชดำริพระบาทาสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวทรงเน้น "ความเป็นไทย" ที่ศิวิไลท์ กล่าวคือ ความเป็นไทย แม้จะมีลักษณะเฉฑาะ แต่ลักษณะเฉพาะนั้นก็มี "วิญญาณ" หรือ "ภูมิธรรม" ที่เป็นสากลเหมือนกับวิญญาณ หรือ ภูมิธรรมของประเทศยุโรปอยู่แล้ว นอกจากภูมิธรรมของไยจะมีสวนเป้นสากลแล้ว ยังมีส่วนที่เหนือกว่ "ภูมิธรรม" ของชาติอื่่น เช่น "พุทธศาสนา" ซึ่งเ้นของไทย เป็นต้น
ภูมิธรรมของชาติที่พระงค์เน้นคือ ความซื่อสัตย์ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ความสามัคคี ความกล้าหาญ ความเพียรในการทำคุณประโยชน์เพื่อชาติ และพระมหากษัตรยิ์ การรักษาเกี่ยรติยศของชาติ ความซอตรงต่อหน้าที และซื่อตรงต่อคนทั่วไป ที่สำคัญที่สุดคือ "ความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์"
อัตลักษณ์ไทยในทรรศนะของสมเด้จฯ กรมพรยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานะภาพทรงมองอตลักษณ์ไทย (สยาม) แตกต่างจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยุ่หัว ทรงมองว่าไทย (สยาม) มีอัตลักษณ์ 3 ประการ คือ ความรักอิสระในแง่ขชาติ สังคม และปัจเจกชน ความปราศจากวิหิงสา กล่าวคือ ถ้าเลือกได้ชาวสยามจะเลือการตกลงแบบสันติวิธี และชาวสยามมีความสามารถในการประสานประโยชน์ หรือ การประนีประนอม รู้จักคัดเลือกส่วนดีจากแหล่งต่างๆ ม่เปลี่ยนให้เป็นไทย
สมเด็๗ฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงกล่าวถึงคุณธรรม 3 อย่างของชนชาติไทย ซึ่งเป็นอุปนิสัยประจำชาติว่า "ที่ชนชาติไทยสามารถปกครองประเทศสยามมาได้ช้านาน ถ้าจะนับเวลาเกือบถึง 700 ปี เข้าบัดนี้ จำต้องอาศัยคุณธรรมอย่างอื่นอนมีอยุ่ในอุปนิสัยของชนชาติไทยด้วย ข้าพเจ้าพิจารณาดูตามหลักฐานที่ปรากฎในพงศาวดาร เห็นว่า ชนชาติ
ไทยมีคุณธรรม 3 อย่างที่สำคัญจึงสามารถปกครองประเทศสยามมาได้คือ ควาจงรักอิสระของชาติอย่างหนึ่ง ความปราศจากวิหิงสาอย่างหนึ่ง ความฉลาดในการประสานประโยชน์อย่างหนึ่ง.." และทรงพยายามทำให้คนทั่วไปแระจักษ์ด้วยว่า พระมหากษัตริย์ไทยในสมยรัตนดกสินทร์ทรงเป้นผุ้นำแห่งคุณธรรมทั้งสามประการ...และทรงพยายามสร้างอัตลักษณ์ของชนชั้นต่างๆ ในประเทศ เช่น อัตลักษณ์ เจ้า อัตลักษณ์ข้าราชการ อัตลักาณราษฎร อัตลักาณ์พระสงห์ อัตลักษณ์ผุ้หญิง และอัตลักษณ์พ่อค้าและชาวจีน ฯลฯ เพื่อให้คนแต่ละชนชั้นรู้ไดอ้ย่างชัดเจนว่าตนเป็นใคร มีสถานภาพและหน้าที่อย่างไรในประเทศไทยด้วย
ผลงานทังหมดของสมเด้จฯ กรมพระยาดำรงราชานุำภาพคือ การสร้างจิตสำนึกใหม่เกี่ยวกับอัตลักษณ์ไทยโดยผ่านการปฏิรูประบบบริหารการศึกษา งานวิจย การสร้างพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ และห้องสมุด ท้ายที่สุดคือ การสร้างราชบัณฑิตยสถานเลียนแบบ เพื่อกำหนดภาษาแห่งชาติ วรรณคดี และเพื่อรักษาศิลปะดั้งเดิม โบราณสถาน และสมบัติแห่งชาติ
ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เน้นอัตลักษณ์ไทยที่เป็น "ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์" ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมชเน้นว่ "ชาติไทย" ดีกว่าชาติอื่น เพราะมี "ความเป็นไทย" อันมีคุณค่าหลายอย่าง ได้แก่ พระมหากษัตรยิืทไยที่ควรต่าแก่การเคารพบูชา ภาษาไทยที่เป้นภาษาของชนชาติไทยแต่โบราร ศิลปะไทย และขนบธรรมเนียมประเพณีต่าง ๆเป็นต้น ซึ่ง "ความเป็นไทย" เหล่านี้เป็นส่ิงที่ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช นำมาเน้นในโอกาสต่างๆ และอธิบายให้เห็นความหมายหรือความสำคัญอยู่เสมอ
ในวันที่สิ้นสุดระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของไทยการศึกษาแบบตะวันตกส่วนใหญ่เป็นภัยมากกว่าเป็นคุณต่ออัตลักษณ์ไทย (สยาม) มร.สก๊อต ที่ปรึกษาราชการชาวต่างประเทศ (อังกฤษ) กล่าวว่า ข้อผิดพลาดข้อสำคัญที่สุดของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวคือ การส่งชาวสยามไปศึกษาต่อต่างประเทศตั้งแต่อายุยังน้อย เมื่อบุคคลเหล่านี้กลับมาเป้นผุ้นำก็จะเป็นผุ้นำที่ไม่เข้าใจอัตลักษณ์ไทย (สยาม) จึงเป็นผลเสียต่อประเทศมากกว่าผลดี
อัตลักษณ์ไทยในทรรศนะของชาวต่างประเทศ
หลวงวิจิตรวาทการ กำหนดว่า อัตลักษณ์ไทย หมายถึง ความเป็นไทยทางวัฒนธรรม ท่า
พยายามสร้างอัตลักษณ์ไทยเพื่อตอบสนองต่อปัญหาของชาติตามที่มองเห็นแลเพื่อบรรลุอุดมคติของชาติไทยตามที่ท่านใฝ่ฝัน ท่านกล่าวถึงอัตลักษณ์ไทย่า ถ้าคนเราเปลี่ยนนิสัย หรือ เปลี่ยนความเคยชินในการดำเนินชีวิต ไปหลายชั่วคนก็จะเป็นลักษณะที่กลอมเข้าไป "อยู่ในเลือดและเปลี่ยนแปลไม่ได้ทีเดียว" คือ กลายเป้นลักษณะประจำชาติ หลวงวิจิตรวาทการเน้นอัตลักษณ์ไทย่า "เป็นของดีของชาติ" และ "นิสัย" ของดีของชาติ หมายความว่า สิ่งที่ทำให้ชาติไทยมีเกี่ยรติมากขั้น และได้รับความนับถือจากต่างชาติมากขึ้น
เช่น ประวัติศาสตร์ไทย โบราณคดีไทย อักษรศาสตร์ไทย ศิปละของชาติไทย และจารีตประเพณีไทย เป็นต้น ที่เป็นเครื่องเชิดชูเกียรติของชขาติ ส่วนการเน้น "นิสัย" หรือ "จิตใจ" หรือ "ศีลธรรม" ของคนไทยกลายเป็นปัจจัยแห่งความแข็งแรงมั่นคงของชาติไทย นอกจากนี้ หลวงวิจิตรวาทการสร้าง "ความเป็นไทย"โดยเน้น "มติมหาชน" เพื่อทำให้ "ชาติไทย" เจริญก้าวหน้าและ "คนไทย" มีความภาคภุมิใจในชาติของตน และเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง อัตลักษณ์ที่รัฐบาลไทยเน้นคือ "ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์" เพื่อต่อต้านคอมมิวนิสต์
สรุป.. อัตลักษณ์ไทยที่ชนชั้นผุ้ปกครองในสมััยนั้นพยายามสร้างให้เกิดขึ้นมีทั้งอัตลักษณ์ของชาติ อัตลักษณ์ รัฐสยามเป็นรัฐที่รักสงบเป้นมิตรกับนานาประเทศปราศจากวิหิงสา อัตลักษณ์ของพระมหากษัตรยิืเป็นพระมหากษัตริย์ของประชาชน (ราษฎร) ทรงอุทิศตนเพื่อประโยชน์สุขของราษฎร ตั้งอยุ่ในทศพิธราชธรรม (ทรงเป้นธรรมราชา) อัตลักษณ์ของข้าราชการคือ จงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ รักเกียรติ อุทิศตนเพื่อประเทศชาติ อัตลักษณ์ของปัจเจกชน (คนทั่วไป) รักอิสรภาพเป็นมิตรกับคนต่างชาติ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตรย์ ประพฤติตนตามหลักธรรมของศาสนาพุทธ...
- วิทยานิพนธ์ "อัตลักษณ์ไทยที่ปรากฎในนโยบายต่างประเทศยุคปรับปรุงประเทศตามแบบตะวันตก" โดย Lee Joeng yoon, ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต มหวิทยาลัยบูรพา บทที่ 2,หน้า 11-17, 2552.
วันศุกร์ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2560
Thai Idrntity in History 2
ในประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่มีผุ้ที่สร้างอัตลักษณ์ไทยมาแล้วดังต่อไปนี้
อัตลักษณ์ไทยที่พะบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวทรงใช้ในการปกครองบ้านเมือง
สายชล สัตยานุรักษณ์ ได้เสนอว่าในการปกครองบ้านเมืองไทย (สยาม) พระบาทสมเด็นพระจอมเหล้าเจ้าอยุ่หัวทรงใช้อัตลักษณ์ไทยที่สำคัญอยู่ 4 ลักษณะคือ
- การยอมโอนอ่อผ่อนปรม (ตามความต้องการของจักรวรรดินิยมตะวัรตก เพื่อรักาาเอกราชทาด้านการเมือง ศาสนา และวัฒนธรรม)
- ทรงใช้อัตลักษณ์ที่พ่อขุรรามคำแหงทรงจาตึกไว้ในศิลาจารึกหลักที่ 1 มาสร้างใหม่ในด้านความรักในอิสรภาพ เสรีภาพ ภราดรภาพ และสมภาพ (อัตลักษณในไตรภูมิภูกละเลยไป)
- อัตลักษณ์ของผุ้ปกครองตามแบบ "ธรรมราช" คือ ราชาหรือพระเจ้าแผ่นดินท่ช้หลักทศพิธราชธรรมในกรครองตนมี 10 ประการ ได้แก่ ทาน, ศีล, บริจาค, อาชชวะ(ความซื่อตรง), มัททวะ(ความอ่อนโยน, ตบะ, อักโกธะ, อวิหิงสา(ความไม่เบียดเบียน, ขันติ และอวิโรธะ(ความไมคลาดจากธรรม) และใช้หลักจักรวรรดิวัตรในการปกครองประเทศ
แต่หลังจากรับอารยธรรมตะวันตกหลายด้าน ทำให้เสียอัตลักษณ์เดมบางด้านเปลี่ยนไป เช่น อัตลักาณ์ในด้านการแต่งกาย สถาปัตยกรรม และโดยเฉพาะนด้านการศึกษาโดยนำระบบการศึกษา และอค์ความรู้แบบตะวันตกมาเป้นแบบอย่าง เป็นต้น
อัตลักษณ์ไทยที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเหล้าเจ้าอยู่หัวทรงใช้ในการปกครองประเทศ
สายชล สัตยานุรักษ์ ได้เสอว่า พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวเป้ฯพระมหากษัตริย์พระองค์แรกที่ทรงประสบความสำเร็จในการสร้างพระราชอำนาจสูงสุดและเด็ดขาดทั่วพระราชอาณาจักร เพราะสร้างสัญลักษณ์ที่ทำให้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นศุนย์กลางของรัฐ พระองค์ทรงเน้นความสำคัญของอัตลักษณ์พระมหากษัตริย์ และอัตลักษณ์ข้าราชการเป็นพิเศษ พระองค์ทรงเน้นสถานะของพระมหากษัตริย์ ซึ่งมีพระราชอำนาจเด็ดขาดสูงสุดเหนือ "สยามเหนือ สยามไใต้ สยามกลาง..ลาวประเทศ ..มลายูประเทศ "ดังเห็นได้ชัดจากสัญลักษณ์บนผืนธง "บรมราชธวัชมหาสยามมินทร์ "ตามพระราชบัญญัติว่า ด้วยแบบอย่างธงสยาม ร.ศ.110 (พ.ศ.2434 และทรงเน้นอัตลักษณ์ของข้าราชการในฐานะผุ้มีเกี่ยรติยศอันเกิดจากพระมหากรุณาธิคุณ ซึ่งจะต้องปฏิบัติราชการอันเป้นหน้าที่ของตนด้วยความจงรักภักดี
เสถียร ลายลักษณ์ และคณะ ได้กล่าวว่า พระบาทมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวทรงพิจารณาเห็นควรมสำคัญขอการที่จะต้องมีระบบราชการและมีข้ราชการเป็นกลไกสำคัญของพระองค์ในการขยายอำาจในการปกครองและการจัดการทรัพยากรทำให้มีปัญหาว่า จะทำอย่างไรให้ระบบราชการและข้าราชการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพของระบบราชการขึ้นอยู่กับตัวบุคคลเป็นอย่งมา จึงต้องทรงสร้างข้าราชการที่ปฏิบัติหนาที่ด้วยความซื่อสัตย์ และจงรักภักดี วิธีสร้างข้าราชการที่มีอัตลักาณ์ดังกล่าว พระองค์ทรงกระทำด้วยการสร้างเกี่ยรติยศและอภิสิทธิ์แก่ข้าราชการ เช่น ทรงตราพระราชบัญญัติ ปกครอง ท้องถิ่น ข้าราชการกำหนดเครื่องแบบข้าราชการเน้นสถานะลดหลั่นของข้าราชการให้เด่นชัด พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์เพื่อเป็นเกี่ยรติ์แก่ข้าราชการ เป็นต้น
อัตลักษณ์ชองข้าราชการไทย
สมเด็จฯ กรมพระนริศรานุวัติวงศ์ และสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้ให้ความหมายอัตลักษณ์ของข้าราชการไทย ในทรรศนะของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวว่ ข้าราชการเป้นกลุ่มบุคคลที่มีเกี่ยติ มีสถานภาพสูงกว่าคนทั่วไปในฐานะข้าทูลละอองธุลีพระบาท ข้าราชการถูกเน้นให้มีหน้าที่ปกิบัติราชการด้วยความซื่อสัตย์ และจงรักภักดี การทำหน้าที่เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ข้าราชการมีเกี่ยรติยศ ข้าราชการทหารถูกสร้างให้ภาคภูมิใจในการทำหน้าที่เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ข้ารชการมีเกี่ยรติยศ ข้าราชการทหารถูกร้างให้ภาคภุมิใจในการทำหน้าที่อย่างสูง เพราะมหน้าที่ป้องกันรักษอิสรภาพของ้านเกิดเมืองนอน
อัตลักษณ์ของพระมหากษัตริย์
เสถียร ลายลักาณ์ และคณะ ไ้ศึกษาเรื่องอัตลักษณ์ของพระมหากัตริย์ว่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวทรงพยายามสร้างให้พระมหากษัตรยิืมีความสำคัญสูงสุด ทรงเสริมสร้างพระราชอำนาจและพระเกียรติยศของพระมหากษัริย์ทั้งใน ความสัพันธ์กับข้าราชการและราษฎร ทรงทำให้เวลาในรอบนหึ่งปีเคลื่อนไปโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นศูนย์กลางเพ่ิมวัดสำคัญใหม่ๆ ที่เกี่ยวของกับพระเกี่ยรติยศ และความจงรักภักดต่อพระมหากษัตริย์ เช่น "วันเฉลิมพระชนม์พรรษา" "วันถวายบังคมพระบรมรูปฯฐ เป็นต้น
ภาพของพระมหากษัตรยิ์ในฐานะประมุขของประเทศทรงปกครองด้วยความเมตตา กรุณา และยุติธรรมโดยมีข้าราชการท่จงรักภักดี และมีความสามัคคีั่น ทำหน้าที่เป็นผุ้สนอง พระบรมราชโองการ
ในด้านการยุติธรรม และความเป็นธรรมนั้น เสถียร ลายลักาณ์ และคณะ ได้กล่าวว่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวทรงเน้นภาพลักษณ์ของพระมหากษัตริย์ที่จรรโลงความยุติธรรมเป็นอย่งมาก ทรงทำให้เป็นปรากฎว่า นอกจากพระองค์จะทรงยึดหลัก ความยุติธรรม และความเป็นธรรมด้วยพระองค์เองแล้ว ยงทรงเน้นให้ข้าราชการ ซึ่งเป็นข้าทู๔ลละอองธุลีพระบาทผุ้ปฏิบัติราชกิจต้องยึดถือย่างเคร่งครัด
สายชล สัตยานุรักษณื ได้เสนอเกี่ยวกับอัตลักาณ์ของพระบาทสามาเด้๗พระจุลจอมเหล้าเจ้าอยุ่หัวว่ ทรงเน้นการแก่ปัญหาและการแรับปรุงประเทศให้เจริญก้าวหน้าโดบใช้อำนาจรัฐทำให้กลไกอำนาจรัฐคือ ข้าราชการเป็นเงื่อนไขสำคัญของความสำเร็จ หรือ ความล้มเหลว
- บางส่วนจาก วิทยานิพนธ์ "อัตลักษณ์ไทยที่ปรากฎในนโยบายต่างประเทศยุคปรับปรุงประเทศตามแบบตะวันตก" โดย Lee Joeng yoon, ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต มหวิทยาลัยบูรพา บทที่ 2, 2552.
อัตลักษณ์ไทยที่พะบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวทรงใช้ในการปกครองบ้านเมือง
สายชล สัตยานุรักษณ์ ได้เสนอว่าในการปกครองบ้านเมืองไทย (สยาม) พระบาทสมเด็นพระจอมเหล้าเจ้าอยุ่หัวทรงใช้อัตลักษณ์ไทยที่สำคัญอยู่ 4 ลักษณะคือ
- การยอมโอนอ่อผ่อนปรม (ตามความต้องการของจักรวรรดินิยมตะวัรตก เพื่อรักาาเอกราชทาด้านการเมือง ศาสนา และวัฒนธรรม)
- ทรงใช้อัตลักษณ์ที่พ่อขุรรามคำแหงทรงจาตึกไว้ในศิลาจารึกหลักที่ 1 มาสร้างใหม่ในด้านความรักในอิสรภาพ เสรีภาพ ภราดรภาพ และสมภาพ (อัตลักษณในไตรภูมิภูกละเลยไป)
- อัตลักษณ์ของผุ้ปกครองตามแบบ "ธรรมราช" คือ ราชาหรือพระเจ้าแผ่นดินท่ช้หลักทศพิธราชธรรมในกรครองตนมี 10 ประการ ได้แก่ ทาน, ศีล, บริจาค, อาชชวะ(ความซื่อตรง), มัททวะ(ความอ่อนโยน, ตบะ, อักโกธะ, อวิหิงสา(ความไม่เบียดเบียน, ขันติ และอวิโรธะ(ความไมคลาดจากธรรม) และใช้หลักจักรวรรดิวัตรในการปกครองประเทศ
แต่หลังจากรับอารยธรรมตะวันตกหลายด้าน ทำให้เสียอัตลักษณ์เดมบางด้านเปลี่ยนไป เช่น อัตลักาณ์ในด้านการแต่งกาย สถาปัตยกรรม และโดยเฉพาะนด้านการศึกษาโดยนำระบบการศึกษา และอค์ความรู้แบบตะวันตกมาเป้นแบบอย่าง เป็นต้น
อัตลักษณ์ไทยที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเหล้าเจ้าอยู่หัวทรงใช้ในการปกครองประเทศ
สายชล สัตยานุรักษ์ ได้เสอว่า พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวเป้ฯพระมหากษัตริย์พระองค์แรกที่ทรงประสบความสำเร็จในการสร้างพระราชอำนาจสูงสุดและเด็ดขาดทั่วพระราชอาณาจักร เพราะสร้างสัญลักษณ์ที่ทำให้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นศุนย์กลางของรัฐ พระองค์ทรงเน้นความสำคัญของอัตลักษณ์พระมหากษัตริย์ และอัตลักษณ์ข้าราชการเป็นพิเศษ พระองค์ทรงเน้นสถานะของพระมหากษัตริย์ ซึ่งมีพระราชอำนาจเด็ดขาดสูงสุดเหนือ "สยามเหนือ สยามไใต้ สยามกลาง..ลาวประเทศ ..มลายูประเทศ "ดังเห็นได้ชัดจากสัญลักษณ์บนผืนธง "บรมราชธวัชมหาสยามมินทร์ "ตามพระราชบัญญัติว่า ด้วยแบบอย่างธงสยาม ร.ศ.110 (พ.ศ.2434 และทรงเน้นอัตลักษณ์ของข้าราชการในฐานะผุ้มีเกี่ยรติยศอันเกิดจากพระมหากรุณาธิคุณ ซึ่งจะต้องปฏิบัติราชการอันเป้นหน้าที่ของตนด้วยความจงรักภักดี
เสถียร ลายลักษณ์ และคณะ ได้กล่าวว่า พระบาทมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวทรงพิจารณาเห็นควรมสำคัญขอการที่จะต้องมีระบบราชการและมีข้ราชการเป็นกลไกสำคัญของพระองค์ในการขยายอำาจในการปกครองและการจัดการทรัพยากรทำให้มีปัญหาว่า จะทำอย่างไรให้ระบบราชการและข้าราชการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพของระบบราชการขึ้นอยู่กับตัวบุคคลเป็นอย่งมา จึงต้องทรงสร้างข้าราชการที่ปฏิบัติหนาที่ด้วยความซื่อสัตย์ และจงรักภักดี วิธีสร้างข้าราชการที่มีอัตลักาณ์ดังกล่าว พระองค์ทรงกระทำด้วยการสร้างเกี่ยรติยศและอภิสิทธิ์แก่ข้าราชการ เช่น ทรงตราพระราชบัญญัติ ปกครอง ท้องถิ่น ข้าราชการกำหนดเครื่องแบบข้าราชการเน้นสถานะลดหลั่นของข้าราชการให้เด่นชัด พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์เพื่อเป็นเกี่ยรติ์แก่ข้าราชการ เป็นต้น
อัตลักษณ์ชองข้าราชการไทย
สมเด็จฯ กรมพระนริศรานุวัติวงศ์ และสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้ให้ความหมายอัตลักษณ์ของข้าราชการไทย ในทรรศนะของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวว่ ข้าราชการเป้นกลุ่มบุคคลที่มีเกี่ยติ มีสถานภาพสูงกว่าคนทั่วไปในฐานะข้าทูลละอองธุลีพระบาท ข้าราชการถูกเน้นให้มีหน้าที่ปกิบัติราชการด้วยความซื่อสัตย์ และจงรักภักดี การทำหน้าที่เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ข้าราชการมีเกี่ยรติยศ ข้าราชการทหารถูกสร้างให้ภาคภูมิใจในการทำหน้าที่เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ข้ารชการมีเกี่ยรติยศ ข้าราชการทหารถูกร้างให้ภาคภุมิใจในการทำหน้าที่อย่างสูง เพราะมหน้าที่ป้องกันรักษอิสรภาพของ้านเกิดเมืองนอน
อัตลักษณ์ของพระมหากษัตริย์
เสถียร ลายลักาณ์ และคณะ ไ้ศึกษาเรื่องอัตลักษณ์ของพระมหากัตริย์ว่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวทรงพยายามสร้างให้พระมหากษัตรยิืมีความสำคัญสูงสุด ทรงเสริมสร้างพระราชอำนาจและพระเกียรติยศของพระมหากษัริย์ทั้งใน ความสัพันธ์กับข้าราชการและราษฎร ทรงทำให้เวลาในรอบนหึ่งปีเคลื่อนไปโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นศูนย์กลางเพ่ิมวัดสำคัญใหม่ๆ ที่เกี่ยวของกับพระเกี่ยรติยศ และความจงรักภักดต่อพระมหากษัตริย์ เช่น "วันเฉลิมพระชนม์พรรษา" "วันถวายบังคมพระบรมรูปฯฐ เป็นต้น
ภาพของพระมหากษัตรยิ์ในฐานะประมุขของประเทศทรงปกครองด้วยความเมตตา กรุณา และยุติธรรมโดยมีข้าราชการท่จงรักภักดี และมีความสามัคคีั่น ทำหน้าที่เป็นผุ้สนอง พระบรมราชโองการ
ในด้านการยุติธรรม และความเป็นธรรมนั้น เสถียร ลายลักาณ์ และคณะ ได้กล่าวว่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวทรงเน้นภาพลักษณ์ของพระมหากษัตริย์ที่จรรโลงความยุติธรรมเป็นอย่งมาก ทรงทำให้เป็นปรากฎว่า นอกจากพระองค์จะทรงยึดหลัก ความยุติธรรม และความเป็นธรรมด้วยพระองค์เองแล้ว ยงทรงเน้นให้ข้าราชการ ซึ่งเป็นข้าทู๔ลละอองธุลีพระบาทผุ้ปฏิบัติราชกิจต้องยึดถือย่างเคร่งครัด
สายชล สัตยานุรักษณื ได้เสนอเกี่ยวกับอัตลักาณ์ของพระบาทสามาเด้๗พระจุลจอมเหล้าเจ้าอยุ่หัวว่ ทรงเน้นการแก่ปัญหาและการแรับปรุงประเทศให้เจริญก้าวหน้าโดบใช้อำนาจรัฐทำให้กลไกอำนาจรัฐคือ ข้าราชการเป็นเงื่อนไขสำคัญของความสำเร็จ หรือ ความล้มเหลว
- บางส่วนจาก วิทยานิพนธ์ "อัตลักษณ์ไทยที่ปรากฎในนโยบายต่างประเทศยุคปรับปรุงประเทศตามแบบตะวันตก" โดย Lee Joeng yoon, ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต มหวิทยาลัยบูรพา บทที่ 2, 2552.
วันพฤหัสบดีที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
Thai Idrntity in History
ความหมายของ "อัตลักษณ์"
พจนานุกรมภาษาไทย - อังกฤษหรืออังกฤษ-ไทย คำแปลของ Identity คือ คำว่า "เอกลักษณ์" ซ่งตรงกับความมหายของคำนี้ในพจนานนุกรมภาษาอังกฤษ นั้นก็คือ สิ่งที่เป็นีุณสมบัติของคนหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง และมีนัยขยายต่อไปว่าเป็นคุณสมบัติเฉพาะของส่ิงนั้น ที่ทำให้สสิ่งนั้นโดดเด่นขึ้นมา รหื แตกต่างจากสิ่งอื่น ทว่าในแวดวงสังคมศาสตร์ปัจจุบัน แนวโน้มทางทฤษฎียุคใหม่ ทำให้เกิดการตั้งคำถามอย่างมากกับวิะีการมองโลก การเข้าถึงความจริง ของสิ่งต่างๆ ..กลายเป็นนิยามความหมาย ซึ่งสมารถเลื่อหนไลเปลี่ยนแปรไปได้ตามบริบท มิได้หมายถึงคุณสบัติเฉาพะตัวอีกต่อไป ดังนั้นคำว่า "อัตลักษณ์" ดูจะเหมาะสมกว่าเอกลักษณ์...
อัตลักษณ์ (ศรินยา) ให้ความมหายของคำอัตลักษณ์ว่า เป็นคำผสมระหว่างคำว่า "อัตฎกับ "ลักษณ์" คำว่า "อัต" เป็นภาษาบาลี (อตฺต) แปลว่ ตนหรือตัวตน ส่วนคำว่าลักษณ์ (ลกฺษณ) เป็นภาษาสันสกฤต แปลว่า เครื่องสแดงสิ่งหนึ่งให้เห็นว่าต่างกับอีกส่ิงนหึ่ง ดังนั้น ถ้าแปลตามรูปศัพท์อัตลักษณ์จึงแปลได้ว่า "สิ่งที่แสดงความเป็นตัวเอง หรือลักษณะที่แสดงถึงความเป็นตัวเอง"
ฉลาดชาย รมิตานนท์ ให้ควำอธิบายว่า หมายถึงสิ่งที่เรารู้สึกว่าเป็นเรา หรือพวกเรา แตกต่างกจากเขา พวกเขา หรือคนอื่น อัตลักษณ์ไม่จำเป็นต้องมีหนึ่งเดี่ยวแต่อาจมีหลายอัตลักาณ์ที่ประกอบกันขึ้นมเป้นตัวเรา พวกเรา อัตลักษณ์ไม่ใช่สิ่ที่มีอยู่ตามธรรมชาติ แต่เป็นส่ิงที่ถูกสร้างขึ้นดดยสังคม อัตลักษณ์จึงจำเป็นต้องมีกระบวนการสร้างความเมหือนและควมแตกต่างระหว่าง "พวกเรา" หรือ "คนอื่น"
สุภาพร คงศิริรัตน์ กล่าวว่าปรเภทของอัตักษณ์มี 2 ระดับคืออัตลักาณ์บุคคล และอัตลักษณ์ทางสัคม โดยศึกษาความคาบเกี่ยวและปฎิสัมพันะ์ของทั้งสองระดับนี้
ธงชัย วินิจะกุล กล่าวถึงแนวคิดนี้ว่า เมื่อกเกิความหลากหลยของอัตลักษณ์ในบุคคลคนหนึ่งทำให้เกิดพลังบางอย่าขึ้นโดยเฉพาะในอัตลักษณ์ร่วมทางวัฒนธรรม เช่น วรรณะ กลุ่มชาติพันธุ์ ศาสนา ชาติ เป็นต้น
แอนโทนี สมิธ นักมานุษยวิทยาชาวอังกฤษเห็นว่ ชาติที่ดำรงอยู่มานานแล้วมีลักาณะบางอย่างที่สืบต่อมาจากการเป็น "ชุมชนชาติพันธุ์" โดยสมิธประยุกต์มาจากภาษาฝรั่งเศส ดังนั้นแต่ละชาติจึงมีลักษณะบางอย่างเป้ฯของตนเอง บังผลให้พลเมืองของชาติแต่ละแห่งมีลักษณะแพาะของตนเองแตกต่างกันไป
http://dcms.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=214342&query=%CD%D1%B5%C5%D1%A1%C9%B3%EC%E4%B7%C2&s_mode=any&d_field=&d_start=0000-00-00&d_end=2560-11-30&limit_lang=&limited_lang_code=&order=&order_by=&order_type=&result_id=1&maxid=6 chapter 2
ตามแนวคิดเรื่องอัตลักษณ์ดังที่กล่าวแ้วผุ้วิจัยพิจารณาเห้นว่าอัตลักษณ์ คือ ลักษณะเฉาพะของคนไทย หรืออัตลกัษณ์ไทยหมายถึงบางอย่าที่ติดอยู่ในสายเลือดของคนไทย และลักษณเฉพาะของคนไทยที่ไม่เหมอนกับชาติอื่น อัตลักณ์ไทยเกิดจากความคิดความเชื่อ และถูมิปัญญาในการดำรงอยู่และพัฒนาของสังคมไทย กล่าวอีนัยกนึ่ง อัตลักษณ์ไทยก็คือ วิถีไทย หรือลักษระไทย หรือกระบวนทางสังคมไทย ไม่ว่าชนชาติไหนหรือสมัยใดก็ตามมนุษย์เราสงสัยกันว่ "เราคือใค และเราจะอยู่กันอย่งไร" ในโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ซเรื่องเช่นนี ซึ่งก็คือ ควาต้องการอยากรู้เกี่ยวกับอัตลักษณ์ของัวเองพิจารณากัว่า เป้นเรื่องสำคัญๆ ที่จะต้องกำหนดไว้ การเปลี่ยนแปลงอัตลกัษณ์ไทยเกิดขึ้นเรื่อยๆ ตามพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ มโนทัศน์ และจิตภาพทางสังคม คนไทยจึงจำเป็นต้องปรับเเปลี่ยนมุมมอง หรือวิะีคิดเกี่ยวดับัชัวเองใันการณ์ มิฉะนั้นจะไม่สามารถปรับตัวได้ยอย่างมีพลัง ดังนั้นอัตลักษณ์ไทยที่สร้างขึ้นมาจึงตอบได้ว่า "ประเทศไทย" คือใครในอดีต คืออะไรในปัจจุบัน มุ่งจะป้ฯอะไรในอนาคต การปรับเปลี่ยนมุมอง หรือวิธีคิดเกี่ยวกับตัวเอง มิได้หมายถึงการละท้ิงจินตภาพเดิมถึงแม้ว่า ชาวไทยจะได้รับประเพณี ความเชื อและเทคโนโลยีระดับสูงมาจากอินเียตั้งแต่สัมยสุโขทั แตตค่คนไทยก็ไม่ต้องการร่วมอัตลักาณ์กับอินดีย หรือ ศรีรลักา และเรียกเขาว่า "แขก" ปละเรียกชาวตะวันตกว่า "ฝรั่ง" ตามชาวอินเดียและเปร์เซีย เช่น พุทธศาสนาในเมืองไทยเปลี่ยนแรูปแบบมาเป็นแบบไทย หนังสือศักดิ์สิทธิที่กำหนดเอกลักษณ์และอุดดมคติพุทธศาสนไทย คือไตรภูมิพระร่ง เป็นต้น
พจนานุกรมภาษาไทย - อังกฤษหรืออังกฤษ-ไทย คำแปลของ Identity คือ คำว่า "เอกลักษณ์" ซ่งตรงกับความมหายของคำนี้ในพจนานนุกรมภาษาอังกฤษ นั้นก็คือ สิ่งที่เป็นีุณสมบัติของคนหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง และมีนัยขยายต่อไปว่าเป็นคุณสมบัติเฉพาะของส่ิงนั้น ที่ทำให้สสิ่งนั้นโดดเด่นขึ้นมา รหื แตกต่างจากสิ่งอื่น ทว่าในแวดวงสังคมศาสตร์ปัจจุบัน แนวโน้มทางทฤษฎียุคใหม่ ทำให้เกิดการตั้งคำถามอย่างมากกับวิะีการมองโลก การเข้าถึงความจริง ของสิ่งต่างๆ ..กลายเป็นนิยามความหมาย ซึ่งสมารถเลื่อหนไลเปลี่ยนแปรไปได้ตามบริบท มิได้หมายถึงคุณสบัติเฉาพะตัวอีกต่อไป ดังนั้นคำว่า "อัตลักษณ์" ดูจะเหมาะสมกว่าเอกลักษณ์...
อัตลักษณ์ (ศรินยา) ให้ความมหายของคำอัตลักษณ์ว่า เป็นคำผสมระหว่างคำว่า "อัตฎกับ "ลักษณ์" คำว่า "อัต" เป็นภาษาบาลี (อตฺต) แปลว่ ตนหรือตัวตน ส่วนคำว่าลักษณ์ (ลกฺษณ) เป็นภาษาสันสกฤต แปลว่า เครื่องสแดงสิ่งหนึ่งให้เห็นว่าต่างกับอีกส่ิงนหึ่ง ดังนั้น ถ้าแปลตามรูปศัพท์อัตลักษณ์จึงแปลได้ว่า "สิ่งที่แสดงความเป็นตัวเอง หรือลักษณะที่แสดงถึงความเป็นตัวเอง"
ฉลาดชาย รมิตานนท์ ให้ควำอธิบายว่า หมายถึงสิ่งที่เรารู้สึกว่าเป็นเรา หรือพวกเรา แตกต่างกจากเขา พวกเขา หรือคนอื่น อัตลักษณ์ไม่จำเป็นต้องมีหนึ่งเดี่ยวแต่อาจมีหลายอัตลักาณ์ที่ประกอบกันขึ้นมเป้นตัวเรา พวกเรา อัตลักษณ์ไม่ใช่สิ่ที่มีอยู่ตามธรรมชาติ แต่เป็นส่ิงที่ถูกสร้างขึ้นดดยสังคม อัตลักษณ์จึงจำเป็นต้องมีกระบวนการสร้างความเมหือนและควมแตกต่างระหว่าง "พวกเรา" หรือ "คนอื่น"
สุภาพร คงศิริรัตน์ กล่าวว่าปรเภทของอัตักษณ์มี 2 ระดับคืออัตลักาณ์บุคคล และอัตลักษณ์ทางสัคม โดยศึกษาความคาบเกี่ยวและปฎิสัมพันะ์ของทั้งสองระดับนี้
ธงชัย วินิจะกุล กล่าวถึงแนวคิดนี้ว่า เมื่อกเกิความหลากหลยของอัตลักษณ์ในบุคคลคนหนึ่งทำให้เกิดพลังบางอย่าขึ้นโดยเฉพาะในอัตลักษณ์ร่วมทางวัฒนธรรม เช่น วรรณะ กลุ่มชาติพันธุ์ ศาสนา ชาติ เป็นต้น
แอนโทนี สมิธ นักมานุษยวิทยาชาวอังกฤษเห็นว่ ชาติที่ดำรงอยู่มานานแล้วมีลักาณะบางอย่างที่สืบต่อมาจากการเป็น "ชุมชนชาติพันธุ์" โดยสมิธประยุกต์มาจากภาษาฝรั่งเศส ดังนั้นแต่ละชาติจึงมีลักษณะบางอย่างเป้ฯของตนเอง บังผลให้พลเมืองของชาติแต่ละแห่งมีลักษณะแพาะของตนเองแตกต่างกันไป
http://dcms.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=214342&query=%CD%D1%B5%C5%D1%A1%C9%B3%EC%E4%B7%C2&s_mode=any&d_field=&d_start=0000-00-00&d_end=2560-11-30&limit_lang=&limited_lang_code=&order=&order_by=&order_type=&result_id=1&maxid=6 chapter 2
ตามแนวคิดเรื่องอัตลักษณ์ดังที่กล่าวแ้วผุ้วิจัยพิจารณาเห้นว่าอัตลักษณ์ คือ ลักษณะเฉาพะของคนไทย หรืออัตลกัษณ์ไทยหมายถึงบางอย่าที่ติดอยู่ในสายเลือดของคนไทย และลักษณเฉพาะของคนไทยที่ไม่เหมอนกับชาติอื่น อัตลักณ์ไทยเกิดจากความคิดความเชื่อ และถูมิปัญญาในการดำรงอยู่และพัฒนาของสังคมไทย กล่าวอีนัยกนึ่ง อัตลักษณ์ไทยก็คือ วิถีไทย หรือลักษระไทย หรือกระบวนทางสังคมไทย ไม่ว่าชนชาติไหนหรือสมัยใดก็ตามมนุษย์เราสงสัยกันว่ "เราคือใค และเราจะอยู่กันอย่งไร" ในโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ซเรื่องเช่นนี ซึ่งก็คือ ควาต้องการอยากรู้เกี่ยวกับอัตลักษณ์ของัวเองพิจารณากัว่า เป้นเรื่องสำคัญๆ ที่จะต้องกำหนดไว้ การเปลี่ยนแปลงอัตลกัษณ์ไทยเกิดขึ้นเรื่อยๆ ตามพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ มโนทัศน์ และจิตภาพทางสังคม คนไทยจึงจำเป็นต้องปรับเเปลี่ยนมุมมอง หรือวิะีคิดเกี่ยวดับัชัวเองใันการณ์ มิฉะนั้นจะไม่สามารถปรับตัวได้ยอย่างมีพลัง ดังนั้นอัตลักษณ์ไทยที่สร้างขึ้นมาจึงตอบได้ว่า "ประเทศไทย" คือใครในอดีต คืออะไรในปัจจุบัน มุ่งจะป้ฯอะไรในอนาคต การปรับเปลี่ยนมุมอง หรือวิธีคิดเกี่ยวกับตัวเอง มิได้หมายถึงการละท้ิงจินตภาพเดิมถึงแม้ว่า ชาวไทยจะได้รับประเพณี ความเชื อและเทคโนโลยีระดับสูงมาจากอินเียตั้งแต่สัมยสุโขทั แตตค่คนไทยก็ไม่ต้องการร่วมอัตลักาณ์กับอินดีย หรือ ศรีรลักา และเรียกเขาว่า "แขก" ปละเรียกชาวตะวันตกว่า "ฝรั่ง" ตามชาวอินเดียและเปร์เซีย เช่น พุทธศาสนาในเมืองไทยเปลี่ยนแรูปแบบมาเป็นแบบไทย หนังสือศักดิ์สิทธิที่กำหนดเอกลักษณ์และอุดดมคติพุทธศาสนไทย คือไตรภูมิพระร่ง เป็นต้น
วันพุธที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
Community Identity to Education Foundation
อัตลักษณ์ชุมชนรากฐานสู่การศึกษา ชุมชนแต่ละชุมชนย่อมมีแหล่งที่มแตกต่างกัน อาจเนื่องด้วยพื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมและเมื่อเวลาผ่านไปก็ส่งผลถึงบทบาทของชุมชนในการที่จะสรางอตลักาณ์ ซึ่งเป้นที่บงลอกความเป็นตัวตนของชุมชน อันเป็นภูมิปัญาที่มีความโดยเด่น ซึ่งควรค่าแก่การสืบสานและถ่ายทอดไปยังคนรุ่นหลัง ฉะนั้นแล้วสิงทีสำคัญที่สุด คือการเข้าใกล้ เข้าใจและเข้าถึง รู้จักชุมชนหรือท้องถ่ินของตนเองอย่างถ่องแท้เพื่อที่จตะสามารถถ่ายทอด สืบสาน และแห้ปัญหาในท้องถ่ินนั้นได้โดยที่ไมีการนำมาเรียนรู้เข้าสู่การศึกษาโดยเน้นการถ่ายทอดภูมิปัญญา อันเป็นตัวตนของท้องถิ่น
นั้นๆ ด้วยวิธีการที่หลากหลายและเหมาะสม จึงจะทำให้เป็นการเรียรู้และเป้นการเรียรฮุ้ที่ยั่งยืนและมีความหมายเพราะองค์ความรู้ในชุมช ท้องถ่ิน และภ๓มิปัญญา มีอยู่มากมาย หากแต่ขาดการถ่ายทอดและการเรียรู้ ซึ่งทั้งนี้จะต้องส่งเสริมให้มีการเรียนรู้โดยเป้นการเรียนรู้ตลอกชีิวติอย่างยั่งยืน และด้วยความสำคัญขององค์ความรุ้อันเป็นภูมิปัญญาท้องถ่ินที่เป็นอัตลักษณ์ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องนำพเอาภูมิปัญญาท้องถ่ินเข้ามาปรับใช้ในการเรียนการสอนเพื่อที่จะัพัฒนาการศึกษาต่ไป
ความหมายจของอัตลักาณ อัตลักษณ์ หมายถึง คุณลักษณเฉพาะตัว ซึ่งเป้นตัวบ่งชี้ของลักษณะเฉพาะของบุคคล สังคม ชุมชน หรือประเทศนั้น ๆ อาจรวมถึง เชื้อชดาติ ภาษา วัฒนธรรมท้องเถิน และศาสนา ฯลฯ ซึ่งมีคุณลักษณะที่ไม่ทั่วไปหรือสากลกับสังคมอื่นๆ หรือเป็นลักษระที่ไม่เหมือนกับของคนอืนๆ เช่น หมู่บ้านนี้มีอัตลักษณ์างด้านการจักสาน ใครได้ยิก็จำได้ทันทีโดยที่สังคมแตะละสัวคมย่อมมีอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมเป้นของตนเอง ซึ่ยุคสมัยนี้เป็นยูโลกาภิวัฒน์ทำให้อัตลักษณ์ของังคมเปลี่ยนไปในรูปแบบที่ต่างกันออกไป
โดยที่คำว่า อัตลักษณ์ นั้นยังมีความหมายซ้อนทับกับ คำว่า เอกลัษณ์ ซึ่คงคำว่า เอกลักษณ์ หมายถึง ลักษณะเที่เหมือนกันหรือมีร่วมกัน โดยแบ่งประเภทของอัตลักษณ์ออกเป็น 2 ระดับด้วยกัน คือ อัตลักษณ์บุคคล ซึ่งถือเป็นลักษณเฉพาะัวของบุคคลนั้นๆ ว่ามีความเฉาพะและโดเด่นอย่างไ และอัตลักษณ์ทางสังคม ก็เป็นลักษณ์เฉพาะทางสังคมที่จะบ่งบอกได้ว่าชุมชนหรือสังคมนั้น ๆมีความโดดเด่นในด้านต่างๆ อย่างไร
อีตลักษณ์ชุมชน นั้งเป็นรากเหง้าหรือวัฒนธรรมทางสังคมที่ถุกก่อให้เกิดขึ้นมาและใช้ในการยึดป็นภูมิปัญญาขนบธรรมเนียม ประเพณีในการปฏิบัติในสังคมสังคมนั้น ๆ ซึ่งมีัลักษณะของความโดดเด่นหรือมีความแกต่างกับขนบธรรมเรยมประเพณและวัฒนธรรมของสังคมอื่นๆ ซึ่งเป็นลักษระเฉพาะถ่ินที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะอลุ่มชุมชน
การศึกษาไทยในปัจจุบัน จากสภาพการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ซผ่านกระแสโลกาภิวัฒน์ และโลกไซเบอร์ ทำให้คนไทยมุ่งแสวงหาคามสุขและสร้างอัตลักษณ์วนตัวผ่านเครื่อข่ายสังคมออนไลน์ เกิดเป็นวัฒนธรรมย่อยร่วมสมัยที่หลากหลายในรูปแบบการ่วมกลุ่มของบุคคลที่สนใจเรื่องเดี่ยวกันโดยที่วัฒนธรรมที่บ่งบอกความเป้นไทยไม่สามารถแสดงบทบาทที่ชัดเจน ขณะเีดยวกันสังคมไทยก็เผชิฯกับความเสื่อมถอยด้านคุณธรรมจริยธรรม ซึ่งสะท้อนได้จากคนในสังคมมคีความถี่ในการใช้ความรุนแรงในการแก้ไขปัญหาได้ไม่เต็มที ผุ้ที่ใช้ความรุนแรงมักขาดความยับยั้งชั่งใจ มีพฤติกรรเมเลีวนแบบหรืออาจเกิดจากการเลี้ยงที่ดุขาดการใช้เหตุใช้ผล ขาดความเอื้อเฟื้อเอ้ออาทร ส่งผลให้ความมีคุณธรรมและจริยธรรมของคนในสังคมลดน้อยลง (แผนพัฒนาเศราบกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบัยที่ 11) ทั้งยังเป้ญุคแห่งข้อมูลข่าวารและเทคโนโลยีที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดการเปลียนแปลงในหลายด้าน ได้แก สังคม วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การสื่อสาร การศึกษา และการคนมนาคมการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวสส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิต
ของคนในชุมชนและสังคม การเจริยเติบโตทางเศรษฐกจิและกระแสโลกาภิวัฒน์ มัผลกระทบต่อวัฒนธรรมประเพณีดั้งเดิมที่ดีงาม ส่งผลให้สังคมไทยมีความเป็นวัตถุนิยม พฤติกรรมของคนในสังคเปลี่ยนแปลง ให้ความสำคัญกับศีลธรรมและวัฒนฦธรรมที่ดีงามลดลง ทั้งการดำรงชีวิตประจำวัน การใช้ชีวิตและความสัมพันะ์กับผุ้อื่น มุ่งหารายได้เพือสนองความต้องการการช่ยเลหือเกื้อกุลดกันลดลง ความมีน้ำใจไมตรีน้อยลง เกิดการแก่งแย่งเอารัดเอาเปรียบกัน ทำให้คนไทยขาดความสามคคี ขาดการเคารพสิทธิผุ้อื่น และการยึดถือประโยชน์สวนร่วมส่งผลต่อวิถีชีวิตคนไทยทั้งระดับครอบครัว ชุมชน และประเทศสงผลให้เกิดปัญหาเก็กและยาชนททั้งในเมืองและในชุมชนท้องถ่ิน
นโยบายแผนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปี ของกระทรวงศึกษาธิการ ได้กล่าวถึง สภาพปัจจุบันของการศึกษาไทยเกี่ยวกับหลักสุตรและกระบวนการเรียนการสอนว่า หลักสูตรส่วนใหย่จะมีเนื้อหาสาระความรู้ะดับชาติและสากลจนแทนบจะไม่มีความรุ้เกี่ยวกับท้องถ่ินที่อยู่ใกล้ตัวผุ้เรียน ทำให้ผุ้รเียนไม่รู้จักตนเอง ไม่รุ้จักชุมชน ท้องถ่ิ่น ของตนว่ามีคความเป้นมาอย่างไรและมีทรัพยากรอะไรบ้าง ดดยที่การศึกาาของไทยได้ทอดท้องิของดีที่เรามีอยงุ่ คือภุมิปัญญาท้องถ่ินโดยเื่อมีการับระบบการศึกษาแบบตะวันตกเข้ามา ก็ทำให้นักการศึกษาไม่สนใจ ไม่ปรับปรุงและไม่ยอย่อภูมิปัญญาไย ทำให้สุญเสียมรดกที่ล้ำค่าของชาติไปมาก ทั้งสังคมไทยละเลยไม่ให้ความสำคัญกับ
ภูมิปัญญาไทยมานาน เมือ่โรงเรียนมีระบบที่สอนกระทรวงซึกษาธิการ ความรุ้แบบสากลมากขึ้น ฉะนั้นการศึกษาเกี่ยวกับภุมิปัญญาอันเป็นอัตลักษณ์ ซึ่งเป็ฯการนำเอาสิ่งดีๆ ที่เกิดจากองค์ความรุ้ของพรรพบุรุษไทยในอดีตกลับมาสู่ สังคมไยอีกคร้งและเชื่อได้แน่ว่าทั้งในปัจจุบัน อนาคต จะสามารถเผชิญหน้ากับปัญหาต่างๆ ได้โดยใช้ภูมิปัญญาของไทยที่มีอยุ่ ตัวอย่างเช่นในปัจจบุันที่เป็นโลกแ่ห่งข้อมุลข่าวสารและเทคโนโลยีคงปฏิเสธไม่ได้ว่าส่งผลให้พฤติกรรมของคนในังคมเแลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้เกิดปัญหาเด็กและเยาวชนทั้งในเมืองและในขชุมชนท้องถ่ิน ทำให้ไม่รู้ถึงรากเหง้าของชุมชนตัวเอง ไม่รู้วามีสิ่งที่มีค่ามากมายนั้นคือภุมิปัญญาท้องถ่ิน ของตนเอง ที่สามารถนำปใช้เป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตได้ตรอง เพราะในแต่ละบริบทของท้องถ่ินก็ย่อมมีภูมิปัญญา ที่เป็นอัตลักษณ์ที่แตกต่งกันออกไป ดังนั้นนการจัดการศึกษา ความนำภูิปัญญาท้องถ่ินเข้ามามีส่วนร่วใดดยกา
รถ่ายทอดองค์คามรุ้จากคนรุ่งหนึงไปู่อีกรุ่นหนึ่งดดยมีการจัดกิจกรรมกาเรียนรุ้ที่สอดคล้องกับวิ๔ีชีิวติของคนในชุมชน จนเกิดองค์ความรุ้เ กิดอาชพีทั้งยังเป้นความภาคภุมิใจของคนในชุมช และเพื่อเป็นการถ่ายทอดความรุ้และสืบสานภุมิปัญญญาซึ่งการนำเอามรดกทางภูมิปัญญาท้องถ่ินอันเป็นอัตลักษณ์ เข้ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนซึ่งจะทำให้เด็กและเยาวขชได้รับประโยชน์จากการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ินอันเป็อัตลักษณ์ในท้องถ่ินของตนเอง และยังเป็นการปลูกฝังรากฐานให้เด็กและเยาชนมีความรักความผูกพันกับท้องถ่ินตนเอง โดยมุ่งเน้นปลูกฝังให้เด็ได้เรียนรู้ภูมิปัญญาอันเป็นอัตลักษณ์ที่มีความสอดคล้องกับชีวิตจริง เพราะจำทให้เด็กได้เรียนรู้และเข้าใจ เกิดเป็นความผุกพันและภาคภูมิใจในท้องถ่ินของตนเอง เรพาะการศึกษานั้นถือเป็เนครื่องมือสำคัญใการพัฒนาคน สร้างความเสมอภาค และโอาสทุกคนได้รับการศึกษาอย่างทั่ววไถึงและากรศึกษาเป็การให้โอกาสแก่ทุกฝ่าย และการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนให้เป็นมุนษย์ที่สมบูรณืทั้งีร่างกาย จิตใจและสติปัญญา ความรุ้และคุณธรรมในการดำรงชีิตให้สามารถอยุ่ร่วมกับผุ้อื่นได้อย่างมีความสุข ดังนั้นในการที่จะพัฒนาคนให้มีคุณภาพจึงจำเป็นที่จะต้องอาศัยหลักการ วิะีการหรือรูปแบบต่างๆ ที่สามารถจะผสมผสานความรู้ตามหลักสากลกับความต้องการรวมถึงสภาพของ้องถ่ินั้น ๆ เข้าด้ยกันอย่งเหมาะสมกลมกลืน ฉะนั้นแล้วจึงมีความจำเป็นที่จะต้องนำเอาภูมิปัญญาอันเป็นอัตลักษณ์มาถ่ายทอดและสอดแทรกเพื่อเป็นรากฐานในการศึกษาต่อไป
ฉะนั้นภูมิปัญญาท้องถิ่น จึงถือเป็นแหล่งความรุ้ในท้องถ่ินที่อยู่ใกล้ชิดกับตัวเด็กมากที่สุด โดยการที่นำภุมิปัญยาท้องถ่ินมาใช้ในการจัดการศึกษาว฿่งมีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของเด็กและเยาชนในชุมชนนั้นๆ อย่างแท้จริง ซึ่การนำเอมรดกทางภูมิปัญญาท้องถ่ินอันเป็นอัตลักษณ์เข้ามช้ในการจัดการเรียนการสอนซึ่งจะทำให้เด็กและเยาชนได้รับประโยชน์จากการเรียนรู้ภุมิปัญญาท้องถ่ินอันเป็นอัตลักษณ์ในท้องถิ่นของตนเอง โดยถือเป็การปลูกฝังรากฐานให้เด็กและเยาชนมีความรักความผูกพันกับท้องถ่ินตนเอง โดยมุ่งเน้นปลูกฝังให้เด็าได้เรียนรู้ภูมิปัญญาอันเป็นอัตลักษณ์ที่มีความสอดคล้องกับชีวิตจริง เพราะจะทำให้เด็กได้เรียนรู้และเข้าใจ เกิดเป็นความผุกพันและภาคภูมิใจในท้องถ่ินของตนเอง อันจะนำไปสู่การวางราบฐานทางการศึกษาขอวเด็ไทยอย่างยั่งยืนสืบไป....
วารสารครุศาสตร ม.ราชภัฎมหาสารคาม ปีที่ 9 ฉบับที 1 (16) ประจำเดือนมกราคม-มิถุนายน 2555, "อัตลักษณ์ชุมชนรากฐานสู่การศึกษา", โดย ชลธิชา มาลาหอม,
นั้นๆ ด้วยวิธีการที่หลากหลายและเหมาะสม จึงจะทำให้เป็นการเรียรู้และเป้นการเรียรฮุ้ที่ยั่งยืนและมีความหมายเพราะองค์ความรู้ในชุมช ท้องถ่ิน และภ๓มิปัญญา มีอยู่มากมาย หากแต่ขาดการถ่ายทอดและการเรียรู้ ซึ่งทั้งนี้จะต้องส่งเสริมให้มีการเรียนรู้โดยเป้นการเรียนรู้ตลอกชีิวติอย่างยั่งยืน และด้วยความสำคัญขององค์ความรุ้อันเป็นภูมิปัญญาท้องถ่ินที่เป็นอัตลักษณ์ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องนำพเอาภูมิปัญญาท้องถ่ินเข้ามาปรับใช้ในการเรียนการสอนเพื่อที่จะัพัฒนาการศึกษาต่ไป
ความหมายจของอัตลักาณ อัตลักษณ์ หมายถึง คุณลักษณเฉพาะตัว ซึ่งเป้นตัวบ่งชี้ของลักษณะเฉพาะของบุคคล สังคม ชุมชน หรือประเทศนั้น ๆ อาจรวมถึง เชื้อชดาติ ภาษา วัฒนธรรมท้องเถิน และศาสนา ฯลฯ ซึ่งมีคุณลักษณะที่ไม่ทั่วไปหรือสากลกับสังคมอื่นๆ หรือเป็นลักษระที่ไม่เหมือนกับของคนอืนๆ เช่น หมู่บ้านนี้มีอัตลักษณ์างด้านการจักสาน ใครได้ยิก็จำได้ทันทีโดยที่สังคมแตะละสัวคมย่อมมีอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมเป้นของตนเอง ซึ่ยุคสมัยนี้เป็นยูโลกาภิวัฒน์ทำให้อัตลักษณ์ของังคมเปลี่ยนไปในรูปแบบที่ต่างกันออกไป
โดยที่คำว่า อัตลักษณ์ นั้นยังมีความหมายซ้อนทับกับ คำว่า เอกลัษณ์ ซึ่คงคำว่า เอกลักษณ์ หมายถึง ลักษณะเที่เหมือนกันหรือมีร่วมกัน โดยแบ่งประเภทของอัตลักษณ์ออกเป็น 2 ระดับด้วยกัน คือ อัตลักษณ์บุคคล ซึ่งถือเป็นลักษณเฉพาะัวของบุคคลนั้นๆ ว่ามีความเฉาพะและโดเด่นอย่างไ และอัตลักษณ์ทางสังคม ก็เป็นลักษณ์เฉพาะทางสังคมที่จะบ่งบอกได้ว่าชุมชนหรือสังคมนั้น ๆมีความโดดเด่นในด้านต่างๆ อย่างไร
อีตลักษณ์ชุมชน นั้งเป็นรากเหง้าหรือวัฒนธรรมทางสังคมที่ถุกก่อให้เกิดขึ้นมาและใช้ในการยึดป็นภูมิปัญญาขนบธรรมเนียม ประเพณีในการปฏิบัติในสังคมสังคมนั้น ๆ ซึ่งมีัลักษณะของความโดดเด่นหรือมีความแกต่างกับขนบธรรมเรยมประเพณและวัฒนธรรมของสังคมอื่นๆ ซึ่งเป็นลักษระเฉพาะถ่ินที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะอลุ่มชุมชน
การศึกษาไทยในปัจจุบัน จากสภาพการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ซผ่านกระแสโลกาภิวัฒน์ และโลกไซเบอร์ ทำให้คนไทยมุ่งแสวงหาคามสุขและสร้างอัตลักษณ์วนตัวผ่านเครื่อข่ายสังคมออนไลน์ เกิดเป็นวัฒนธรรมย่อยร่วมสมัยที่หลากหลายในรูปแบบการ่วมกลุ่มของบุคคลที่สนใจเรื่องเดี่ยวกันโดยที่วัฒนธรรมที่บ่งบอกความเป้นไทยไม่สามารถแสดงบทบาทที่ชัดเจน ขณะเีดยวกันสังคมไทยก็เผชิฯกับความเสื่อมถอยด้านคุณธรรมจริยธรรม ซึ่งสะท้อนได้จากคนในสังคมมคีความถี่ในการใช้ความรุนแรงในการแก้ไขปัญหาได้ไม่เต็มที ผุ้ที่ใช้ความรุนแรงมักขาดความยับยั้งชั่งใจ มีพฤติกรรเมเลีวนแบบหรืออาจเกิดจากการเลี้ยงที่ดุขาดการใช้เหตุใช้ผล ขาดความเอื้อเฟื้อเอ้ออาทร ส่งผลให้ความมีคุณธรรมและจริยธรรมของคนในสังคมลดน้อยลง (แผนพัฒนาเศราบกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบัยที่ 11) ทั้งยังเป้ญุคแห่งข้อมูลข่าวารและเทคโนโลยีที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดการเปลียนแปลงในหลายด้าน ได้แก สังคม วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การสื่อสาร การศึกษา และการคนมนาคมการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวสส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิต
ของคนในชุมชนและสังคม การเจริยเติบโตทางเศรษฐกจิและกระแสโลกาภิวัฒน์ มัผลกระทบต่อวัฒนธรรมประเพณีดั้งเดิมที่ดีงาม ส่งผลให้สังคมไทยมีความเป็นวัตถุนิยม พฤติกรรมของคนในสังคเปลี่ยนแปลง ให้ความสำคัญกับศีลธรรมและวัฒนฦธรรมที่ดีงามลดลง ทั้งการดำรงชีวิตประจำวัน การใช้ชีวิตและความสัมพันะ์กับผุ้อื่น มุ่งหารายได้เพือสนองความต้องการการช่ยเลหือเกื้อกุลดกันลดลง ความมีน้ำใจไมตรีน้อยลง เกิดการแก่งแย่งเอารัดเอาเปรียบกัน ทำให้คนไทยขาดความสามคคี ขาดการเคารพสิทธิผุ้อื่น และการยึดถือประโยชน์สวนร่วมส่งผลต่อวิถีชีวิตคนไทยทั้งระดับครอบครัว ชุมชน และประเทศสงผลให้เกิดปัญหาเก็กและยาชนททั้งในเมืองและในชุมชนท้องถ่ิน
นโยบายแผนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปี ของกระทรวงศึกษาธิการ ได้กล่าวถึง สภาพปัจจุบันของการศึกษาไทยเกี่ยวกับหลักสุตรและกระบวนการเรียนการสอนว่า หลักสูตรส่วนใหย่จะมีเนื้อหาสาระความรู้ะดับชาติและสากลจนแทนบจะไม่มีความรุ้เกี่ยวกับท้องถ่ินที่อยู่ใกล้ตัวผุ้เรียน ทำให้ผุ้รเียนไม่รู้จักตนเอง ไม่รุ้จักชุมชน ท้องถ่ิ่น ของตนว่ามีคความเป้นมาอย่างไรและมีทรัพยากรอะไรบ้าง ดดยที่การศึกาาของไทยได้ทอดท้องิของดีที่เรามีอยงุ่ คือภุมิปัญญาท้องถ่ินโดยเื่อมีการับระบบการศึกษาแบบตะวันตกเข้ามา ก็ทำให้นักการศึกษาไม่สนใจ ไม่ปรับปรุงและไม่ยอย่อภูมิปัญญาไย ทำให้สุญเสียมรดกที่ล้ำค่าของชาติไปมาก ทั้งสังคมไทยละเลยไม่ให้ความสำคัญกับ
ภูมิปัญญาไทยมานาน เมือ่โรงเรียนมีระบบที่สอนกระทรวงซึกษาธิการ ความรุ้แบบสากลมากขึ้น ฉะนั้นการศึกษาเกี่ยวกับภุมิปัญญาอันเป็นอัตลักษณ์ ซึ่งเป็ฯการนำเอาสิ่งดีๆ ที่เกิดจากองค์ความรุ้ของพรรพบุรุษไทยในอดีตกลับมาสู่ สังคมไยอีกคร้งและเชื่อได้แน่ว่าทั้งในปัจจุบัน อนาคต จะสามารถเผชิญหน้ากับปัญหาต่างๆ ได้โดยใช้ภูมิปัญญาของไทยที่มีอยุ่ ตัวอย่างเช่นในปัจจบุันที่เป็นโลกแ่ห่งข้อมุลข่าวสารและเทคโนโลยีคงปฏิเสธไม่ได้ว่าส่งผลให้พฤติกรรมของคนในังคมเแลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้เกิดปัญหาเด็กและเยาวชนทั้งในเมืองและในขชุมชนท้องถ่ิน ทำให้ไม่รู้ถึงรากเหง้าของชุมชนตัวเอง ไม่รู้วามีสิ่งที่มีค่ามากมายนั้นคือภุมิปัญญาท้องถ่ิน ของตนเอง ที่สามารถนำปใช้เป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตได้ตรอง เพราะในแต่ละบริบทของท้องถ่ินก็ย่อมมีภูมิปัญญา ที่เป็นอัตลักษณ์ที่แตกต่งกันออกไป ดังนั้นนการจัดการศึกษา ความนำภูิปัญญาท้องถ่ินเข้ามามีส่วนร่วใดดยกา
รถ่ายทอดองค์คามรุ้จากคนรุ่งหนึงไปู่อีกรุ่นหนึ่งดดยมีการจัดกิจกรรมกาเรียนรุ้ที่สอดคล้องกับวิ๔ีชีิวติของคนในชุมชน จนเกิดองค์ความรุ้เ กิดอาชพีทั้งยังเป้นความภาคภุมิใจของคนในชุมช และเพื่อเป็นการถ่ายทอดความรุ้และสืบสานภุมิปัญญญาซึ่งการนำเอามรดกทางภูมิปัญญาท้องถ่ินอันเป็นอัตลักษณ์ เข้ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนซึ่งจะทำให้เด็กและเยาวขชได้รับประโยชน์จากการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ินอันเป็อัตลักษณ์ในท้องถ่ินของตนเอง และยังเป็นการปลูกฝังรากฐานให้เด็กและเยาชนมีความรักความผูกพันกับท้องถ่ินตนเอง โดยมุ่งเน้นปลูกฝังให้เด็ได้เรียนรู้ภูมิปัญญาอันเป็นอัตลักษณ์ที่มีความสอดคล้องกับชีวิตจริง เพราะจำทให้เด็กได้เรียนรู้และเข้าใจ เกิดเป็นความผุกพันและภาคภูมิใจในท้องถ่ินของตนเอง เรพาะการศึกษานั้นถือเป็เนครื่องมือสำคัญใการพัฒนาคน สร้างความเสมอภาค และโอาสทุกคนได้รับการศึกษาอย่างทั่ววไถึงและากรศึกษาเป็การให้โอกาสแก่ทุกฝ่าย และการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนให้เป็นมุนษย์ที่สมบูรณืทั้งีร่างกาย จิตใจและสติปัญญา ความรุ้และคุณธรรมในการดำรงชีิตให้สามารถอยุ่ร่วมกับผุ้อื่นได้อย่างมีความสุข ดังนั้นในการที่จะพัฒนาคนให้มีคุณภาพจึงจำเป็นที่จะต้องอาศัยหลักการ วิะีการหรือรูปแบบต่างๆ ที่สามารถจะผสมผสานความรู้ตามหลักสากลกับความต้องการรวมถึงสภาพของ้องถ่ินั้น ๆ เข้าด้ยกันอย่งเหมาะสมกลมกลืน ฉะนั้นแล้วจึงมีความจำเป็นที่จะต้องนำเอาภูมิปัญญาอันเป็นอัตลักษณ์มาถ่ายทอดและสอดแทรกเพื่อเป็นรากฐานในการศึกษาต่อไป
ฉะนั้นภูมิปัญญาท้องถิ่น จึงถือเป็นแหล่งความรุ้ในท้องถ่ินที่อยู่ใกล้ชิดกับตัวเด็กมากที่สุด โดยการที่นำภุมิปัญยาท้องถ่ินมาใช้ในการจัดการศึกษาว฿่งมีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของเด็กและเยาชนในชุมชนนั้นๆ อย่างแท้จริง ซึ่การนำเอมรดกทางภูมิปัญญาท้องถ่ินอันเป็นอัตลักษณ์เข้ามช้ในการจัดการเรียนการสอนซึ่งจะทำให้เด็กและเยาชนได้รับประโยชน์จากการเรียนรู้ภุมิปัญญาท้องถ่ินอันเป็นอัตลักษณ์ในท้องถิ่นของตนเอง โดยถือเป็การปลูกฝังรากฐานให้เด็กและเยาชนมีความรักความผูกพันกับท้องถ่ินตนเอง โดยมุ่งเน้นปลูกฝังให้เด็าได้เรียนรู้ภูมิปัญญาอันเป็นอัตลักษณ์ที่มีความสอดคล้องกับชีวิตจริง เพราะจะทำให้เด็กได้เรียนรู้และเข้าใจ เกิดเป็นความผุกพันและภาคภูมิใจในท้องถ่ินของตนเอง อันจะนำไปสู่การวางราบฐานทางการศึกษาขอวเด็ไทยอย่างยั่งยืนสืบไป....
วารสารครุศาสตร ม.ราชภัฎมหาสารคาม ปีที่ 9 ฉบับที 1 (16) ประจำเดือนมกราคม-มิถุนายน 2555, "อัตลักษณ์ชุมชนรากฐานสู่การศึกษา", โดย ชลธิชา มาลาหอม,
วันอังคารที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
Identities in the Uniqueness of National Museum of Japanese History
อัตลักษณ์ในเอกลักษณ์ : พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติญี่ปุ่นประเทศไทย
พิพิธภัฒฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติญี่ปุ่น" ตั้งอยู่ที่เมืองซากุร จังหวัดชิบะรัฐบาลฐี่ป่นุสร้างพิพิิธภัณฑ์แห่งนี้ขึ้นเนื่องในวาระครอบรอบ 100 ปี แห่งการปฏิรูปประเทศสมัยเมจิ จโดยเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1983 พิพิธภัณฑ์แห่งนี้เป้นทีเดี่ยในประเทศญี่ปุ่นที่มีลักษณะเฉพาะเป็นเอกลักษณ์สสำคัญ คือเป็นพิพิธภัณฑ์ประัตสาสตร์แห่งชาติเป้น "สถาบันการวิจัยระหว่างมหาวิทยาลัย"ด้านประวัติศาสตร์ และเป็นศูนย์กลางการศึกษาประวัติศาสตร์ โบราณคดีและวิถีชีวิตชนบธรรมเนียมพื้นบ้าน
จากลักษณะเฉพาะดังกล่าวมีส่วนทำให้พิพิธภัณฑ์มีวิธีการและเลือกเรื่องราวที่จะนำเสนอในรูปแบบที่น่าสนใจคือ มีข้อมูลที่หลากหลาย มีกลักการทางวิชาการมากกว่าที่อื่นและให้ความสำคัญกับคุณค่าทางวัฒนธรรมและวิถีชีวิตคนในสังคม ภาพประวัติศาสตร์ที่ปรากฎในการจัดแสดงจึงไม่ใช่้ภาพวีรกรรมความกล้าหาญของบรรพบุรุษของผุ้ปกครองหรือของกลุ่มอำนาจแต่เป็นภาพวิถีชีวิตที่เป้ฯสามัญของผุ้คนทุกกลุ่มที่อยุ่ร่วมกันบนเกาะญี่ปุ่น สะท้อนให้เห็นว่าคนทุกกลุ่มคือผุ้ที่สร้างและพัฒนาวิธีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณีของตนเองจนเป้นอัตลักาณ์ของชาติปัจจุบัน..
พิพิธภัณฑ์กับฃลักษณะพิเศษที่เป็นหนึ่งเดี่ยว
นอกจากมีรูปแบบอาคารและลักษระสถปัตยกรรมที่น่าสนจแล้ว พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ยังมีลักาณะเฉพาะบางประการคือ
- ในฐานะพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติแห่งเดียวในประเทศญีปุ่น
- ในฐานะ "สถาบันการวิจขัยระหว่างมหาวิทยาลัย" ด้านประวัติศาสตร์แห่งเดี่ยในประเทศญี่ปุ่น
- ในฐานะศูนย์กลางการศึกษาประวัติศาสตร์ โบราณคดีและวิถีชีวิตขนบธรรมเนียมพื้นบ้านแก่งเดี่ยวในประเทศญี่ปุ่น
1 ในฐานะพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติแห่งเดียวในประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่นเป็นประเทศหนึ่งที่มีพิพิธภัณฑ์จำนวนมากถ้าพิจารณาจากสังกัดจะแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ พิพิธภัฒฑ์ของรัฐกับพิพิธภัณฑ์เอกชน และในพิพิธภัณฑ์ของรัฐก็แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือพิพิธภัณฑ์แห่งชาติและพิพิธภัณฑ์ของหน่วยงานราชการในท้องถ่ิน พิพิธภัณฑ์ในญี่ปุ่นมีมากมายหลายชนิ จากการสำรวจของกระทรวงศึกษาธิการวัฒนธรรมกีฬาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประเทศญี่ปุ่นมีพิพิธภัฒฑ์ทั้งที่ขึ้นทะ
เบียบและไม่ขั้นทะเบียบรวมทั้งสิ้น กว่าหกพันแห่ง และในพิพิธภัณฑ์จำนวนมากที่มีอยุ่นั้นพิพธภัณฑ์ประวัติสาสตร์มีจำนวนมากที่สุดคือ สามพันสามร้อยแห่ง ในบรรดาพิพิธภัณฑ์ที่มีอยู่จำนวนมากนี้พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติมีเพียงที่เดี่ยวคือพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสต์แห่งชาติญี่ปุ่น ที่เมืองซากุระ จังหวัดชิบะ
2 ในฐานะ "สถาบันการวิจัยระหว่งมหาวิทยาลัย" ด้านประวัติศาสตร์แห่งเดียวในประเทศญีปุ่่น "สถาบันการวิจัยระหว่างมหาวิทยาลัย" คือประชาคมทางวิชาการชั้นนำของโลกท่ี่เป็นรูปแบบเฉพาะของญีปุ่น เกิดขึ้นเมือรัฐบาลญี่ปุ่นมีนโยบายที่จะพัฒนาและส่งเสริมงานวิจัยให้ก้าวหน้ามากยิ่งขึ้นด้วยการตั้งสถาาบันแห่งชาติในด้านต่างๆ 5 ส่วนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สถาบันแห่งชาติทั้ง 5 แห่งจะมี
"สถาบันการวิจัยระหว่างมหาวิทยาลัย" ในสังกัดทำหน้าที่เป้นสถาบัวิจัยระดับสูงและผนวกรวมกันเป้นสถาบันการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยภายใต้ชื่อ
"มหาวิทยาลัย โซเคนได" ให้การศึกษาเฉพาะระดับปริญญาเอก โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่เมือง ฮายาม่า จังหวัด คานาซาว่า
สำหรับพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติญี่ปุ่นตั้งแต่เร่ิมก่อตั้งขึ้นอยู่กับกระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ต่อมาในปี ค.ศ. 2004 ถุกกำหนดให้ขึ้นต่อ เนชั่นอินทิทิวส์ ฟอร์ เดอะ ฮิวแมนนิตี้ ซึ่งเป็นองค์กรใหม่ของกระทรวงศึกษาธิการฯ มีฐานะเป็น สถาบัน วิจัยมหาลัยนานาชาติ ร่วมกับสถาบัอื่นอีก 6 แห่ง
3 ในฐานะศุนย์กลางการศึกษาประวัติศาสตร์ โบราณคดีและวิถีชีวิตขนบธรรมเนียมพื้นบ้านแห่งเดี่ยวในประเทศญี่ปุ่น
นอกจากลักษณะเฉพาะที่เปลี่นไปตามนโยบายและการจัดระเบียบบริหารองค์กรของรัฐบาลแล้วพิพิธภัฒฑ์ยังมีหน้าที่เฉาพะที่เปลียนไปตามนโยบายและการจัดระเบียบบริหารองค์กรของรัฐบาลแล้วพิพิธภัณฑ์ยังมีหน้าที่เฉพาะเกี่ยวกับงานด้านประวัติศาสตร์ในฐานะที่สูรย์กลางความรู้ที่สำคัญ ...
ศ.โคชิมา มิชิฮิโร ศ.ประจำพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติญีปุ่นและบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัย โซเคนได ได้อธิบายเกตุผลว่า "ภาพรวมวิถีชีวิตคนธรรมดาสามัญถือเป็นแนวคิดหลัก ของพิพิธภัณฑ์แห่งี้เพราะเป็นคนกลุ่มหใหญ่ในสังคม อย่างไรก็ามพิพิธภณฑ์อื่นๆ ก็มีจัดแสดงวิ๔ีชีิวติของคนธรรมดาสามัญเช่นกันแต่ไม่ใบ่เป้นแนวคิดหลัก นอกจานี้พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ก็ไม่แสดงประวัติศาสตร์ผุ้นำ เช่น ฝดซกุล ไดเมียว หรือผุ้นำชุมชน เพราะเรื่องราวของผุ้นำมีจัดแสดงในพิพิธภัฒฑ์แห่งชาติจะแสดงภาพของประชาชนเป็นสำคัญ ประวัตศาสตร์ผุ้นำมีหล่าวถึงมากแล้วในหนังสือและในหนังสือแบบเรียนนอกจากนี้ประวัติศาสตร์ไม่ได้เกิดขึ้นได้ด้วยการกระทำของคนเพียงคนเดียว แต่เป็นประวัติศาสตรื๘องคนหลายฝ่ายหลายกลุ่ม พิพิธภัฒฑ์แห่งนี้จงต้องการให้เห็นภาพคนส่วนใหญ๋ในประวัติศาสตร์"
พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์หลายแห่งมักจะใช้ "ประวัติศาสตร์โศกนาฎกรรม" เน้สภาพความโศกเศร้าความเจ็บปวด และความเสียหายที่ประเทศเป็นฝ่ายถูกกระำท รวมทั้งอาจจะสร้างภาพของวัรบุรุษที่ปรากฎตัวขึ้นเพื่อนำพาชาติให้หลุ่มพ้นจากโศกนาฎรรมมาเป้นเครื่องมือในการจัดแสดงเพื่อดึงให้คนในสังคมเกิดความรุ้สึกร่วมเป็นหนึ่งเดียว
แต่ในฐานะพิพิธภัฒฑ์แห่งชาติในฐานะสถาบันการศึกษาและใน
ฐานะศูนย์กลางการศึกษา พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชติญี่ปุ่นมีวิธีการจัดแสดงที่ต่างออกไป มีช้อมุลที่หฃากหลายและมีหลักการทางวิชาการมากว่าที่อื่น โดยให้ความสำคัญกับคุณต่าทางวัฒนธรรมและวิถีคนในสังคมใช้เป็นเครื่องมือในการบอกแล่าพัฒนาการของชาติ ภาพประวัติศาสตร์ที่ปรากฎในการจัดแสดงจึบงไม่ใช่ภาพวีรกรรมความหล้าหาญของบรรพบยุรุษ ของผุ้ปกครอง หรือของกลุ่มอำนาจ แต่เป็นภาพวิถีชีวิตที่เป็นสามัญและความพยายามของผุ้คนทุกกลุ่มที่อยู่ร่วมกันบนเกาะญี่ปุ่น
พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แก่งชาติญีปุ่น สะท้อนให้เห็นว่าคนทุกกลุ่มคือผู้ที่สร้างและพัฒนาวิถีชีวิตวัฒนธรรม ประเพณีของตนเองจนเป็นอัตลักาณ์ของชาติปัจจุบัน ดังนั้นส่ิงที่เห้ฯและเป็นอยู่ในสังคมไม่ได้เกิดจากคุณูปการของกลุ่มอำนาจหรือชนชั้นปกครองแต่เพียงเท่านั้น แต่ทั้งหมดทั้งมลคือความงดวามและรุ่งเรืองทางวัฒนธรรมร่วมกันของคนทุกชันชั้นบนเส้นทางปรวัติสาสตร์ชาติที่ยาวนาน...
บางส่วนจากบทความ "อัตลักษณ์ในเอกลักษณ์ : พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติญี่ปุ่นประเทศไทย"นงค์ลักษณ์ ลิมศิริ, สถาบันการจัดการปัญญาพิพัตร,
พิพิธภัฒฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติญี่ปุ่น" ตั้งอยู่ที่เมืองซากุร จังหวัดชิบะรัฐบาลฐี่ป่นุสร้างพิพิิธภัณฑ์แห่งนี้ขึ้นเนื่องในวาระครอบรอบ 100 ปี แห่งการปฏิรูปประเทศสมัยเมจิ จโดยเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1983 พิพิธภัณฑ์แห่งนี้เป้นทีเดี่ยในประเทศญี่ปุ่นที่มีลักษณะเฉพาะเป็นเอกลักษณ์สสำคัญ คือเป็นพิพิธภัณฑ์ประัตสาสตร์แห่งชาติเป้น "สถาบันการวิจัยระหว่างมหาวิทยาลัย"ด้านประวัติศาสตร์ และเป็นศูนย์กลางการศึกษาประวัติศาสตร์ โบราณคดีและวิถีชีวิตชนบธรรมเนียมพื้นบ้าน
จากลักษณะเฉพาะดังกล่าวมีส่วนทำให้พิพิธภัณฑ์มีวิธีการและเลือกเรื่องราวที่จะนำเสนอในรูปแบบที่น่าสนใจคือ มีข้อมูลที่หลากหลาย มีกลักการทางวิชาการมากกว่าที่อื่นและให้ความสำคัญกับคุณค่าทางวัฒนธรรมและวิถีชีวิตคนในสังคม ภาพประวัติศาสตร์ที่ปรากฎในการจัดแสดงจึงไม่ใช่้ภาพวีรกรรมความกล้าหาญของบรรพบุรุษของผุ้ปกครองหรือของกลุ่มอำนาจแต่เป็นภาพวิถีชีวิตที่เป้ฯสามัญของผุ้คนทุกกลุ่มที่อยุ่ร่วมกันบนเกาะญี่ปุ่น สะท้อนให้เห็นว่าคนทุกกลุ่มคือผุ้ที่สร้างและพัฒนาวิธีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณีของตนเองจนเป้นอัตลักาณ์ของชาติปัจจุบัน..
พิพิธภัณฑ์กับฃลักษณะพิเศษที่เป็นหนึ่งเดี่ยว
นอกจากมีรูปแบบอาคารและลักษระสถปัตยกรรมที่น่าสนจแล้ว พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ยังมีลักาณะเฉพาะบางประการคือ
- ในฐานะพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติแห่งเดียวในประเทศญีปุ่น
- ในฐานะ "สถาบันการวิจขัยระหว่างมหาวิทยาลัย" ด้านประวัติศาสตร์แห่งเดี่ยในประเทศญี่ปุ่น
- ในฐานะศูนย์กลางการศึกษาประวัติศาสตร์ โบราณคดีและวิถีชีวิตขนบธรรมเนียมพื้นบ้านแก่งเดี่ยวในประเทศญี่ปุ่น
1 ในฐานะพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติแห่งเดียวในประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่นเป็นประเทศหนึ่งที่มีพิพิธภัณฑ์จำนวนมากถ้าพิจารณาจากสังกัดจะแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ พิพิธภัฒฑ์ของรัฐกับพิพิธภัณฑ์เอกชน และในพิพิธภัณฑ์ของรัฐก็แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือพิพิธภัณฑ์แห่งชาติและพิพิธภัณฑ์ของหน่วยงานราชการในท้องถ่ิน พิพิธภัณฑ์ในญี่ปุ่นมีมากมายหลายชนิ จากการสำรวจของกระทรวงศึกษาธิการวัฒนธรรมกีฬาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประเทศญี่ปุ่นมีพิพิธภัฒฑ์ทั้งที่ขึ้นทะ
เบียบและไม่ขั้นทะเบียบรวมทั้งสิ้น กว่าหกพันแห่ง และในพิพิธภัณฑ์จำนวนมากที่มีอยุ่นั้นพิพธภัณฑ์ประวัติสาสตร์มีจำนวนมากที่สุดคือ สามพันสามร้อยแห่ง ในบรรดาพิพิธภัณฑ์ที่มีอยู่จำนวนมากนี้พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติมีเพียงที่เดี่ยวคือพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสต์แห่งชาติญี่ปุ่น ที่เมืองซากุระ จังหวัดชิบะ
2 ในฐานะ "สถาบันการวิจัยระหว่งมหาวิทยาลัย" ด้านประวัติศาสตร์แห่งเดียวในประเทศญีปุ่่น "สถาบันการวิจัยระหว่างมหาวิทยาลัย" คือประชาคมทางวิชาการชั้นนำของโลกท่ี่เป็นรูปแบบเฉพาะของญีปุ่น เกิดขึ้นเมือรัฐบาลญี่ปุ่นมีนโยบายที่จะพัฒนาและส่งเสริมงานวิจัยให้ก้าวหน้ามากยิ่งขึ้นด้วยการตั้งสถาาบันแห่งชาติในด้านต่างๆ 5 ส่วนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สถาบันแห่งชาติทั้ง 5 แห่งจะมี
"สถาบันการวิจัยระหว่างมหาวิทยาลัย" ในสังกัดทำหน้าที่เป้นสถาบัวิจัยระดับสูงและผนวกรวมกันเป้นสถาบันการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยภายใต้ชื่อ
"มหาวิทยาลัย โซเคนได" ให้การศึกษาเฉพาะระดับปริญญาเอก โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่เมือง ฮายาม่า จังหวัด คานาซาว่า
สำหรับพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติญี่ปุ่นตั้งแต่เร่ิมก่อตั้งขึ้นอยู่กับกระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ต่อมาในปี ค.ศ. 2004 ถุกกำหนดให้ขึ้นต่อ เนชั่นอินทิทิวส์ ฟอร์ เดอะ ฮิวแมนนิตี้ ซึ่งเป็นองค์กรใหม่ของกระทรวงศึกษาธิการฯ มีฐานะเป็น สถาบัน วิจัยมหาลัยนานาชาติ ร่วมกับสถาบัอื่นอีก 6 แห่ง
3 ในฐานะศุนย์กลางการศึกษาประวัติศาสตร์ โบราณคดีและวิถีชีวิตขนบธรรมเนียมพื้นบ้านแห่งเดี่ยวในประเทศญี่ปุ่น
นอกจากลักษณะเฉพาะที่เปลี่นไปตามนโยบายและการจัดระเบียบบริหารองค์กรของรัฐบาลแล้วพิพิธภัฒฑ์ยังมีหน้าที่เฉาพะที่เปลียนไปตามนโยบายและการจัดระเบียบบริหารองค์กรของรัฐบาลแล้วพิพิธภัณฑ์ยังมีหน้าที่เฉพาะเกี่ยวกับงานด้านประวัติศาสตร์ในฐานะที่สูรย์กลางความรู้ที่สำคัญ ...
ศ.โคชิมา มิชิฮิโร ศ.ประจำพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติญีปุ่นและบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัย โซเคนได ได้อธิบายเกตุผลว่า "ภาพรวมวิถีชีวิตคนธรรมดาสามัญถือเป็นแนวคิดหลัก ของพิพิธภัณฑ์แห่งี้เพราะเป็นคนกลุ่มหใหญ่ในสังคม อย่างไรก็ามพิพิธภณฑ์อื่นๆ ก็มีจัดแสดงวิ๔ีชีิวติของคนธรรมดาสามัญเช่นกันแต่ไม่ใบ่เป้นแนวคิดหลัก นอกจานี้พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ก็ไม่แสดงประวัติศาสตร์ผุ้นำ เช่น ฝดซกุล ไดเมียว หรือผุ้นำชุมชน เพราะเรื่องราวของผุ้นำมีจัดแสดงในพิพิธภัฒฑ์แห่งชาติจะแสดงภาพของประชาชนเป็นสำคัญ ประวัตศาสตร์ผุ้นำมีหล่าวถึงมากแล้วในหนังสือและในหนังสือแบบเรียนนอกจากนี้ประวัติศาสตร์ไม่ได้เกิดขึ้นได้ด้วยการกระทำของคนเพียงคนเดียว แต่เป็นประวัติศาสตรื๘องคนหลายฝ่ายหลายกลุ่ม พิพิธภัฒฑ์แห่งนี้จงต้องการให้เห็นภาพคนส่วนใหญ๋ในประวัติศาสตร์"
พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์หลายแห่งมักจะใช้ "ประวัติศาสตร์โศกนาฎกรรม" เน้สภาพความโศกเศร้าความเจ็บปวด และความเสียหายที่ประเทศเป็นฝ่ายถูกกระำท รวมทั้งอาจจะสร้างภาพของวัรบุรุษที่ปรากฎตัวขึ้นเพื่อนำพาชาติให้หลุ่มพ้นจากโศกนาฎรรมมาเป้นเครื่องมือในการจัดแสดงเพื่อดึงให้คนในสังคมเกิดความรุ้สึกร่วมเป็นหนึ่งเดียว
แต่ในฐานะพิพิธภัฒฑ์แห่งชาติในฐานะสถาบันการศึกษาและใน
ฐานะศูนย์กลางการศึกษา พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชติญี่ปุ่นมีวิธีการจัดแสดงที่ต่างออกไป มีช้อมุลที่หฃากหลายและมีหลักการทางวิชาการมากว่าที่อื่น โดยให้ความสำคัญกับคุณต่าทางวัฒนธรรมและวิถีคนในสังคมใช้เป็นเครื่องมือในการบอกแล่าพัฒนาการของชาติ ภาพประวัติศาสตร์ที่ปรากฎในการจัดแสดงจึบงไม่ใช่ภาพวีรกรรมความหล้าหาญของบรรพบยุรุษ ของผุ้ปกครอง หรือของกลุ่มอำนาจ แต่เป็นภาพวิถีชีวิตที่เป็นสามัญและความพยายามของผุ้คนทุกกลุ่มที่อยู่ร่วมกันบนเกาะญี่ปุ่น
พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แก่งชาติญีปุ่น สะท้อนให้เห็นว่าคนทุกกลุ่มคือผู้ที่สร้างและพัฒนาวิถีชีวิตวัฒนธรรม ประเพณีของตนเองจนเป็นอัตลักาณ์ของชาติปัจจุบัน ดังนั้นส่ิงที่เห้ฯและเป็นอยู่ในสังคมไม่ได้เกิดจากคุณูปการของกลุ่มอำนาจหรือชนชั้นปกครองแต่เพียงเท่านั้น แต่ทั้งหมดทั้งมลคือความงดวามและรุ่งเรืองทางวัฒนธรรมร่วมกันของคนทุกชันชั้นบนเส้นทางปรวัติสาสตร์ชาติที่ยาวนาน...
บางส่วนจากบทความ "อัตลักษณ์ในเอกลักษณ์ : พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติญี่ปุ่นประเทศไทย"นงค์ลักษณ์ ลิมศิริ, สถาบันการจัดการปัญญาพิพัตร,
วันจันทร์ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
Cultural identity
อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม : มิตินิทัศน์เพื่อพิจารณาอัตลักษณ์ของชาติ
วัฒนธรรมเกิดขึ้นจากความเป็นมนุษย์ ที่จะต้องอยู่รวมกันเพือสามารถดำรงอยู่ไดและกาอรอยู่ร่วมกันก็ต้องมีการสร้างอะไรบางอย่าง และส่ิงที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อให้ดำรงอยู่ร่วมกันให้ได้นั้นคือส่ิงที่เรียกว่า วัฒนธรรมซึ่งจะแตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อมของแต่ละสังคมซึ่งลักษณะเด่นของแต่ละวัฒธรรมที่เป็นลักาณะเฉพาะของสังคมที่ทำให้แต่ละสังคมแตกตางกันนั้นเรยกว่า อัตลักษณ์ ฉะนั้นอัตลักษณ์ถือได้ว่าเป็นผลรวมของการดำเนินการหรือการกำรกระทำของสังคมนั้นๆ
ลักษณะเฉพาะทางวัฒนธรรมในด้านตางๆ ในแต่ละสังคมที่หลากหลายของโลกนี้นั้น เราสามารถเปรียบเทียบความแตกต่างพื้นฐานระหว่าง "ลักษณะตะวันตก" และ "ลักษณะตะวันออก" ด้วยใช้เกณฑ์ขงอ แอนเดอร์สัน เจน เซอร์แวซส์ ที่ได้สรุปไว้ในหนังสือ คอมูนิเคชั้น เยียร์บุค ในบทความเรื่อง " Cultural Identity and Modes of Communication" ซึ่งสามารชี้ให้เห็นลักษณะของแต่ละวัฒนธรรมโดยทัวไปไว้คือ
- แนวคิดเกี่ยวกับโลก ในวัฒนธรรมตะวันออกนั้นมีความเชือในเรื่องของความเป็นหนึ่งเดียวกับ โลกและจักรวาล ในขณธที่โลกตะวันอตกนั้นเชื่อในอำนาจ แห่งการควบคุม ความรู้ ในแบบของโลกตะวันออก นั้นมีจุดหมายไปในวิถีทางที่ดีกว่าและทำให้ใกล้ชิดยิ่งขึ้นที่จะพบกับการสอดประสานกันอย่างกลมหลือนระหว่างธรรมชาติและมนุษย์ในขณะที่ความรู้แบบตะวันตกจะมีจุดมุ่งหมายในเรื่องของความสงบสุขที่ควบคุมได้ และเพื่อให้ระบบระเบียบเป้ฯคุณค่าที่ดีที่สุด
- แนวคิดเกี่ยวกับตัวบุคคล ในวิะีการสื่อสารแบบตะวันตกนั้นจะเน้นให้ความสำคัญกับภาพลักษณ์ส่วนบุคคลเป็นสำคัญโดยใมีจุดยืนอยู่ที่ความเป็นตัวของตัวเอง นขชณะที่การสื่อสารแบบบริบทวัฒนธรมตะวันออกนั้นจะคำนึงถึงบทบาทกลุ่มหรือการทำตัวเองให้เป็นไปตามแนวทางของกลุ่มมากกว่า เป้นการให้กลุ่มเรียกหรือกำหนดสถานภาพของตนในสังคม
- ความสัมพันธ์ทางสังคม แนวความคิดความสัมพันธืแบบมีลำดับชั้น ยังคงดำรงอยู่และถูกเน้นย้ำอย่งชัดแจ้งในโลกตะวันออก แต่ละบุคคลจะไม่เท่าเทียมกันจะต้องมีการจัดแบ่งระดับมีคนที่อยุ่สูงกว่าหรือต่ำกว่าในทุกวงการไม่ว่าจะเป็นในสภาบันทงสังคมใดก็ตามทั้งครอบครัว บริษัทหรือที่โรงเรียน เป็นต้นขณะที่โลกตะวันตก นั้นจะเน้นการสื่อสารแบบทางนอนและความสัมพันธ์แบบเท่าเที่ยมกัน
- วิธีการสื่อสารการสือสารแบบตะวันตก นั้นจะมีรูปแบบที่ตรงไปตรงมาและชัดเจน มีการใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการแลกเปลี่ยนความคิดยึดมั่นในการแสดงให้ผุ้รับสารได้รับทราบข้อเท็จจริงทั้งหลายด้วยการใช้เหตุและผลมายืนยันเพื่อโน้มน้าวให้เชื่อมั่น ใความสำคัญต่อสารที่สงออกไป หรือสนใจการเข้ารหัส จะเรียกได้ว่าการสื่อสารประสบความสำเร้๗ก็เมื่อผุ้รับสารเข้าใจในสารที่ส่งออกไปในขณะที่การสื่อสารแบบตะวันออก มัลักษณะที่อ้อมค้อมและแฝงด้วยความหมาย ขึ้นอยุ่กับสถานการณ์ เพื่อรักษาความสัมพันธืและความรู้สึกและให้ความสำคัญกับผุ้รับสารมากว่า
ขณะที่ชาวตะวันตกเร่ิมการสนทนาด้วยเป้าหมายที่ัชัดเจนพวกเขาต้องการพูดหรือได้รับบางส่ิงบางอย่างไม่ว่าจะเป็นวัตถุ หรือไม่ใช่วัตถุก็ตาม แต่สำหรับชาวตะวันออกน้นถือว่าการสนทนานั้นคือการแลกเปลี่ยนทางอารมณ์ ซึ่งความพึงพอใจในการสื่อสารนับเป้นส่ิงสำคัญโดยในาการสื่อสารระหว่งบุคคล นั้นชาวตะวันออกจะพยายามประเมินความรู้สึกและสถานะทางจิตในเวลานั้นและเน้นการพยายามสื่อสารแบบองค์รวม ชาวตะวันออกจะเห้นว่าข้อเท็จจริง จะถูกเปิดเผยเมื่อเขาหรือเธอ พร้อมสำหรับมันหรือในอีกทางหนึ่งก็คือเมื่อความรุ้ที่ได้รับนั้นเพียงพอ และความเขาใจได้ถูกสะสมีวบรวมขึ้น ชาวตะวันตกคาดทำนายทัศนคติของพวกเขาด้วยคำนึงถึงธรมชาิและเทคโนโลยี ในการที่พวกเขาต้องการจะสั่งการและควบคุมในสิ่งเหล่านี้แต่ชาวตะวันออก จะพยายามเพื่อให้ทั้งคู่ประสบความสำเร็จในการเกิดความสัมพันธ์ที่สอดประสานกลมกลืนกัน กล่าวโยสรุปแล้วเราแบ่งแยกวิธีการสื่อสารแบบตะวันตกและตะวันออกด้วย 3 เรื่องนี้คือ การหยั่งรู้/รู้โดย สัญชาตญาณ แนวคิดเหตุผลนิยม และแนวคิดแบบประจักษ์นิยม
การใช้ภาษาเพื่อากรสื่อสารของชาวเอเชียในหลายๆ กลุ่มชนนั้นมัมีลักษณะพิเศษตรงที่มันเป็นภาษาที่มีระดับในการใช้คำพูด โดยอ้างอิงตามอายุ สถานะทางสังคม และรูปแบบของการปฏิสัมพันะ์ทางสังคม คนๆ หนึ่งจะต้องใช้ชื่อเรียกและรุปแบบของการใช้คำนำหน้าในการเรียกหรือกล่าวถึงด้วยคำที่แตกต่างกันเมื่อจะสนื่อสารกับคนที่อ่อนกว่าหรือแก่กว่ช่วงชั้นสูงกว่าหรือต่ำกว่า จัดเป้นการใช้ภษาาแบบแบ่งระดับสูงต่ำ ที่ซึ่งในโลกตะวันตก นั้นรูปแบบภาษาอังกล่าวนี้มันค่อยๆ หายไปอย่างช้าๆ
ลิตเทิต จอห์น ได้กล่าวถึงแนวคิดของ จอร์จ เฮอร์เบริท มี๊ด นักทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ ว่านการสื่อสารที่เกิดขึ้นแต่ละครั้งนั้น ผู้สื่อสารควรต้องคำนึงถึงเรื่อง "ตัวตน" หรือ โดยนัยเดียวกัน "อัตลักษณ์" ด้วยเนหื่องจากมนุษย์มีการโต้ตอบกับตนเองเช่นเดียวกับมีการโต้ตอบกับผุ้อื่น ตัวตนหรือ อัตลักาณ มีหลายระดับตั้งแต่ ระดับบุคคล ระดับสังคม ระดับตัตนของมนุษย์ นอกจานี้ มี๊ด ยังเสนอแนวคิดว่า การที่มนุษย์จะมี เซลฟ์ คอนเนคชั่น ได้ก็ เนื่องมาจาการพูดคุยกับบุคคลอื่นในวสังคม กล่าวคื อเมื่อมีการสื่อสารระหว่างบุคคลเกิดขึ้นนั้น จะดูว่าพฤติกรรมสื่อสารของคู่สื่อสารที่มาจากต่างวัฒนธรรมมแนวโน้มการถอดรหัสสารอย่างไรมีองค์ประอบอะไรบ้างเป็นตัวกำหนด ตั้งแต่องค์ประกอบใหญ่คื อวัฒนธรรม สังคม ไปจนถึงองค์ประกอบที่เล็กลงมาคือลักาณะเฉาพะของแต่ละบุคคล ฉะนั้น การก่อรูปทรงอัตลักษณ์ของสภาพสังคมจำเป็นต้องอาศัยบทบาทแห่งบริบทของตนเอง และการสร้างรูปแห่งตัวตนของมนุษย์ให้ดีมากขึ้น
วิทยานิพนธ์ "อัตลักษณ์ของชาติตามนโยบายการศึกษา", โดย ธงชัย สมบูรณ์, ม.รามคำแหง คณะศึกษาศาสตร์, บทที่ 2 หน้า ตอนที่ 3 หน้า 48-51, 2553.
วัฒนธรรมเกิดขึ้นจากความเป็นมนุษย์ ที่จะต้องอยู่รวมกันเพือสามารถดำรงอยู่ไดและกาอรอยู่ร่วมกันก็ต้องมีการสร้างอะไรบางอย่าง และส่ิงที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อให้ดำรงอยู่ร่วมกันให้ได้นั้นคือส่ิงที่เรียกว่า วัฒนธรรมซึ่งจะแตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อมของแต่ละสังคมซึ่งลักษณะเด่นของแต่ละวัฒธรรมที่เป็นลักาณะเฉพาะของสังคมที่ทำให้แต่ละสังคมแตกตางกันนั้นเรยกว่า อัตลักษณ์ ฉะนั้นอัตลักษณ์ถือได้ว่าเป็นผลรวมของการดำเนินการหรือการกำรกระทำของสังคมนั้นๆ
ลักษณะเฉพาะทางวัฒนธรรมในด้านตางๆ ในแต่ละสังคมที่หลากหลายของโลกนี้นั้น เราสามารถเปรียบเทียบความแตกต่างพื้นฐานระหว่าง "ลักษณะตะวันตก" และ "ลักษณะตะวันออก" ด้วยใช้เกณฑ์ขงอ แอนเดอร์สัน เจน เซอร์แวซส์ ที่ได้สรุปไว้ในหนังสือ คอมูนิเคชั้น เยียร์บุค ในบทความเรื่อง " Cultural Identity and Modes of Communication" ซึ่งสามารชี้ให้เห็นลักษณะของแต่ละวัฒนธรรมโดยทัวไปไว้คือ
- แนวคิดเกี่ยวกับโลก ในวัฒนธรรมตะวันออกนั้นมีความเชือในเรื่องของความเป็นหนึ่งเดียวกับ โลกและจักรวาล ในขณธที่โลกตะวันอตกนั้นเชื่อในอำนาจ แห่งการควบคุม ความรู้ ในแบบของโลกตะวันออก นั้นมีจุดหมายไปในวิถีทางที่ดีกว่าและทำให้ใกล้ชิดยิ่งขึ้นที่จะพบกับการสอดประสานกันอย่างกลมหลือนระหว่างธรรมชาติและมนุษย์ในขณะที่ความรู้แบบตะวันตกจะมีจุดมุ่งหมายในเรื่องของความสงบสุขที่ควบคุมได้ และเพื่อให้ระบบระเบียบเป้ฯคุณค่าที่ดีที่สุด
- แนวคิดเกี่ยวกับตัวบุคคล ในวิะีการสื่อสารแบบตะวันตกนั้นจะเน้นให้ความสำคัญกับภาพลักษณ์ส่วนบุคคลเป็นสำคัญโดยใมีจุดยืนอยู่ที่ความเป็นตัวของตัวเอง นขชณะที่การสื่อสารแบบบริบทวัฒนธรมตะวันออกนั้นจะคำนึงถึงบทบาทกลุ่มหรือการทำตัวเองให้เป็นไปตามแนวทางของกลุ่มมากกว่า เป้นการให้กลุ่มเรียกหรือกำหนดสถานภาพของตนในสังคม
จอรฺจ เฮอร์เบิรฺต มีด |
- วิธีการสื่อสารการสือสารแบบตะวันตก นั้นจะมีรูปแบบที่ตรงไปตรงมาและชัดเจน มีการใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการแลกเปลี่ยนความคิดยึดมั่นในการแสดงให้ผุ้รับสารได้รับทราบข้อเท็จจริงทั้งหลายด้วยการใช้เหตุและผลมายืนยันเพื่อโน้มน้าวให้เชื่อมั่น ใความสำคัญต่อสารที่สงออกไป หรือสนใจการเข้ารหัส จะเรียกได้ว่าการสื่อสารประสบความสำเร้๗ก็เมื่อผุ้รับสารเข้าใจในสารที่ส่งออกไปในขณะที่การสื่อสารแบบตะวันออก มัลักษณะที่อ้อมค้อมและแฝงด้วยความหมาย ขึ้นอยุ่กับสถานการณ์ เพื่อรักษาความสัมพันธืและความรู้สึกและให้ความสำคัญกับผุ้รับสารมากว่า
ขณะที่ชาวตะวันตกเร่ิมการสนทนาด้วยเป้าหมายที่ัชัดเจนพวกเขาต้องการพูดหรือได้รับบางส่ิงบางอย่างไม่ว่าจะเป็นวัตถุ หรือไม่ใช่วัตถุก็ตาม แต่สำหรับชาวตะวันออกน้นถือว่าการสนทนานั้นคือการแลกเปลี่ยนทางอารมณ์ ซึ่งความพึงพอใจในการสื่อสารนับเป้นส่ิงสำคัญโดยในาการสื่อสารระหว่งบุคคล นั้นชาวตะวันออกจะพยายามประเมินความรู้สึกและสถานะทางจิตในเวลานั้นและเน้นการพยายามสื่อสารแบบองค์รวม ชาวตะวันออกจะเห้นว่าข้อเท็จจริง จะถูกเปิดเผยเมื่อเขาหรือเธอ พร้อมสำหรับมันหรือในอีกทางหนึ่งก็คือเมื่อความรุ้ที่ได้รับนั้นเพียงพอ และความเขาใจได้ถูกสะสมีวบรวมขึ้น ชาวตะวันตกคาดทำนายทัศนคติของพวกเขาด้วยคำนึงถึงธรมชาิและเทคโนโลยี ในการที่พวกเขาต้องการจะสั่งการและควบคุมในสิ่งเหล่านี้แต่ชาวตะวันออก จะพยายามเพื่อให้ทั้งคู่ประสบความสำเร็จในการเกิดความสัมพันธ์ที่สอดประสานกลมกลืนกัน กล่าวโยสรุปแล้วเราแบ่งแยกวิธีการสื่อสารแบบตะวันตกและตะวันออกด้วย 3 เรื่องนี้คือ การหยั่งรู้/รู้โดย สัญชาตญาณ แนวคิดเหตุผลนิยม และแนวคิดแบบประจักษ์นิยม
การใช้ภาษาเพื่อากรสื่อสารของชาวเอเชียในหลายๆ กลุ่มชนนั้นมัมีลักษณะพิเศษตรงที่มันเป็นภาษาที่มีระดับในการใช้คำพูด โดยอ้างอิงตามอายุ สถานะทางสังคม และรูปแบบของการปฏิสัมพันะ์ทางสังคม คนๆ หนึ่งจะต้องใช้ชื่อเรียกและรุปแบบของการใช้คำนำหน้าในการเรียกหรือกล่าวถึงด้วยคำที่แตกต่างกันเมื่อจะสนื่อสารกับคนที่อ่อนกว่าหรือแก่กว่ช่วงชั้นสูงกว่าหรือต่ำกว่า จัดเป้นการใช้ภษาาแบบแบ่งระดับสูงต่ำ ที่ซึ่งในโลกตะวันตก นั้นรูปแบบภาษาอังกล่าวนี้มันค่อยๆ หายไปอย่างช้าๆ
ลิตเทิต จอห์น ได้กล่าวถึงแนวคิดของ จอร์จ เฮอร์เบริท มี๊ด นักทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ ว่านการสื่อสารที่เกิดขึ้นแต่ละครั้งนั้น ผู้สื่อสารควรต้องคำนึงถึงเรื่อง "ตัวตน" หรือ โดยนัยเดียวกัน "อัตลักษณ์" ด้วยเนหื่องจากมนุษย์มีการโต้ตอบกับตนเองเช่นเดียวกับมีการโต้ตอบกับผุ้อื่น ตัวตนหรือ อัตลักาณ มีหลายระดับตั้งแต่ ระดับบุคคล ระดับสังคม ระดับตัตนของมนุษย์ นอกจานี้ มี๊ด ยังเสนอแนวคิดว่า การที่มนุษย์จะมี เซลฟ์ คอนเนคชั่น ได้ก็ เนื่องมาจาการพูดคุยกับบุคคลอื่นในวสังคม กล่าวคื อเมื่อมีการสื่อสารระหว่างบุคคลเกิดขึ้นนั้น จะดูว่าพฤติกรรมสื่อสารของคู่สื่อสารที่มาจากต่างวัฒนธรรมมแนวโน้มการถอดรหัสสารอย่างไรมีองค์ประอบอะไรบ้างเป็นตัวกำหนด ตั้งแต่องค์ประกอบใหญ่คื อวัฒนธรรม สังคม ไปจนถึงองค์ประกอบที่เล็กลงมาคือลักาณะเฉาพะของแต่ละบุคคล ฉะนั้น การก่อรูปทรงอัตลักษณ์ของสภาพสังคมจำเป็นต้องอาศัยบทบาทแห่งบริบทของตนเอง และการสร้างรูปแห่งตัวตนของมนุษย์ให้ดีมากขึ้น
วิทยานิพนธ์ "อัตลักษณ์ของชาติตามนโยบายการศึกษา", โดย ธงชัย สมบูรณ์, ม.รามคำแหง คณะศึกษาศาสตร์, บทที่ 2 หน้า ตอนที่ 3 หน้า 48-51, 2553.
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...