ทางเลือกหใม่ของพระองค์มีพื้นฐานอยุ่บนความคิดที่แพร่หลายอยู่ในประเทศในเวลานั้น คือ "ความรักชาติไทย" ทรงเป้นผุ้นำในการให้ความมหายรอืนิยาม "ความเป็นไทย" เพื่อให้เป็น "วิญญาณหรือดวงใจ" ของชาติไทย และทรงทำให้ชาติไทยและควมเป้นไทยกลายเป็นรากฐานของควสามสามัคคีภายใต้การนำของพระมหากษัตริย์ ซึ่งชาติไทยและความเป้นไทยจะมีพลังในแง่ที่สร้างเอกภาพ ภายใได้ด้วยการสร้างภาพให้ปรากฎชัดเจนว่า "ชาติไทย, ความเป้นไทย, คนไทย" เป็นพวกเราและมีคนอื่นทีไม่ใช่พวกเราและไม่มีความรักใคร่ผุกพันตอพวกเรา จะทอดทิ้งเราในยามวิกฤต ทรงเน้นสถาบนให่ คื อ "ชาติไทย" ทรงเน้นความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ในเชิงสัญญลักษณ์มากขั้นดดยเน้นความเป็น "ประมุข" ของพระมหากษัตริย์
"อนึ่งเมื่อสวงนชาติแล้ว ก็จะเป็นต้องสวงนสิ่ง ซึ่งเป็นหลักแห่งชาติคือ พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขนำชาติในการทั้งปวง พระราชาเป็นสง่าแห่งแคว้น.."
พระบาทสมเด้จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงย้อนกลบไปใช้ความคิดในไตรภูมิพระร่วงมาเชื่อมต่อกบความคิดแบบอังกฤษ ซึ่งเน้นสถาบันสำคัญ 3 สถาบันคือ พระผุ้เป็นเจ้า พระมหากษัตริย์ ประเทศชาติ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงนำมาปรับเป็นชาติ (แทนด้วยธงไตรรงค์) ศาสนา (พระพุทธรูป) พระมหากษัตริย์ (พระบรมสาทิสลักษณ์)
สถาบันหลักของไทยคือ ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ดังกล่าว ทรงขยายความคิดเรื่องรัฐสยามของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเพิ่มประเด็นเรืองชาตินิยม ความรักชาติ และเพื่อชาติ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่กัวทรงมีนดยบายปลูกฝังความรู้สึกชาตินิยม ทรงเห้นว่า คนไทยที่แท้จริงต้องมีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ์ ประเทศไทยไม่ได้เป็นเพียงดินแดนทีคนไทยอาศัยอยู่เท่านั้น แต่เป็นชาติไทยที่มีเอกลักาณ์ประจำชาติที่ทำให้ไทยมีความแตกต่างจากชาติอื่น สิงท่แตกต่างกันก็คื ประวัติศสตร์ของชาวไทย องค์ประกอบทางด้านศิลปะ ภาษา วรรณคด และศาสนาของคนไทย รวมทั้งความจงรักภักดีที่มีต่อพระมหากษัตริย์ และความภาคภูมิใจที่เป็นชาติเสรี คนไทยต้องเข้มแข็งและสามัคคีกัน ช่วยกัน รักษาความดีงามของวันธรรมไทยและฃความเป็นชาติไทยเอาวไว้ให้มั่นคงสืบไป...โดยสรุปแล้ว อัตลักาณ์ไทยในแนวพระราชดำริพระบาทาสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวทรงเน้น "ความเป็นไทย" ที่ศิวิไลท์ กล่าวคือ ความเป็นไทย แม้จะมีลักษณะเฉฑาะ แต่ลักษณะเฉพาะนั้นก็มี "วิญญาณ" หรือ "ภูมิธรรม" ที่เป็นสากลเหมือนกับวิญญาณ หรือ ภูมิธรรมของประเทศยุโรปอยู่แล้ว นอกจากภูมิธรรมของไยจะมีสวนเป้นสากลแล้ว ยังมีส่วนที่เหนือกว่ "ภูมิธรรม" ของชาติอื่่น เช่น "พุทธศาสนา" ซึ่งเ้นของไทย เป็นต้น
ภูมิธรรมของชาติที่พระงค์เน้นคือ ความซื่อสัตย์ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ความสามัคคี ความกล้าหาญ ความเพียรในการทำคุณประโยชน์เพื่อชาติ และพระมหากษัตรยิ์ การรักษาเกี่ยรติยศของชาติ ความซอตรงต่อหน้าที และซื่อตรงต่อคนทั่วไป ที่สำคัญที่สุดคือ "ความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์"
อัตลักษณ์ไทยในทรรศนะของสมเด้จฯ กรมพรยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานะภาพทรงมองอตลักษณ์ไทย (สยาม) แตกต่างจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยุ่หัว ทรงมองว่าไทย (สยาม) มีอัตลักษณ์ 3 ประการ คือ ความรักอิสระในแง่ขชาติ สังคม และปัจเจกชน ความปราศจากวิหิงสา กล่าวคือ ถ้าเลือกได้ชาวสยามจะเลือการตกลงแบบสันติวิธี และชาวสยามมีความสามารถในการประสานประโยชน์ หรือ การประนีประนอม รู้จักคัดเลือกส่วนดีจากแหล่งต่างๆ ม่เปลี่ยนให้เป็นไทย
สมเด็๗ฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงกล่าวถึงคุณธรรม 3 อย่างของชนชาติไทย ซึ่งเป็นอุปนิสัยประจำชาติว่า "ที่ชนชาติไทยสามารถปกครองประเทศสยามมาได้ช้านาน ถ้าจะนับเวลาเกือบถึง 700 ปี เข้าบัดนี้ จำต้องอาศัยคุณธรรมอย่างอื่นอนมีอยุ่ในอุปนิสัยของชนชาติไทยด้วย ข้าพเจ้าพิจารณาดูตามหลักฐานที่ปรากฎในพงศาวดาร เห็นว่า ชนชาติ
ไทยมีคุณธรรม 3 อย่างที่สำคัญจึงสามารถปกครองประเทศสยามมาได้คือ ควาจงรักอิสระของชาติอย่างหนึ่ง ความปราศจากวิหิงสาอย่างหนึ่ง ความฉลาดในการประสานประโยชน์อย่างหนึ่ง.." และทรงพยายามทำให้คนทั่วไปแระจักษ์ด้วยว่า พระมหากษัตริย์ไทยในสมยรัตนดกสินทร์ทรงเป้นผุ้นำแห่งคุณธรรมทั้งสามประการ...และทรงพยายามสร้างอัตลักษณ์ของชนชั้นต่างๆ ในประเทศ เช่น อัตลักษณ์ เจ้า อัตลักษณ์ข้าราชการ อัตลักาณราษฎร อัตลักาณ์พระสงห์ อัตลักษณ์ผุ้หญิง และอัตลักษณ์พ่อค้าและชาวจีน ฯลฯ เพื่อให้คนแต่ละชนชั้นรู้ไดอ้ย่างชัดเจนว่าตนเป็นใคร มีสถานภาพและหน้าที่อย่างไรในประเทศไทยด้วย
ผลงานทังหมดของสมเด้จฯ กรมพระยาดำรงราชานุำภาพคือ การสร้างจิตสำนึกใหม่เกี่ยวกับอัตลักษณ์ไทยโดยผ่านการปฏิรูประบบบริหารการศึกษา งานวิจย การสร้างพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ และห้องสมุด ท้ายที่สุดคือ การสร้างราชบัณฑิตยสถานเลียนแบบ เพื่อกำหนดภาษาแห่งชาติ วรรณคดี และเพื่อรักษาศิลปะดั้งเดิม โบราณสถาน และสมบัติแห่งชาติ
ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เน้นอัตลักษณ์ไทยที่เป็น "ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์" ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมชเน้นว่ "ชาติไทย" ดีกว่าชาติอื่น เพราะมี "ความเป็นไทย" อันมีคุณค่าหลายอย่าง ได้แก่ พระมหากษัตรยิืทไยที่ควรต่าแก่การเคารพบูชา ภาษาไทยที่เป้นภาษาของชนชาติไทยแต่โบราร ศิลปะไทย และขนบธรรมเนียมประเพณีต่าง ๆเป็นต้น ซึ่ง "ความเป็นไทย" เหล่านี้เป็นส่ิงที่ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช นำมาเน้นในโอกาสต่างๆ และอธิบายให้เห็นความหมายหรือความสำคัญอยู่เสมอ
ในวันที่สิ้นสุดระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของไทยการศึกษาแบบตะวันตกส่วนใหญ่เป็นภัยมากกว่าเป็นคุณต่ออัตลักษณ์ไทย (สยาม) มร.สก๊อต ที่ปรึกษาราชการชาวต่างประเทศ (อังกฤษ) กล่าวว่า ข้อผิดพลาดข้อสำคัญที่สุดของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวคือ การส่งชาวสยามไปศึกษาต่อต่างประเทศตั้งแต่อายุยังน้อย เมื่อบุคคลเหล่านี้กลับมาเป้นผุ้นำก็จะเป็นผุ้นำที่ไม่เข้าใจอัตลักษณ์ไทย (สยาม) จึงเป็นผลเสียต่อประเทศมากกว่าผลดี
อัตลักษณ์ไทยในทรรศนะของชาวต่างประเทศ
หลวงวิจิตรวาทการ กำหนดว่า อัตลักษณ์ไทย หมายถึง ความเป็นไทยทางวัฒนธรรม ท่า
พยายามสร้างอัตลักษณ์ไทยเพื่อตอบสนองต่อปัญหาของชาติตามที่มองเห็นแลเพื่อบรรลุอุดมคติของชาติไทยตามที่ท่านใฝ่ฝัน ท่านกล่าวถึงอัตลักษณ์ไทย่า ถ้าคนเราเปลี่ยนนิสัย หรือ เปลี่ยนความเคยชินในการดำเนินชีวิต ไปหลายชั่วคนก็จะเป็นลักษณะที่กลอมเข้าไป "อยู่ในเลือดและเปลี่ยนแปลไม่ได้ทีเดียว" คือ กลายเป้นลักษณะประจำชาติ หลวงวิจิตรวาทการเน้นอัตลักษณ์ไทย่า "เป็นของดีของชาติ" และ "นิสัย" ของดีของชาติ หมายความว่า สิ่งที่ทำให้ชาติไทยมีเกี่ยรติมากขั้น และได้รับความนับถือจากต่างชาติมากขึ้น
เช่น ประวัติศาสตร์ไทย โบราณคดีไทย อักษรศาสตร์ไทย ศิปละของชาติไทย และจารีตประเพณีไทย เป็นต้น ที่เป็นเครื่องเชิดชูเกียรติของชขาติ ส่วนการเน้น "นิสัย" หรือ "จิตใจ" หรือ "ศีลธรรม" ของคนไทยกลายเป็นปัจจัยแห่งความแข็งแรงมั่นคงของชาติไทย นอกจากนี้ หลวงวิจิตรวาทการสร้าง "ความเป็นไทย"โดยเน้น "มติมหาชน" เพื่อทำให้ "ชาติไทย" เจริญก้าวหน้าและ "คนไทย" มีความภาคภุมิใจในชาติของตน และเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง อัตลักษณ์ที่รัฐบาลไทยเน้นคือ "ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์" เพื่อต่อต้านคอมมิวนิสต์
สรุป.. อัตลักษณ์ไทยที่ชนชั้นผุ้ปกครองในสมััยนั้นพยายามสร้างให้เกิดขึ้นมีทั้งอัตลักษณ์ของชาติ อัตลักษณ์ รัฐสยามเป็นรัฐที่รักสงบเป้นมิตรกับนานาประเทศปราศจากวิหิงสา อัตลักษณ์ของพระมหากษัตรยิืเป็นพระมหากษัตริย์ของประชาชน (ราษฎร) ทรงอุทิศตนเพื่อประโยชน์สุขของราษฎร ตั้งอยุ่ในทศพิธราชธรรม (ทรงเป้นธรรมราชา) อัตลักษณ์ของข้าราชการคือ จงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ รักเกียรติ อุทิศตนเพื่อประเทศชาติ อัตลักษณ์ของปัจเจกชน (คนทั่วไป) รักอิสรภาพเป็นมิตรกับคนต่างชาติ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตรย์ ประพฤติตนตามหลักธรรมของศาสนาพุทธ...
- วิทยานิพนธ์ "อัตลักษณ์ไทยที่ปรากฎในนโยบายต่างประเทศยุคปรับปรุงประเทศตามแบบตะวันตก" โดย Lee Joeng yoon, ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต มหวิทยาลัยบูรพา บทที่ 2,หน้า 11-17, 2552.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น