เร่ิมแรกการก่อตั้งอาเซียนมี5 รัฐร่วมก่อตั้ง ได้แก่ สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และไทย ได้รวมตัวก่อตั้ง หลังจากนั้นจึงค่อยๆ รับสมาชิกเพ่ิมเติมเรื่อยมา กระทั้งปัจจุบัน มี 1= ประเทศ สำหรับกลุ่มประเทศ clmv อันได้แก่ ลาว พม่า เวียดนามและกัมพุชาได้ทยอยเข้าเป็นสมชิกในอาเซียนโดยเวียดนามเข้ามาเป็นสมาชิกในปี ค.ศ. 1995 ตามด้วยลาวและเมียนมาร์เข้าเป็นสมชิกในปี ค.ศ. 1997 และกัมพุชาในปี 1999 ซึ่งสี่ประเทสดังกล่าวมีความแตกต่างกับประเทศสมชิกผุ้ก่อตั้งอย่างมากทั้ง ท่างด้าน เศรษฐกิจ ระดับการพัฒนา และรอบอบการเมืองการปกครอง
ลักษณะของกลุ่มประเทศ clmv อยู่บนคาบสมุทรอินโดนคน มีพรมแกนติดต่อกัน และยังเป็นปเ็นหลุ่มประเทศที่เข้าร่วมเป้นสมาชิกอาเซียนในภายหลัง อย่างไรก็ตามการเข้ารวมดังกล่าวได้ตกอบยำ้ความแตกต่างทางด้านเศราบกิจและการเมืองของกลุ่มประเทศอาเวียน clmv เป็นกลุ่มประเทศที่มีความคล้ายคลึงกันในเรื่องของเศรษฐกิจ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม และเป็นกลุ่มประเทศที่พัฒนาค่อนข้างช้าเมื่อเปรียบเที่ยบกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเแียงใต้แต่อย่างไรก็ตามหลังจากที่ความขัดแย้งในประเทศเลห่านี้เร่ิมคลี่คลาย กลุ่มประเทศ clmv ก็ได้รับความสนใจจากนักลงทุนต่างประเทศ เรื่องจากมีเศรษฐกิจที่พัฒนาอย่างต่อเนื่อง เป็นตลาดเปิดใหม่ มีทรัพยากรทางธรรมชาติทีอุดมสมบูรณ์และมีความไดเปรียบในเรื่องค่าจ้างแรงงานที่ต่ำกว่าประเทศเพื่อบ้านในภุมิภาคเดียวกัน
- กัมพูชา หลังจากสงครามได้ผ่านพ้นไป กัมพุชาก็เป็นปรเทศที่มีอตราการเจริญเติบโตทางเศณาฐกิจสูง โดยเฉพาะเศรษบกิจระดับมหภาคที่มีเสถียรภาพ โดยเศรษกบิจของกัมพูชามีการเติบโตสุงกว่าร้อยละ 7 ต่อเนื่องระหว่างปี ค.ศ. 2010-2014 อย่าไรก็ตามกัมพุชายังประสบปัญหารการใช้ทรัพยากรธรรมชาิตอย่างิส้นเปลื่องไปเพื่อการพัฒนาประเทศ และยังมีปัญหาความยากจน ความ
ขาดแคลนบุคลากรคุณภาพ และความสามารถในการแข่งขันทางการต้ากับประเทศเพื่อบ้าน
- ลาวปรารถนาที่จะพัฒนาประเทศให้พ้นจากสภาพประเทศด้อยพัฒนา ภายในปี ค.ศ.2020 และขจัดปัญหาความยากจนภายในปี ค.ศ. 2010 แม้จะประสบอุปสรรคมากมาย เช่น การขาดแคลนแรงงานที่มีฝีือ ขาดโครงสร้างพื้นฐานที่ดี และข้อจำกัดด้านภูมิศาสตร์ที่ไม่มีทางออกทะเล รัฐบาลลาวมุ่งหมายที่จะพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน พัฒนาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ การพัฒนาการท่องเที่ยวซึ่งปัจจัยเหล่านี้จะสามารถเปลี่ยนแปลงลาวให้กลายเป็นประเทศแห่งการเชื่อมต่อ ซึ่ลาวมีควมต้องการที่จะสามารถใช้ท่าเรือประเทสเพื่อนบ้านได้เพื่อนำเข้าและส่งออกสินค้าตน รวมไปถึงระบบถนนและระบบรางรถไฟด้วย โดยลาวได้เริ่มโครงการก่อนสร้างทางรถไฟระยะทาง 220 กิโลเมตร จากเมืองไกสร พมวิหาร แขวงสะหวันนะเขต ไปยังเมืองลาวบาวซึ่งมีทางรถไฟเชื่อมต่อกับท่าเรือน้ำลึกหมีถวี ซึ่งอยุ่ในตอนกลางของประเทศเวียดนาม โครงการนี้มีเป้าหมายว่าจะช่วยให้ลาวแก้ปัญหาการเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลได้ นอกจากนั้นในวัที่ 27 มิถุนายน 2015 ลาวและเวียดนามได้มีความตกลงทวิภาคีในเรื่องการต้าและการขนส่งข้ามพรมแดนเพื่อให้มีการเคลื่อนย้ายสินค้าและเงนตราระหว่างกันง่ายขึ้น
- เมียนมา มีทรัพยากรธรรมชาติล้นเหลือ มีแรงงานราคาถุกและเป็นตลาดใหญ่ท่น่าลงทุน มีความได้เปรียบทางด้านภูมิศาสตร์ที่ตั้งอยุ่กระว่างอินเดีย อาเซียน และจีน แต่การจัดการทางด้านนโยบายการส่งเสริมการลงทุนยังขาประสิทะิภา เมียนมามีความจำเป็นต้องปฏิรูประบบการเงิน ระบบธุรกิจขนาดเล็กและขนดากลาง เพื่อเพิ่่มขีดความสามารถในการแ่ข่งขันให้สุงขึ้น
- เวียดนาม เวียดนามได้มีการปฏิรูปเศรษฐกิจเมื่อปี ค.ศ.1986 จนมีทำให้ปัจจุบัน เวียดนามมีพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจที่แข็งแรง และเมื่อได้เข้าร่วมอาเซียน เวียดนามก็ได้พัฒนาด้านการลงทุนจากต่างชาติ และได้ผลตอบรับอย่างดี
ช่องว่างระห่วางกล่ม clmv กลับสมาชิกอาเซียนอื่นๆ และแนวทางการแก้ปัญหา
clmv เข้าร่วมเป็นสมาชิกอาเซียนในช่วงที่เศรษฐกิจอาเซียนกำลังเฟื่องฟู แต่ก็ยังพบการพัฒนาที่ไม่เท่าเทียมกันอยุ่บ้างในกุ่มประเทศหกประเทศนั้น clmv ประกอบด้วยกลุ่มประเทศที่พัฒนาค่อนขางช้า ได้เขามาก็จะยิ่งตอกย้ำความแตกต่างซึ่งจะเป็นการยากในการจะรวมเศรษบกิจดันซึ่งเป็นเป้าหมายในอนาคตของอาเวียน มีหลายฝ่ายที่วิตกว่าระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่แกตต่างกันอย่างมากนี้จะทำให้การรวมเศรษบกิจในกลุ่มอาเว๊ยนไมาประสบความสำเร็จอย่างไรก็ดีกลุ่ม พัฒนาล่าช้า ก็ตระกนักถึงข้อจำกัดของตนเองและต่างก็ร่วมกนพัฒนาตนเองเพื่อให้ทัน กลุ่ม อาเซียน หก
โดยในปี ค.ศ. 2002 อาเซียนได้ออกผนงาน ที่มีจุดประสงค์เพื่อลดช่องว่างระหว่างทั้งสองกลุ่ม โดยอำนวนความสะดวกใน นโยบายพัฒนาประเทศ และกอรบงานต่างๆ ที่มีส่วนช่วย นอกจากนี้ยังสนับสนุนกลุ่มประเทส พัฒนาล่าช้าในเรื่อง ปัญหาความยากจน มาตรฐานการครองชีพ การบริการสาธารณะเพื่อให้ก้าวทันเศราฐกิจโลก ปัจจุบัน กลุ่มประเทศ พัฒนาล่าช้า มีการปรับปรุงระบบและเกิดการลงทุนใหม่ ๆ อย่างรวดเร็ซ จนเกิดปรากฎการณ์คอขวดในกลุ่ม นี้ คือกรณีที่มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจเกินกว่ที่ระบบสาธารณุปโภคและโครงสร้างพื้นฐานของประเทศจะรองรับได้ซึ่งอาจทำให้แม้จะมีการลงทุนจำนวนมากในประเทศก็จริง แต่อกาจมิส่งผลประโยชน์แก่ประเทเศเหล่านั้นอย่างแม้จริง ซึ่งแนวทางในการแก้ไขปัญหานี้อาจทำได้โดยการ
- เร่งสร้างโครงสร้างพื้นฐานของประเทศเพื่อรอบรับการลงทุน เช่น ระบบกฎหมาย การคนนาคมและขนส่ง และการบริการสาธารณูปโภคพื้นฐาน เป็นต้น
- ปรับปรุงกฎระเบียบมาตรการต่าง ๆให้ชัดเจน และครอบคลุมปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต เช่น กฎระเบียบการขนสงข้าแดน ภาษีอากร การตรวจคนเข้าเมือง นอกจานี้ควรปรับให้ใช้มตฐานเดียวกันเพื่อความสะดวกรวดเร็วด้วย
แม้ว่ากลุ่มพัฒนาล่าช้า จะเข้อาเวียนในลำดับหลัง แต่ก็ตระหนัถึงศักยภาพที่จำกัดของตนในการบรรลุเป้าหมายรวมกัน จึงอาจก่อให้เกิดอุปสรรและความล่าช้าในการวมกลุ่มประเทศอาเวียน แต่อย่างำรก็ตามหลังจากที่ได้รวตัวกันเป็นอาเวียนครบทั้งสิบประเทศแล้ว กลุ่ม นี้ก็พยายบามพัฒนาตัวเองตลอดเวลา ทั้งนี้ก็ด้วยความช่วยเหลือจากสมาชิกกกลุ่มด้วย แม้จะอยุ่ท่ามกลางความไม่แน่นอนของเศราบกิจตลอดโลก แต่ตัวเลข จีดีพี กลับเพ่ิมขึ้นสวนกระแสเศรษฐกิจอื่นๆ ดดยมีการแสการลงทุนจากต่างชาติจำนวนมากจนน่าจับตามองอย่างยิงในขณะนี้.....http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8_CLMV_%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0ASEAN_6
วันพฤหัสบดีที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2560
วันพุธที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2560
Gap
อย่าให้ "ช่องว่าง" 4.0 เป็นปัญหาใหม่ของประเทศ
การพัฒนาประเทศในรูปแบบยืมจมูกคนอื่นหายใจ ดดยเฉพาะการพัคงพาอากรลงทุนและเทคโนดลยีจากต่างประเทศ อันเป้ฯนโยบายที่ประเทศไทยเรานำมาใช้ตลอดระยะเวลาของการมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตั้งแต่ พ.ศ. 2504 จนถึงปัจจุบัน
ดังจะเห้ฯได้จากล่าสุดได้มีการเชิญชวนนักลงทุนต่างประเทศ ให้มาลงทุนในเขตเศราบกิจพิเศษภาคตะวันออก หรืออีอีซี ส่งผลให้มีนักลุทุนจากญี่ปุ่นกว่าุ 600 ราย เดินทางมาประชุมหารือกับฝ่ายไทย ซึ่งในประเด็นของ"ช่องว่าง"ของรายได้ ที่จะทำให้ประเทศไทยที่มีปัญหาอยู่แล้ว มีปัญหามากขึ้นอีกในอนาคต
และประเด็นูแลเรี่องกระจายรายได้ ซึ่งอาจจะมีแล้วแต่ไม่ได้มีการทำประชาสัมพันะ์มากนัก ประกอบกับแผนพัฒนาฉบัยที่ 5 พ.ศ. 2525-2529 อันเป็นแผนพัฒนาที่ร่างขึ้นในยุค พล.เอก เปรม เป็นนายกรัฐมนตรี ซึ่วมีดครงการเอกมทีกลายเป็นโครงการต้นตระกุลสำหรับโครการ พัฒนาระเบียบเศราฐกิจภาคตะวันออก หรืออีอีซี ที่เป็นโครงการช้างเผือกอยุ่ในขณะนี้ ได้แก่โครงการ "อีสเทิร์นซีอร์ด" หรือแผนพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก ที่ประสบความสำเร็จอข่างล้นหลามนั่นเอง
แผนพัฒนาฉบับที่่ 5 เขียนไว้อย่างชัดเจนว่า จะมุ่งหน้าพัฒนาประเทศไทยไปสู่ความเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่แต่อย่างเดียวไม่ได้ เพราะจะเกิดช่องว่างของรายได้ขึ้นอย่างมหาศาล จำเป็นจะต้องมี แผนพัฒนาชนบบากจน เพื่อที่จะดูแลคนยากจนในชนบทที่อาจมิได้รับประโยชน์จากโครงการพัฒนาอีสเทิร์นซีบอร์ด หรือโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอื่นๆ เลยควบคู่กันไปด้วย จึงเกิดการพัฒนาคู่ขนานไปทั้ง 2 ด้าน คือ ทั้งแผนพัฒนาอุตสาหกรรม ที่มีดครงการอิสเทิร์นซีบอร์ดเป็นหัวหอก กับการ พัฒนาชนบทยากจน ในพื้นที่ชนบททั่วประเทศไทย และก็ประสบความสำเร็จอย่างน่าพอใจทั้ง 2 ด้าน
โครงการ อิสเทิร์ซีบอร์ด ทไใ้ผลิตภัณฑ์ประชาชาติโดยรวมของประเทศไทยเพ่ิมสูงขึ้น และเมื่อบวกกับการพัฒนาอื่นๆ ด้วย เราจึงทะลุขึ้นมาเป้นประเทศรายได้ปานกลางขั้นสูง หลุดพ้นจากนิยามความเป็นประเทศยากจนโดยสิ้นเชิง
ขณะเดียวกัน จำนวนคนจนของประเทศก็ลดลงอย่างมาก เมื่อเทียบกับยุคก่อนที่จะมีการพัฒนา และถึงแม้รายได้ของคนจน ไทยอาจจะไม่สูงมากนัก แต่สิ่งหนึ่งที่แผน 5 แผน 6 ทำไว้ก็คือ คนไทยส่วนใหญ่ได้มีสิ่งที่เรียกว่า "ความจำเป็นพื้นฐาน" เกือบครบถ้วน เรียกกันในสมัยนั้นว่า จปฐ. หรือ บริการพื้นฐานด้านการศึกษา, สาธารณสุข, มีบ้านอยู่อาศัย, มีถนนเชื่อมถึง, มีไฟฟ้าใช้, มีน้ำสะอาดดื่มครบทุกหมู่บ้านฯลฯ ที่สำคัญก็คื อในช่วงของการพัฒนาดังกล่าว เราจะมองเห้นความเชื่อมโยงระหว่างการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม หรือภาคบริการอย่างชัดเจนว่า ส่วนใหย่จะใช้แรงงานจากชนบทไทยมากที่สุด คือ จาภาคอีสาน และภาคเหนื อมิใช่ใช้แรงงานต่างด้าวดังเช่นในยุคนี้
ทำให้เกิดความห่วงขึ้นว่า บนเส้นทางใหม่ที่เรากำลังจะเดินและจะต้องยืมจมูก "ต่างประเทศ" มาช่วยหายใจหลายๆ จมูจะไหวหรือ...ทั้งเรื่องทุน เรื่อเทคโนลโลยี และเรื่องแรงงานขั้นพื้นฐานซึ่งเป็นแรงงานงานด่างด้าวเป็นส่วนใหญ่https://www.thairath.co.th/content/1067434
ไทยติดอันดับ 3 ช่องว่างรายได้มากที่สุดในโลก
ไทยถูกจัดให้เป็นอันดับ 3 ของประเทศที่มีช่องว่าระหว่างคนรวยและคนจนมากที่สุดในโลก ขณะที่ อันดับ 1 ตกเป็นของรัสเซีย
รายงานความมั่งคั่งของโลก ประจำปี 2016 ของสถาบันเครดิตสวิส จัดอันดับประเทศที่มีช่องง่างระหว่างคนรวยและคนจนมากที่สุดในโลก ซึ่งรัสเซียจัดให้อยู่ในอันดับ 1 นืองจากความมั่งคั่งกว่าร้อยละ 74.5 ของทั้งประเทศ ไปกระจุกตัวอยุ่กับกลุ่มคนที่ร่ำรวยที่สุดที่มีเพียงร้อยละ 1 ของประเทศ
อันดับ 2 อินเดีย
ขณะที่อินเดียได้รับอันดับที่ 2 และไทยอันดับที่ 3 โดยความมั่งคั่งในอินเดียร้อยละ 58.4 ส่วนของไทยร้อยละ 58 ถูกควบคุมโดยคนที่ร่ำรวยที่สุดจำนวนร้อยละ 1 ของประเทศ รองลงมาตามลำดับได้แก่ 4 อินโดนีเซี, 5 บราซิล, 6 จีน, 7 สหรัฐฯ, 8 เซาท์แอฟริกา, และ 9 เม็กซิโก..
สถาบันเครดิตสวิสรายงานว่า ก่อนหน้านี้ช่องว่างระหว่างคนรวยและคนจนเร่ิมลดลง จนกระทั่งเกิดวิกฤตการ์ทางการเงินขึ้นเมือปี 2008 ในสหรัฐฯ ซึ่งถูกมองว่เป็นวิกฤตการณ์การเงินครั้งเลวร้ายที่สุด นับตั้งแต่ภาวะเศราบกิจตกต่ำครั้งใหญ่ในทศวรรษที่ 1930 ช่องว่างระหว่างคนรวยและคนจนก็เร่ิมกลับมากว้างมากขึ้นเรื่อยๆ อีกครั้ง
สถาบันเครดิตสวิสยังรายงานด้วยว่ ความไม่เท่าเที่ยมระหว่างคนรวยและคนจนเป็นปัญหาใหญ่ในปทบทุกประเทศทั่วโลก ซึ่งผลสำรวจระบุว่าประชากรดลกครึ้งหนึ่งที่มีรายได้น้อย เข้าถึงความมั่งคั่งบนดลกนี้ได้ไม่ถึงร้อยละ 1 เท่นั้น ขณะที่คนที่ร่ำรวยที่สุดบนโลกใบนี้ร้อยละ 10 ครอบครองความมั่งคั่งทั้งหมดกว่าร้อยละ 89 ด้านคนที่รวยที่สุดร้อยละ 1 เป็นผุ้ครอบครองความมั่งคั่งกว่าครึ่งหนึ่งของโลกใบนี้https://www.voicetv.co.th/read/436746
การพัฒนาประเทศในรูปแบบยืมจมูกคนอื่นหายใจ ดดยเฉพาะการพัคงพาอากรลงทุนและเทคโนดลยีจากต่างประเทศ อันเป้ฯนโยบายที่ประเทศไทยเรานำมาใช้ตลอดระยะเวลาของการมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตั้งแต่ พ.ศ. 2504 จนถึงปัจจุบัน
ดังจะเห้ฯได้จากล่าสุดได้มีการเชิญชวนนักลงทุนต่างประเทศ ให้มาลงทุนในเขตเศราบกิจพิเศษภาคตะวันออก หรืออีอีซี ส่งผลให้มีนักลุทุนจากญี่ปุ่นกว่าุ 600 ราย เดินทางมาประชุมหารือกับฝ่ายไทย ซึ่งในประเด็นของ"ช่องว่าง"ของรายได้ ที่จะทำให้ประเทศไทยที่มีปัญหาอยู่แล้ว มีปัญหามากขึ้นอีกในอนาคต
และประเด็นูแลเรี่องกระจายรายได้ ซึ่งอาจจะมีแล้วแต่ไม่ได้มีการทำประชาสัมพันะ์มากนัก ประกอบกับแผนพัฒนาฉบัยที่ 5 พ.ศ. 2525-2529 อันเป็นแผนพัฒนาที่ร่างขึ้นในยุค พล.เอก เปรม เป็นนายกรัฐมนตรี ซึ่วมีดครงการเอกมทีกลายเป็นโครงการต้นตระกุลสำหรับโครการ พัฒนาระเบียบเศราฐกิจภาคตะวันออก หรืออีอีซี ที่เป็นโครงการช้างเผือกอยุ่ในขณะนี้ ได้แก่โครงการ "อีสเทิร์นซีอร์ด" หรือแผนพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก ที่ประสบความสำเร็จอข่างล้นหลามนั่นเอง
แผนพัฒนาฉบับที่่ 5 เขียนไว้อย่างชัดเจนว่า จะมุ่งหน้าพัฒนาประเทศไทยไปสู่ความเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่แต่อย่างเดียวไม่ได้ เพราะจะเกิดช่องว่างของรายได้ขึ้นอย่างมหาศาล จำเป็นจะต้องมี แผนพัฒนาชนบบากจน เพื่อที่จะดูแลคนยากจนในชนบทที่อาจมิได้รับประโยชน์จากโครงการพัฒนาอีสเทิร์นซีบอร์ด หรือโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอื่นๆ เลยควบคู่กันไปด้วย จึงเกิดการพัฒนาคู่ขนานไปทั้ง 2 ด้าน คือ ทั้งแผนพัฒนาอุตสาหกรรม ที่มีดครงการอิสเทิร์นซีบอร์ดเป็นหัวหอก กับการ พัฒนาชนบทยากจน ในพื้นที่ชนบททั่วประเทศไทย และก็ประสบความสำเร็จอย่างน่าพอใจทั้ง 2 ด้าน
โครงการ อิสเทิร์ซีบอร์ด ทไใ้ผลิตภัณฑ์ประชาชาติโดยรวมของประเทศไทยเพ่ิมสูงขึ้น และเมื่อบวกกับการพัฒนาอื่นๆ ด้วย เราจึงทะลุขึ้นมาเป้นประเทศรายได้ปานกลางขั้นสูง หลุดพ้นจากนิยามความเป็นประเทศยากจนโดยสิ้นเชิง
ขณะเดียวกัน จำนวนคนจนของประเทศก็ลดลงอย่างมาก เมื่อเทียบกับยุคก่อนที่จะมีการพัฒนา และถึงแม้รายได้ของคนจน ไทยอาจจะไม่สูงมากนัก แต่สิ่งหนึ่งที่แผน 5 แผน 6 ทำไว้ก็คือ คนไทยส่วนใหญ่ได้มีสิ่งที่เรียกว่า "ความจำเป็นพื้นฐาน" เกือบครบถ้วน เรียกกันในสมัยนั้นว่า จปฐ. หรือ บริการพื้นฐานด้านการศึกษา, สาธารณสุข, มีบ้านอยู่อาศัย, มีถนนเชื่อมถึง, มีไฟฟ้าใช้, มีน้ำสะอาดดื่มครบทุกหมู่บ้านฯลฯ ที่สำคัญก็คื อในช่วงของการพัฒนาดังกล่าว เราจะมองเห้นความเชื่อมโยงระหว่างการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม หรือภาคบริการอย่างชัดเจนว่า ส่วนใหย่จะใช้แรงงานจากชนบทไทยมากที่สุด คือ จาภาคอีสาน และภาคเหนื อมิใช่ใช้แรงงานต่างด้าวดังเช่นในยุคนี้
ทำให้เกิดความห่วงขึ้นว่า บนเส้นทางใหม่ที่เรากำลังจะเดินและจะต้องยืมจมูก "ต่างประเทศ" มาช่วยหายใจหลายๆ จมูจะไหวหรือ...ทั้งเรื่องทุน เรื่อเทคโนลโลยี และเรื่องแรงงานขั้นพื้นฐานซึ่งเป็นแรงงานงานด่างด้าวเป็นส่วนใหญ่https://www.thairath.co.th/content/1067434
ไทยติดอันดับ 3 ช่องว่างรายได้มากที่สุดในโลก
ไทยถูกจัดให้เป็นอันดับ 3 ของประเทศที่มีช่องว่าระหว่างคนรวยและคนจนมากที่สุดในโลก ขณะที่ อันดับ 1 ตกเป็นของรัสเซีย
รายงานความมั่งคั่งของโลก ประจำปี 2016 ของสถาบันเครดิตสวิส จัดอันดับประเทศที่มีช่องง่างระหว่างคนรวยและคนจนมากที่สุดในโลก ซึ่งรัสเซียจัดให้อยู่ในอันดับ 1 นืองจากความมั่งคั่งกว่าร้อยละ 74.5 ของทั้งประเทศ ไปกระจุกตัวอยุ่กับกลุ่มคนที่ร่ำรวยที่สุดที่มีเพียงร้อยละ 1 ของประเทศ
อันดับ 2 อินเดีย
ขณะที่อินเดียได้รับอันดับที่ 2 และไทยอันดับที่ 3 โดยความมั่งคั่งในอินเดียร้อยละ 58.4 ส่วนของไทยร้อยละ 58 ถูกควบคุมโดยคนที่ร่ำรวยที่สุดจำนวนร้อยละ 1 ของประเทศ รองลงมาตามลำดับได้แก่ 4 อินโดนีเซี, 5 บราซิล, 6 จีน, 7 สหรัฐฯ, 8 เซาท์แอฟริกา, และ 9 เม็กซิโก..
สถาบันเครดิตสวิสรายงานว่า ก่อนหน้านี้ช่องว่างระหว่างคนรวยและคนจนเร่ิมลดลง จนกระทั่งเกิดวิกฤตการ์ทางการเงินขึ้นเมือปี 2008 ในสหรัฐฯ ซึ่งถูกมองว่เป็นวิกฤตการณ์การเงินครั้งเลวร้ายที่สุด นับตั้งแต่ภาวะเศราบกิจตกต่ำครั้งใหญ่ในทศวรรษที่ 1930 ช่องว่างระหว่างคนรวยและคนจนก็เร่ิมกลับมากว้างมากขึ้นเรื่อยๆ อีกครั้ง
สถาบันเครดิตสวิสยังรายงานด้วยว่ ความไม่เท่าเที่ยมระหว่างคนรวยและคนจนเป็นปัญหาใหญ่ในปทบทุกประเทศทั่วโลก ซึ่งผลสำรวจระบุว่าประชากรดลกครึ้งหนึ่งที่มีรายได้น้อย เข้าถึงความมั่งคั่งบนดลกนี้ได้ไม่ถึงร้อยละ 1 เท่นั้น ขณะที่คนที่ร่ำรวยที่สุดบนโลกใบนี้ร้อยละ 10 ครอบครองความมั่งคั่งทั้งหมดกว่าร้อยละ 89 ด้านคนที่รวยที่สุดร้อยละ 1 เป็นผุ้ครอบครองความมั่งคั่งกว่าครึ่งหนึ่งของโลกใบนี้https://www.voicetv.co.th/read/436746
วันอังคารที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2560
Equal economic development
การพัฒนาทางเศรษกิจให้เท่าเที่ยมกัน เป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์การก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กรณีนี้ชัดเจนในระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนเก่าและสมาชิกใหม่ของอาเซียน อาเซียนจึงจัดทำข้อริรเ่ิมเืพ่อการรวมตัวของอาเซียน ขึ้นในปี 2545 เพื่อให้สมาชิกอาเซียนเก่ากับสมาชิกใหม่เกิดความร่วมมือและความช่วยเหลือระหว่างกัน เพื่อลดช่องว่างการพัฒนาเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียน และเสริมสร้างการวมกลุ่มของประเทศ CLMV โดยให้ประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศได้รับประโยช์จากการรวมกลุ่มทาง เศรษฐกิจ
ทั้งนี้ อาเซียนได้จัดโครงการฝึกอบรม และเสริมสร้างขีดความสามารถในระดับองค์กรต่างๆ โดยดครการลดช่องว่างการพัฒนาของไอเอไอ ให้ความสำคัญกับความร่วมมือด้านโครงสร้างพื้นฐาน ชนส่ง และพลังงาน เทคโนโลยีสารสนทเศ และการสื่อสาร การรวมกลุ่มทางเศรฐกจิในภูมิภาค ในด้านสินค้า บริการ ศุลกากร การลงทุน และมาตรฐานต่างๆ การท่องเที่ยว การลดความยกจน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งครอบคลุมด้านการเสริมสร้างศักยภาพของภาครัฐ แรงงาน การจ้างงาน และการสนับสนนุการศึกษาระดับสูงขึ้น นอกจานี้ เพือเป็นพัฒนาทางเศรษบกิจของอาเซียนให้เท่าเที่ยมกัน อาเซยนยังให้ความสำคัญในการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม การพัฒนาด้านเอสเอ็มอี ภายใต้แผนงานการจัดตั้งเออีซี มีเป้าหมายสำคัญ คือ
- จัดทำหลักสูตรร่วมกันสำหรับผุ้ประกอลบการในอาเซียน
- การจัดตั้งศูนย์บริการเอสเอ็มอี เพื่อเชื่อมโยงระหว่างภูมิภาคและอนุภูมิภาคของประเทศสมาชิกอาเซียน
- การให้บริการทางการเงินสำหรับธุรกิจเอสเอ็มอีในแต่ละประเทศสมาิก
- การจัดทำโครงการส่งเสริมการฝึกปฏิบัติงานสำหรับเจ้าหน้าที่ในระดับภูมิภาคเพื่อพัฒนาความเชียวชาญของเจ้าหน้าที่
- การจัดตั้งกองทุนเพื่อการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในระดับภูมิภาค เพื่อเป็นแหล่งเงินทุนสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางแฃละขนาดย่อมที่ประกอบธุรกิจใน ภุมิภาคอาเซียน
นอกจากนี้ ยังไดหารือร่วมกับหน่วยงานเอสเอ็มอีของอาเวียนบวกสาม ผประเทศสมาชิกอาเซียนรวมกับจีน ญี่ปุ่่น และเกาหลี) เพื่อแลกเปลียนแนวทางการปฏิบัติและความร่วมมือผ่านโครงการต่างๆ ทั้งนี้ อาเซียนได้ให้การรับรองแผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาเอสเอ็มอีของอาเซียน เมื่อเดือนสิงหาคม 2553 โดยแผนงานดังกล่าวครอบคลุมการดำเนินการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาธุรกิจเอสเอ็มอี เพื่อเพิ่มขีนความสามารถการแข่งขัน เพิ่มความสามารถในการปรับตัวของเอเอ็มอี ในการมุ่งสู่การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดี่ยวในอาเซียนhttps://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1336496884
ปัจจุบันแผนแม่บทว่าด้วยการเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนทั้ง 3 มิติ ทั้งทางกายภาพ การเชื่อมโยงเชิงสถาบันและกฎระเบียบ และการเชื่อมโยงระหว่างประชาชน ยังเป็นเรื่องท้าทายของการรวมตวเป้นประชาคมเดียวของอาเซียน อาเซียนได้รับรองให้มีแผนแม่บทว่าด้วยเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเวียน ขึ้นเมื่อปี 2553 แตปัจจุบันการเชื่อมโยงระหว่างกนในอาเซียนยังล่าช้า โดยเฉพาะการเชื่อมดยงเชิง
สถาบันและกฎระเบียบ
ทั้งนี้กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศของไทย เล็งเห็นความสำคัญของการเชื่อมโยงอาเซียนจึงเป้นเจ้าภาพจัดการประชุมเชิงปฎิบัติการในหัวข้อ "มุ่งลอขช่องว่างในการพัฒนาระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนใหม่ที่ประกอบด้วยกัมพุชา ลาว เมียนาร์ และเวียดนาม หรือ CLMV แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและมุ่งสร้างความรุ้เกี่ยวกับการเชื่อมโยงภุมิภาคในด้านการบริหารจัการข้ามพรมแดน
นายประดาบ พิบูรลสงคราม ผุ้แทนไทยในคณะกรรมการประสานงานการเชื่อมดยงอาเซียน กล่าวว่าการเชือมโยงภุมิภาค เป็นอีกปัจจัยที่สนับสนุนเศรษบกิจและการต้าชายแดน เห็นได้จากตัวเชยการต้าชายแดนของไทยกับเพื่อบ้านที่มีพรมแดนติดกันตามลำดับดังนี้ การต้าชายแดนไทยอินโดนีเซียนคิดเป็น 55% มาเลเซียน 45% เวียดนาม 18% เมียนมาร์ 12% ลาว 7% และกัมพูชา 6% ทั้งนี้ การคมนาคมขนส่งและกฎระเบียบที่มีประสิทธิภาพจะสามารถเพิ่มตัวเลขการต้าได้มากขึ้น
นายประดาบเพ่ิมเติมว่า "แผนแม่บทว่าด้วยการเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนมีท้งหมด 84 โครงการ มุ่งเสริมสร้างรอยต่อระหว่างประเทศให้สมบูรณ์ โดยตามแผนจะต้องเสร็จในอีก 3 ปี ซึ่งอาจไม่เสร็จทั้งหมดก่อนเข้าปี 2558 สิ่งสำคัญที่สุดคือกฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเชื่อมโยงที่ลงนามร่วมกันต้องนำไปปฏิบัติจริง"
ประเทศผุ้เข้าร่วมกมารประชุมกลุ่ม CLMV ต่างเสนอความเห็นเพื่อเร่สงสนับสนุนการเดินหน้าแผนแม่บท ตัวแทนจากประเทศกัมพุชากล่าวถึงปัญหาท้าทายของประเทศ ที่ส่งผลต่อการเชื่อมโยงเชิงสถาบันและกฎระเบียบของอาเซียนว่า กัมพูชายังไม่มีกรอบองกฎระเบียบที่ัดเจนเพียงพอในการส่งเสริ
มระบบโลจิสติกส์ เจ้าหน้าที่และหน่วยงานที่เกี่ยว้องกับโลจิสติกส์ของประเทศต้องพัฒนาด้านข้อมูล และประสานงานกันมากขึ้น ส่วนภาพรวมกฎหมายด้านศุลกากรของประเทศมีโคงสร้างดีแต่ไมได้นำมาอภิปรายหารือกับภาคเอกชน ตัวแทนจากประเทศลาว ชี้ปัญหาท้าทายของประเทศในการพัฒนาสู่การเชื่อมโยงกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคด้านการจัดการข้ามพรมแดนว่า ปัจจุบัน สปป.ลาวต้องการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้ปลี่ยนจากประเทศที่ไม่มีทางออกทะเล ให้เป็จุดเชื่อมต่อภูมิภาค ปัญหาท้าทายของ สปป.ลาว คือโครงสร้างพื้นฐานอยู่จำกัด ทั้งถนนและจุดผ่านแดนต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาการจรจรบริเวณด่านชายแดนตามมา ปัญหาด้านกฎระเบียบเกี่ยวกับการบริหารจัดการข้ามพมแดนที่ยังไม่เป็นมาตฐานเีดยว ปัญหาในด้านระบบเทคโนโลยีที่จะนำมาใช้กับจุดตรวจผ่านแดนต่างๆ โดยขณะนี้ สปป.ลาว ไ้ด้มีการเร่งการดำเนินการเต็มที่ โดยเฉพาะจุดผ่านแดนสาละวันนะเขต-มุกดาหาร ที่จะทำให้สำเร็จในปี 2556
ตัวแทนจากเวียดนาม กล่าวว่า การบริหารจัดการข้ามพรมแดนสำคัญอย่างยิ่ง โดยเห้ฯได้จากมุลค่าการต้าชายแดนของเวียดนาม ปี 2554 ที่มีมูลค่า สองแสนล้านเหรยญสหรัฐ มีจำนวนคนผ่านเข้าเมือง 13 ล้านคน และเวียดนามมีด่านเข้าประเทศระดับนานาชาติจำนวน 46 แห่ง
ทั้งนี้ ประเทศเวียดนามยังไม่มีความคืบหน้ามากนักในทางปฏิบัติ เนื่องจากหลักการปฏิบัติที่เกี่ยวกับการข้ามพรมแดนต้องอาศัยอความร่วมมือในหลายหน่วยงาน ท้งด้านศุลการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านศาธารณสุข เป็นต้น โดยปัญหาท้าทายเวียดนาม คือขนาดของจุดเชื่อมต่อของประทศกับนานาชาติมีขนาดจำกัด เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา เช่น สนามบินนานาชาติที่มีอยู่มากถึง 7 แห่งแต่มีขนาดเล็กทั้งหมด ท่าเรือซึ่งมีขนาดเล็ก เป็นต้น
ปัญหาอีกประการ คืออุปสรรคด้านการบริหารงานที่ยังซ้ำซ้อน ยังไม่มีหน่วยงานหลักที่รับผิดขอบเกี่ยวกับการบริหารจัดการข้ามพรมแดน กระบวนการดำเนินงานยังใช้ระยะวเลานาน และที่สำคัญคือเวียดนามต้องปรับโครงสร้างทางเศรษบกิจด้วยการกระจายการต้าชายแดน พร้อมๆ กับการสนับสนุนให้ข้อตกลงเกี่ยวกับการเชื่อมโยงด้านต่างๆ ของภุมิภาคนำมาใช้จริง
ตัวแทนจากเมียนมาร์ กล่าวถึงปัญหาการพัฒนาประเทศที่ส่งผลต่อการเชื่อมโยงในภุมิภาคว่า เมียนมาร์ยังมีรถไฟอีก 3 สายที่ติดต่อกับเพือนย้าน ซึ่งได้ศึกษความเป็นไปได้แล้ว แต่ยังไม่ได้ก่อสร้าง ได้แก่ เส้นทางรถไฟติดตอ่กับอินเดีย-พม่า ระยะทาง 127.4 กม. เส้นทางพม่า-จีน ระยะทาง 141.8 กม. และพม่า-ไทย ระยะทาง 110 กม.
พร้อมกันนั้น เมียนมาร์ยังต้องการมุ่งพัฒนาทาเรืออีก 2 แห่ง ซึ่งจะเป็นผลดีต่อเศรษฐกจิ และการขนส่งสินค้าของประเทศ และรวมถึงระดับภุมิภาค ท่าเรือทั้ง 2 แห่ง คือท่าเรือน้ำลึกจ้าวผิว หรือจ้าวเปี้ยว และท่าเรือน้ำลึกทวาย เมียนมาร์ยังให้ความสำคัญต่อด้านเทคโนดลยีที่จะนำมาใช้ในการข้ามพรมแดน เพื่อนำมาช่วยอำนวยความสะดวกในการต้าอีกด้วย
ทั้งนี้ กลุ่มประเทศ CLMV ต่างแลกเปลี่ยนในประเด็นการปรับกฎระเบียบในประเทศที่เีก่ยวกับการบริหารจัดการข้ามพรมแดนของคนให้สอดคล้องกับประเทศในภุมิภาค ทั้งยังตระหนักถึงการพัฒนาระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนนุการอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการเคลื่อนย้ายสินค้า โดยเชื่อมโยงระบบข้อมุงแบบบูรณาการระหวางหย่วยงานต่างๆ
ให้ความสำคัยกับ คอมมอน คอนโทรล แอรเลีย ในการใช้พท้นที่ควบคุมร่วมกันในการตรวจด้านศุลการกรครั้งเีด่ยในประเทศขาเข้า เพื่อเร่วให้เกิดผลปฏิบัติจริงต่อทุกประเทศสมาิกทั้ง 6 ประเทศ ได้แก่ ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม เมียนมาร์ และจีน ภายใจ้กรอบความร่ยวมมือนุภุมิภาคลุ่มน้ำโขง ซึ่งจะเป็นพื้นฐานนการเดินหน้าผลักดันการเชื่อมโยงอาเซียนในภาพรวมของประเทสสมาชิกทัง 10 ต่อไป....https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1339832797
ทั้งนี้ อาเซียนได้จัดโครงการฝึกอบรม และเสริมสร้างขีดความสามารถในระดับองค์กรต่างๆ โดยดครการลดช่องว่างการพัฒนาของไอเอไอ ให้ความสำคัญกับความร่วมมือด้านโครงสร้างพื้นฐาน ชนส่ง และพลังงาน เทคโนโลยีสารสนทเศ และการสื่อสาร การรวมกลุ่มทางเศรฐกจิในภูมิภาค ในด้านสินค้า บริการ ศุลกากร การลงทุน และมาตรฐานต่างๆ การท่องเที่ยว การลดความยกจน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งครอบคลุมด้านการเสริมสร้างศักยภาพของภาครัฐ แรงงาน การจ้างงาน และการสนับสนนุการศึกษาระดับสูงขึ้น นอกจานี้ เพือเป็นพัฒนาทางเศรษบกิจของอาเซียนให้เท่าเที่ยมกัน อาเซยนยังให้ความสำคัญในการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม การพัฒนาด้านเอสเอ็มอี ภายใต้แผนงานการจัดตั้งเออีซี มีเป้าหมายสำคัญ คือ
- จัดทำหลักสูตรร่วมกันสำหรับผุ้ประกอลบการในอาเซียน
- การจัดตั้งศูนย์บริการเอสเอ็มอี เพื่อเชื่อมโยงระหว่างภูมิภาคและอนุภูมิภาคของประเทศสมาชิกอาเซียน
- การให้บริการทางการเงินสำหรับธุรกิจเอสเอ็มอีในแต่ละประเทศสมาิก
- การจัดทำโครงการส่งเสริมการฝึกปฏิบัติงานสำหรับเจ้าหน้าที่ในระดับภูมิภาคเพื่อพัฒนาความเชียวชาญของเจ้าหน้าที่
- การจัดตั้งกองทุนเพื่อการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในระดับภูมิภาค เพื่อเป็นแหล่งเงินทุนสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางแฃละขนาดย่อมที่ประกอบธุรกิจใน ภุมิภาคอาเซียน
นอกจากนี้ ยังไดหารือร่วมกับหน่วยงานเอสเอ็มอีของอาเวียนบวกสาม ผประเทศสมาชิกอาเซียนรวมกับจีน ญี่ปุ่่น และเกาหลี) เพื่อแลกเปลียนแนวทางการปฏิบัติและความร่วมมือผ่านโครงการต่างๆ ทั้งนี้ อาเซียนได้ให้การรับรองแผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาเอสเอ็มอีของอาเซียน เมื่อเดือนสิงหาคม 2553 โดยแผนงานดังกล่าวครอบคลุมการดำเนินการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาธุรกิจเอสเอ็มอี เพื่อเพิ่มขีนความสามารถการแข่งขัน เพิ่มความสามารถในการปรับตัวของเอเอ็มอี ในการมุ่งสู่การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดี่ยวในอาเซียนhttps://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1336496884
ปัจจุบันแผนแม่บทว่าด้วยการเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนทั้ง 3 มิติ ทั้งทางกายภาพ การเชื่อมโยงเชิงสถาบันและกฎระเบียบ และการเชื่อมโยงระหว่างประชาชน ยังเป็นเรื่องท้าทายของการรวมตวเป้นประชาคมเดียวของอาเซียน อาเซียนได้รับรองให้มีแผนแม่บทว่าด้วยเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเวียน ขึ้นเมื่อปี 2553 แตปัจจุบันการเชื่อมโยงระหว่างกนในอาเซียนยังล่าช้า โดยเฉพาะการเชื่อมดยงเชิง
สถาบันและกฎระเบียบ
ทั้งนี้กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศของไทย เล็งเห็นความสำคัญของการเชื่อมโยงอาเซียนจึงเป้นเจ้าภาพจัดการประชุมเชิงปฎิบัติการในหัวข้อ "มุ่งลอขช่องว่างในการพัฒนาระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนใหม่ที่ประกอบด้วยกัมพุชา ลาว เมียนาร์ และเวียดนาม หรือ CLMV แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและมุ่งสร้างความรุ้เกี่ยวกับการเชื่อมโยงภุมิภาคในด้านการบริหารจัการข้ามพรมแดน
นายประดาบ พิบูรลสงคราม ผุ้แทนไทยในคณะกรรมการประสานงานการเชื่อมดยงอาเซียน กล่าวว่าการเชือมโยงภุมิภาค เป็นอีกปัจจัยที่สนับสนุนเศรษบกิจและการต้าชายแดน เห็นได้จากตัวเชยการต้าชายแดนของไทยกับเพื่อบ้านที่มีพรมแดนติดกันตามลำดับดังนี้ การต้าชายแดนไทยอินโดนีเซียนคิดเป็น 55% มาเลเซียน 45% เวียดนาม 18% เมียนมาร์ 12% ลาว 7% และกัมพูชา 6% ทั้งนี้ การคมนาคมขนส่งและกฎระเบียบที่มีประสิทธิภาพจะสามารถเพิ่มตัวเลขการต้าได้มากขึ้น
นายประดาบเพ่ิมเติมว่า "แผนแม่บทว่าด้วยการเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนมีท้งหมด 84 โครงการ มุ่งเสริมสร้างรอยต่อระหว่างประเทศให้สมบูรณ์ โดยตามแผนจะต้องเสร็จในอีก 3 ปี ซึ่งอาจไม่เสร็จทั้งหมดก่อนเข้าปี 2558 สิ่งสำคัญที่สุดคือกฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเชื่อมโยงที่ลงนามร่วมกันต้องนำไปปฏิบัติจริง"
ประเทศผุ้เข้าร่วมกมารประชุมกลุ่ม CLMV ต่างเสนอความเห็นเพื่อเร่สงสนับสนุนการเดินหน้าแผนแม่บท ตัวแทนจากประเทศกัมพุชากล่าวถึงปัญหาท้าทายของประเทศ ที่ส่งผลต่อการเชื่อมโยงเชิงสถาบันและกฎระเบียบของอาเซียนว่า กัมพูชายังไม่มีกรอบองกฎระเบียบที่ัดเจนเพียงพอในการส่งเสริ
มระบบโลจิสติกส์ เจ้าหน้าที่และหน่วยงานที่เกี่ยว้องกับโลจิสติกส์ของประเทศต้องพัฒนาด้านข้อมูล และประสานงานกันมากขึ้น ส่วนภาพรวมกฎหมายด้านศุลกากรของประเทศมีโคงสร้างดีแต่ไมได้นำมาอภิปรายหารือกับภาคเอกชน ตัวแทนจากประเทศลาว ชี้ปัญหาท้าทายของประเทศในการพัฒนาสู่การเชื่อมโยงกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคด้านการจัดการข้ามพรมแดนว่า ปัจจุบัน สปป.ลาวต้องการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้ปลี่ยนจากประเทศที่ไม่มีทางออกทะเล ให้เป็จุดเชื่อมต่อภูมิภาค ปัญหาท้าทายของ สปป.ลาว คือโครงสร้างพื้นฐานอยู่จำกัด ทั้งถนนและจุดผ่านแดนต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาการจรจรบริเวณด่านชายแดนตามมา ปัญหาด้านกฎระเบียบเกี่ยวกับการบริหารจัดการข้ามพมแดนที่ยังไม่เป็นมาตฐานเีดยว ปัญหาในด้านระบบเทคโนโลยีที่จะนำมาใช้กับจุดตรวจผ่านแดนต่างๆ โดยขณะนี้ สปป.ลาว ไ้ด้มีการเร่งการดำเนินการเต็มที่ โดยเฉพาะจุดผ่านแดนสาละวันนะเขต-มุกดาหาร ที่จะทำให้สำเร็จในปี 2556
ตัวแทนจากเวียดนาม กล่าวว่า การบริหารจัดการข้ามพรมแดนสำคัญอย่างยิ่ง โดยเห้ฯได้จากมุลค่าการต้าชายแดนของเวียดนาม ปี 2554 ที่มีมูลค่า สองแสนล้านเหรยญสหรัฐ มีจำนวนคนผ่านเข้าเมือง 13 ล้านคน และเวียดนามมีด่านเข้าประเทศระดับนานาชาติจำนวน 46 แห่ง
ทั้งนี้ ประเทศเวียดนามยังไม่มีความคืบหน้ามากนักในทางปฏิบัติ เนื่องจากหลักการปฏิบัติที่เกี่ยวกับการข้ามพรมแดนต้องอาศัยอความร่วมมือในหลายหน่วยงาน ท้งด้านศุลการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านศาธารณสุข เป็นต้น โดยปัญหาท้าทายเวียดนาม คือขนาดของจุดเชื่อมต่อของประทศกับนานาชาติมีขนาดจำกัด เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา เช่น สนามบินนานาชาติที่มีอยู่มากถึง 7 แห่งแต่มีขนาดเล็กทั้งหมด ท่าเรือซึ่งมีขนาดเล็ก เป็นต้น
ปัญหาอีกประการ คืออุปสรรคด้านการบริหารงานที่ยังซ้ำซ้อน ยังไม่มีหน่วยงานหลักที่รับผิดขอบเกี่ยวกับการบริหารจัดการข้ามพรมแดน กระบวนการดำเนินงานยังใช้ระยะวเลานาน และที่สำคัญคือเวียดนามต้องปรับโครงสร้างทางเศรษบกิจด้วยการกระจายการต้าชายแดน พร้อมๆ กับการสนับสนุนให้ข้อตกลงเกี่ยวกับการเชื่อมโยงด้านต่างๆ ของภุมิภาคนำมาใช้จริง
ตัวแทนจากเมียนมาร์ กล่าวถึงปัญหาการพัฒนาประเทศที่ส่งผลต่อการเชื่อมโยงในภุมิภาคว่า เมียนมาร์ยังมีรถไฟอีก 3 สายที่ติดต่อกับเพือนย้าน ซึ่งได้ศึกษความเป็นไปได้แล้ว แต่ยังไม่ได้ก่อสร้าง ได้แก่ เส้นทางรถไฟติดตอ่กับอินเดีย-พม่า ระยะทาง 127.4 กม. เส้นทางพม่า-จีน ระยะทาง 141.8 กม. และพม่า-ไทย ระยะทาง 110 กม.
พร้อมกันนั้น เมียนมาร์ยังต้องการมุ่งพัฒนาทาเรืออีก 2 แห่ง ซึ่งจะเป็นผลดีต่อเศรษฐกจิ และการขนส่งสินค้าของประเทศ และรวมถึงระดับภุมิภาค ท่าเรือทั้ง 2 แห่ง คือท่าเรือน้ำลึกจ้าวผิว หรือจ้าวเปี้ยว และท่าเรือน้ำลึกทวาย เมียนมาร์ยังให้ความสำคัญต่อด้านเทคโนดลยีที่จะนำมาใช้ในการข้ามพรมแดน เพื่อนำมาช่วยอำนวยความสะดวกในการต้าอีกด้วย
ทั้งนี้ กลุ่มประเทศ CLMV ต่างแลกเปลี่ยนในประเด็นการปรับกฎระเบียบในประเทศที่เีก่ยวกับการบริหารจัดการข้ามพรมแดนของคนให้สอดคล้องกับประเทศในภุมิภาค ทั้งยังตระหนักถึงการพัฒนาระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนนุการอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการเคลื่อนย้ายสินค้า โดยเชื่อมโยงระบบข้อมุงแบบบูรณาการระหวางหย่วยงานต่างๆ
ให้ความสำคัยกับ คอมมอน คอนโทรล แอรเลีย ในการใช้พท้นที่ควบคุมร่วมกันในการตรวจด้านศุลการกรครั้งเีด่ยในประเทศขาเข้า เพื่อเร่วให้เกิดผลปฏิบัติจริงต่อทุกประเทศสมาิกทั้ง 6 ประเทศ ได้แก่ ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม เมียนมาร์ และจีน ภายใจ้กรอบความร่ยวมมือนุภุมิภาคลุ่มน้ำโขง ซึ่งจะเป็นพื้นฐานนการเดินหน้าผลักดันการเชื่อมโยงอาเซียนในภาพรวมของประเทสสมาชิกทัง 10 ต่อไป....https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1339832797
วันจันทร์ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2560
Social gap
ช่องว่างทางสังคมในรูปแบบต่างๆ
ตัวแปรสามตัวที่นำปสู่ควมแกตต่างของฐานะของคนในสังคม ประกอบ้ว ทรัพย์ศฤงคาร ฐานะทางสังคม และอำนาจ ทรัพย์ศฤงคารจะสร้างความแตกต่าระหว่างคนรวยและคนจนอย่างเห็นได้ชัด ลองจินตนาการถึงคนซึ่งขับรถยนต์คันละ 13 ล้านบาทบนท้องถนน กับคนซึ่งขายไข่ปิ้งที่ตั้งอยุ่บนบาทวิถี รถยนต์คันละ 13 ล้านบาทนั้นก็คือราคาของคฤหาสน์หลังใหญ่ ซึ่งคนขายไข่ปิ้งใไามีทางที่จะมีโอกาสเป็นเจ้าของ..ช่องว่างระหว่างความรวยและความจนนี้นอกจาจะมีาพรพุถึงคนในสังคมแล้ว ยังมีการกล่างถึงประเทศที่มความแตกต่างกันที่เรียกว่า ความแตกต่างระหว่างผระเทศฝ่ายเหนือและฝ่ายใต้ เหนือหมายถึประเทศที่ร่ำรวยกล่าวเช่นสหรัฐอเมริกา ใต้หมายถึงประเทสที่ยากจนเช่นลาตินอเมริการ อาฟริกาและบางประเทศในเอเชีย หรือประเทศพัฒนาและด้อยพัฒนา หรือกำลังพัฒนา เป้นต้น
ตัวแปรที่สอง คือความแตกต่างเนื่องด้วยสถานะทางสังคม ไม่ว่าดดยกำเนิดหรือโดยใช้หลักคุณะรรมก็ตาม เช่น ในยุคฟิลดัลผุ้ซึ่งเป็นเจ้าครองนครรวมท ั้งเหล่าอัศวินทั้งหลาย ย่อมจะมฐานะเหนือกว่าช่างฝีมือ ชาวนา และพ่อค้า ในกรณีของประเทศไทยนั้นในระบบศักดินา เจ้าพระยา ย่อมมีฐานะสูงกว่าคนะรรมดาสามัญหรือไพร่ นอกจานั้นยังเป็นผุ้ซึ่งมีข้าทาสบรุพารคอยรับใช้และช่วยเหลือในการผลิตในทางเกษตร ที่สำคัญภาษาที่ใช้ก็จะเป็นคนละภาษาบ่งบอกฐานะที่ต่างกันในสังคม
อย่างไรก็ตาม แม้ภายใต้ระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยความแตกต่างของฐานะของคนในสังคมก็ยังคงมีอยุ่ เช่น บุคคลที่เป็นข้าราชการการเมืองดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีตามค่านิยมสังคมมัจะมีฐานทางสังคมดีกว่าคนทั่วไป ถึงแม้จะอาศัยคะแนนของผุ้ซึ่งสนับสนุนตนก็ตาม หรือตัวอย่างที่เห็นชัดอีกตั้วอย่างหนึ่งคื อภายใต้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยทุกคนย่อมเสมอภาคตามกฎหมาย ซึ่งก็ได้ระบุไว้ในมาตรา 30 แห่งรัฐะรรมนูญราชอาณาจักรไทยปี 2540 แต่ถ้มีฐานะทางเศราฐกิจดีกว่าความแตกต่างของสถานะทางสังคมก็จะเกิดขึ้น และเมื่อสถานะทางสังคมแตกต่างกัน ฐานะของคนในสังคมก็จะต่ากับบุคคลอื่นซึ่งมีฐานะทางเสณาฐกิจที่ต่ำกว่าถึงแม้จะม่สิทธิทางการเมืองเท่าเที่ยมกัน
ตัวแปรที่สามคือ อำนาจ อำนาจย่อมจะทำให้เกิดความแตกต่างของฐานะของคนในสังคม บุคคลึ่อยุ่ในตำแหน่งบริหาร เช่น อธิบดี ปลัด กระทรวง รัฐนตรี นายทหารที่มีอำนาจสั่งการ นายตำรวจที่มีอำนาจทางกฎหมายฯลฯ ย่อมจะได้รับการยอมรับจากสังคมต่างจากประชาชนทั่วไป เมื่อเป็นเช่นนี้ฐานะในทางสังคมย่อมจะแตกต่งกับคนอื่นๆ
กล่าวโดยสรุปคือ ทรัพย์ สภานะทางสังคม และอำนาจ จะนำไปสู่ความแตกต่างของฐานะของคนในสังคม
ในปัจจุบน ตัวแปรอีกตัวหนึ่งนอกเนือจากที่กล่าวมาแล้ว และกำลังกลายเป็นตัวแปรที่สำคัญย่ิงที่นำไปสู่ความแตกต่างของคนในสังคม คือ วิทยาการความรู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความรู้ทางวิทยาศาสจตร์เทคโนโลยีสมัยใหม่เช่นสมองกล เป้นต้น หรือจะกล่าวว่า สังคมในยุคโลกาภิวัฒน์เป็นสังคมข่าวสารข้อมุล เป็นสังคมของวิทยาการศัพท์แสงและภาษาที่ใชย่อยครั้งเป็นเรื่องที่ต้องมากราศึกษาและเข้าใจถึงแก่น มิฉะนั้นจะสนทนากันไม่รู้เรื่อง คนในสังคมที่ถูกจัดอยู่ในฐานะต่ำกว่าด้วยตัวแปรสามตัวแรก จะยิ่งย่ำแย่ลงถ้ามีตัวแปรตัวที่สี่เข้ามาเป็นตัวแปรฟลักดันหรือตัวแปรเสริม และในหลายกรณีตัวแปรสามตัวแรกนั้นจะเอื้ออำนวยต่อการเข้าถึงตัวแปรที่สี่ซึ่งได้แก่วิทยาการหรือความรู้ได้ง่ายขึ้น ในขณะเดียวกันบุคคลซึ่งเสียเปรียบเนื่องจากอยู่ในฐานะที่ไม่สามารถเข้าถึงตัวแปรสามตัวแรกก็จะถูกทำให้การเข้าถึงตัวแปรที่สี่ลดน้อยลงไปด้วย บทบาทของรัฐที่จะต้องปิดช่อง่างก็ด้วยการขยายโอากสของการศักาา เพื่อให้วิทยาการซึ่งเป็นตัวแปรที่สี่กระจายไปในขอบเขตที่กว้างขวางให้มากที่สุดเท่ารที่จะกระทำได้
และเมื่อตัวแปรที่สี่เป็นตัวแปรที่คนส่วนใหยเข้าถึงได้แล้วก็ย่อมจะเปิดโอกาสให้เข้าถึงตัวแปรสามตัวแรกได้ ช่องว่างในทางสังคมของคนในประเทศก็จ่าจะแคบลง..http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9480000111056
การลดช่องว่างทางสังคม
สภาพัฒนาการเมือง สถาบันพระปกเกล้า โดย ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์ ประธานสภาพัฒนาการเมือง เสนอแนวทางปฏิรูปประเทศด้านการสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลือมล้ำ ทางเศราฐกิจและสังคม เอาไว้ด้วยกัน 4 แนวทาง เพื่อเสแนให้ คสช. นำไปพิจารณาแก้ปัญหาการดำรงชีวิตของคนไทยต้องอยู่ในสังคมประชาธิปไตยที่มีคุณภาพ มีสิทธิได้รับการับรองโดยกฎหมาย เสมอภาค และยุติธรรม มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ได้แก่
- ปฏิรุปมาตรการต่างๆ เพื่อคุ้รครองและรับอรองสิทธิกลุ่มคนระดับล่างและสิทธิขงอชุมชน ต้องได้รับการรับรอง โดยกฎหมาย โดยสนับสนุนให้ตรา พ.ร.บ. ว่าด้วยสิทะิชุมชนในการจัการที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติ ดดยให้สิทธิชุมชนเข้ามีส่วนร่วมจัดการ
- ขยายมาตการสร้างความเสมอภาคทางเสณาฐกิจและสังคม เพื่อให้คนไม่รู้สึกว่าเสียเปรียบเนื่องจากความแตกต่างฐานะทางเศรบกิจ สังคม คนจนต้องได้รับการสนับสนุนให้มีควมม่นคงในการดำรงชีัวิต โดยเฉพาะการเป็นเจ้าของที่ดิน และเสมอภาคในการเข้าถึงบริการของรัฐที่ีคุรภาพทั้งด้านสุขภาพลแะการศึกษา เช่น การปฏิรูปโครงกสรางและกำหมายที่ดิน โดยจำกัดการถือครองที่ดินรายละไม่เกิน 50 ไร่
- ขยายมาตรการสร้างความเป้นธรรมทางเศรษฐกิจและสังคม ดดยกระจายทรัพยกรจากผุ้ม่งคังสุ่ผุ้ด้อยโอากส และสเรมสร้างมาตรการความเป้ฯธรรม ให้คนไทย ไม่รู้สึกว่าถุกเลือกปฏิบัติ อาทิ การปฏิรูปภาษีปฏิรุปแระกันสังคม จักตั้งกองทุนช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อยปฏินรูประบบพลังงาน
- ขยายมาตการเพื่อให้คนไทยดำรงชีวิตอยู่ในสังคมด้วยความมีศักดิ์ศรีในความเป็นมนุษย์เท่าเที่ยมกัน ทุกฐานะต้องได้รับการเคารพ พร้อมส่งเสริมให้ดำเนินชีิวิตอย่างมีคุณค่าในังคมประชาธิปไตย ต้องปฏิรูประบบแรงงานและสวัสดิการ ปฏิรูปกลไกความเสมอภาคระหว่างเพศ
อันที่จริง ช่องว่งระหว่างคนรวยกับคนจนในสังคมไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน นำมาซึ่งวิกฤติของประเทศทั้งการเมืองเศราฐกิจและสังคม ความเลหือมล้ำทางสังคม ทำให้เกิดความไม่เสมอภาคและประชาชนที่ด้วอยโอกาสถูกรังแก จกลาเป้นความกดดันชนชั้นทางสังคม เพราะฉะนั้น คนจนผุ้ดอ้ยโอากสมีโอกาส ถูกใช้เป็นเครื่องมือทางการเมือง เป็นเรื่องที่ง่ายดายสำหรับประเทศที่อยุ่ในระหว่งกำลังพัฒนา ทั้งเสราฐกิจ การเมือง และสังคม
ปัญหาต้นตอเกิดจา เจ้าหน้าที่รัฐ องค์กร กระบวนการยุติธรรม และการบังคับใชกฎมหายที่ไม่เท่าเที่ยมกันอย่างไรก็ตามการปรับดครงสร้างทางสังคมให้มีสิทธิและเสรภาพเท่าเที่ยมอย่างยังยืนก็เสี่ยงตอการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบบหนึ่งไปสู่ระบบหนึง และสงครามระกว่งชนชั้นที่กลยเป็นสงครามชิงอำนาจทางการเมืองในที่สุด....https://www.thairath.co.th/content/452340
ตัวแปรสามตัวที่นำปสู่ควมแกตต่างของฐานะของคนในสังคม ประกอบ้ว ทรัพย์ศฤงคาร ฐานะทางสังคม และอำนาจ ทรัพย์ศฤงคารจะสร้างความแตกต่าระหว่างคนรวยและคนจนอย่างเห็นได้ชัด ลองจินตนาการถึงคนซึ่งขับรถยนต์คันละ 13 ล้านบาทบนท้องถนน กับคนซึ่งขายไข่ปิ้งที่ตั้งอยุ่บนบาทวิถี รถยนต์คันละ 13 ล้านบาทนั้นก็คือราคาของคฤหาสน์หลังใหญ่ ซึ่งคนขายไข่ปิ้งใไามีทางที่จะมีโอกาสเป็นเจ้าของ..ช่องว่างระหว่างความรวยและความจนนี้นอกจาจะมีาพรพุถึงคนในสังคมแล้ว ยังมีการกล่างถึงประเทศที่มความแตกต่างกันที่เรียกว่า ความแตกต่างระหว่างผระเทศฝ่ายเหนือและฝ่ายใต้ เหนือหมายถึประเทศที่ร่ำรวยกล่าวเช่นสหรัฐอเมริกา ใต้หมายถึงประเทสที่ยากจนเช่นลาตินอเมริการ อาฟริกาและบางประเทศในเอเชีย หรือประเทศพัฒนาและด้อยพัฒนา หรือกำลังพัฒนา เป้นต้น
ตัวแปรที่สอง คือความแตกต่างเนื่องด้วยสถานะทางสังคม ไม่ว่าดดยกำเนิดหรือโดยใช้หลักคุณะรรมก็ตาม เช่น ในยุคฟิลดัลผุ้ซึ่งเป็นเจ้าครองนครรวมท ั้งเหล่าอัศวินทั้งหลาย ย่อมจะมฐานะเหนือกว่าช่างฝีมือ ชาวนา และพ่อค้า ในกรณีของประเทศไทยนั้นในระบบศักดินา เจ้าพระยา ย่อมมีฐานะสูงกว่าคนะรรมดาสามัญหรือไพร่ นอกจานั้นยังเป็นผุ้ซึ่งมีข้าทาสบรุพารคอยรับใช้และช่วยเหลือในการผลิตในทางเกษตร ที่สำคัญภาษาที่ใช้ก็จะเป็นคนละภาษาบ่งบอกฐานะที่ต่างกันในสังคม
อย่างไรก็ตาม แม้ภายใต้ระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยความแตกต่างของฐานะของคนในสังคมก็ยังคงมีอยุ่ เช่น บุคคลที่เป็นข้าราชการการเมืองดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีตามค่านิยมสังคมมัจะมีฐานทางสังคมดีกว่าคนทั่วไป ถึงแม้จะอาศัยคะแนนของผุ้ซึ่งสนับสนุนตนก็ตาม หรือตัวอย่างที่เห็นชัดอีกตั้วอย่างหนึ่งคื อภายใต้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยทุกคนย่อมเสมอภาคตามกฎหมาย ซึ่งก็ได้ระบุไว้ในมาตรา 30 แห่งรัฐะรรมนูญราชอาณาจักรไทยปี 2540 แต่ถ้มีฐานะทางเศราฐกิจดีกว่าความแตกต่างของสถานะทางสังคมก็จะเกิดขึ้น และเมื่อสถานะทางสังคมแตกต่างกัน ฐานะของคนในสังคมก็จะต่ากับบุคคลอื่นซึ่งมีฐานะทางเสณาฐกิจที่ต่ำกว่าถึงแม้จะม่สิทธิทางการเมืองเท่าเที่ยมกัน
ตัวแปรที่สามคือ อำนาจ อำนาจย่อมจะทำให้เกิดความแตกต่างของฐานะของคนในสังคม บุคคลึ่อยุ่ในตำแหน่งบริหาร เช่น อธิบดี ปลัด กระทรวง รัฐนตรี นายทหารที่มีอำนาจสั่งการ นายตำรวจที่มีอำนาจทางกฎหมายฯลฯ ย่อมจะได้รับการยอมรับจากสังคมต่างจากประชาชนทั่วไป เมื่อเป็นเช่นนี้ฐานะในทางสังคมย่อมจะแตกต่งกับคนอื่นๆ
กล่าวโดยสรุปคือ ทรัพย์ สภานะทางสังคม และอำนาจ จะนำไปสู่ความแตกต่างของฐานะของคนในสังคม
ในปัจจุบน ตัวแปรอีกตัวหนึ่งนอกเนือจากที่กล่าวมาแล้ว และกำลังกลายเป็นตัวแปรที่สำคัญย่ิงที่นำไปสู่ความแตกต่างของคนในสังคม คือ วิทยาการความรู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความรู้ทางวิทยาศาสจตร์เทคโนโลยีสมัยใหม่เช่นสมองกล เป้นต้น หรือจะกล่าวว่า สังคมในยุคโลกาภิวัฒน์เป็นสังคมข่าวสารข้อมุล เป็นสังคมของวิทยาการศัพท์แสงและภาษาที่ใชย่อยครั้งเป็นเรื่องที่ต้องมากราศึกษาและเข้าใจถึงแก่น มิฉะนั้นจะสนทนากันไม่รู้เรื่อง คนในสังคมที่ถูกจัดอยู่ในฐานะต่ำกว่าด้วยตัวแปรสามตัวแรก จะยิ่งย่ำแย่ลงถ้ามีตัวแปรตัวที่สี่เข้ามาเป็นตัวแปรฟลักดันหรือตัวแปรเสริม และในหลายกรณีตัวแปรสามตัวแรกนั้นจะเอื้ออำนวยต่อการเข้าถึงตัวแปรที่สี่ซึ่งได้แก่วิทยาการหรือความรู้ได้ง่ายขึ้น ในขณะเดียวกันบุคคลซึ่งเสียเปรียบเนื่องจากอยู่ในฐานะที่ไม่สามารถเข้าถึงตัวแปรสามตัวแรกก็จะถูกทำให้การเข้าถึงตัวแปรที่สี่ลดน้อยลงไปด้วย บทบาทของรัฐที่จะต้องปิดช่อง่างก็ด้วยการขยายโอากสของการศักาา เพื่อให้วิทยาการซึ่งเป็นตัวแปรที่สี่กระจายไปในขอบเขตที่กว้างขวางให้มากที่สุดเท่ารที่จะกระทำได้
และเมื่อตัวแปรที่สี่เป็นตัวแปรที่คนส่วนใหยเข้าถึงได้แล้วก็ย่อมจะเปิดโอกาสให้เข้าถึงตัวแปรสามตัวแรกได้ ช่องว่างในทางสังคมของคนในประเทศก็จ่าจะแคบลง..http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9480000111056
การลดช่องว่างทางสังคม
สภาพัฒนาการเมือง สถาบันพระปกเกล้า โดย ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์ ประธานสภาพัฒนาการเมือง เสนอแนวทางปฏิรูปประเทศด้านการสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลือมล้ำ ทางเศราฐกิจและสังคม เอาไว้ด้วยกัน 4 แนวทาง เพื่อเสแนให้ คสช. นำไปพิจารณาแก้ปัญหาการดำรงชีวิตของคนไทยต้องอยู่ในสังคมประชาธิปไตยที่มีคุณภาพ มีสิทธิได้รับการับรองโดยกฎหมาย เสมอภาค และยุติธรรม มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ได้แก่
- ปฏิรุปมาตรการต่างๆ เพื่อคุ้รครองและรับอรองสิทธิกลุ่มคนระดับล่างและสิทธิขงอชุมชน ต้องได้รับการรับรอง โดยกฎหมาย โดยสนับสนุนให้ตรา พ.ร.บ. ว่าด้วยสิทะิชุมชนในการจัการที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติ ดดยให้สิทธิชุมชนเข้ามีส่วนร่วมจัดการ
- ขยายมาตการสร้างความเสมอภาคทางเสณาฐกิจและสังคม เพื่อให้คนไม่รู้สึกว่าเสียเปรียบเนื่องจากความแตกต่างฐานะทางเศรบกิจ สังคม คนจนต้องได้รับการสนับสนุนให้มีควมม่นคงในการดำรงชีัวิต โดยเฉพาะการเป็นเจ้าของที่ดิน และเสมอภาคในการเข้าถึงบริการของรัฐที่ีคุรภาพทั้งด้านสุขภาพลแะการศึกษา เช่น การปฏิรูปโครงกสรางและกำหมายที่ดิน โดยจำกัดการถือครองที่ดินรายละไม่เกิน 50 ไร่
- ขยายมาตรการสร้างความเป้นธรรมทางเศรษฐกิจและสังคม ดดยกระจายทรัพยกรจากผุ้ม่งคังสุ่ผุ้ด้อยโอากส และสเรมสร้างมาตรการความเป้ฯธรรม ให้คนไทย ไม่รู้สึกว่าถุกเลือกปฏิบัติ อาทิ การปฏิรูปภาษีปฏิรุปแระกันสังคม จักตั้งกองทุนช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อยปฏินรูประบบพลังงาน
- ขยายมาตการเพื่อให้คนไทยดำรงชีวิตอยู่ในสังคมด้วยความมีศักดิ์ศรีในความเป็นมนุษย์เท่าเที่ยมกัน ทุกฐานะต้องได้รับการเคารพ พร้อมส่งเสริมให้ดำเนินชีิวิตอย่างมีคุณค่าในังคมประชาธิปไตย ต้องปฏิรูประบบแรงงานและสวัสดิการ ปฏิรูปกลไกความเสมอภาคระหว่างเพศ
อันที่จริง ช่องว่งระหว่างคนรวยกับคนจนในสังคมไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน นำมาซึ่งวิกฤติของประเทศทั้งการเมืองเศราฐกิจและสังคม ความเลหือมล้ำทางสังคม ทำให้เกิดความไม่เสมอภาคและประชาชนที่ด้วอยโอกาสถูกรังแก จกลาเป้นความกดดันชนชั้นทางสังคม เพราะฉะนั้น คนจนผุ้ดอ้ยโอากสมีโอกาส ถูกใช้เป็นเครื่องมือทางการเมือง เป็นเรื่องที่ง่ายดายสำหรับประเทศที่อยุ่ในระหว่งกำลังพัฒนา ทั้งเสราฐกิจ การเมือง และสังคม
ปัญหาต้นตอเกิดจา เจ้าหน้าที่รัฐ องค์กร กระบวนการยุติธรรม และการบังคับใชกฎมหายที่ไม่เท่าเที่ยมกันอย่างไรก็ตามการปรับดครงสร้างทางสังคมให้มีสิทธิและเสรภาพเท่าเที่ยมอย่างยังยืนก็เสี่ยงตอการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบบหนึ่งไปสู่ระบบหนึง และสงครามระกว่งชนชั้นที่กลยเป็นสงครามชิงอำนาจทางการเมืองในที่สุด....https://www.thairath.co.th/content/452340
วันอาทิตย์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2560
Narrowing the Development Gap
ประชาคมเศรษบกิจอาเซียน กับ ช่องวางจากการพัฒนา
ประชาคมอาเซียน มีรัฐสมาชิก 10 ประเทศ ใน 10 ประเทศนี้ มี 4 ประเทศที่มีฐานะและสภาวะเศราฐกิจด้อยกว่า เล็กกว่า และพัฒนาน้อยกล่าวอี 6 ประเทศ และ 4 ประเทศที่ว่านี้ก็เข้ามาเป็นสมาชิกอาเซียนที่หลักว่าอีก 6 ประเทศ
4 ประเทศที่ว่ด้อยกว่าทางเศรบกิจนี้คือ กัมพุชา, ลาว, เมียนม่าร์, และเวียดนาม อาเซียนมีศัพท์บัญญัติย่อชื่อกลุ่ม 4 ประเทศนี้ว่า CLMV ย่อมมาจากตัวอักษรนำหน้าชื่อสี่ประเทศนั้นเอง เมื่อรู้สถานภาพทางเศราบกิจของตนว่าต้องเร่งกัฒนาเพื่อให้ไล่ทันรัฐสมาชิกประเทศอื่น กลุ่ม CLMV จึงเร่งพัฒนากันเต็มที่ ทำให้อาเซียนมักจะได้ข่าวดีเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจของกลุ่ม CLMV กันบ่อยๆ
ในปี พ.ศ. 2557 สำนักเลขาธิการอาเซียน ณ กรุงจาการ์ตา แถลงข่าวเรื่องการประเมินผลกลางปี ว่าด้วยเรื่องความคืบนหน้าในการปฏิบัติตามแผนการหลอมรวมหรือบูรณาการเศราฐกจิประชาคมอาเซียน ให้ได้ตามแผนงานที่เรียกชื่อเป็นทางการวาไความริเริ่มบูรณาการอาเซียน แผน 2" พอสรุปได้ว่า
20 ปีที่ผ่านมา กลุ่ม CLMV พัฒนาเศรษบกิจของแต่ละประเทศไปไดอย่างดีและรวดเร็ซ..นี่เป้ฯข่าวดีแต่การพัฒนาที่ทำให้เศราฐกิจเติบโตอย่างรวดเร็ซ ทำให้เกิดช่องวางทางเศราฐฏิจระหว่างคนรวยกับคนจ เป็นข่าวไม่ดี แต่ไม่ถึงกับเป็นข่าวร้าย เพราะการพัฒนาในสังคมที่ด้อยพัฒนา หรือในประเทศที่ล้าหลังยากจนทางเศราฐกจิในโลกนี้นั้น ก็มักจะพบปัญหาชองว่างอันเกิดจากการพัฒนาด้วยกันทั้งสิ้น นักเศราฐศ่าสตร์เรียกว่า "ช่องว่างอันเกิดจากการพัฒนา" เพราะในสังคมเศราฐกิจนั้นคนรวยก็พัฒนาเร็ว แถมยังพัฒนาตัวเองและกิจการของตัวเองโดย
การเอารัดเอกเปรยบหรือย่างน้อยก็กดขี่ค่าจ้างแรงงานคนจนอีกด้วย คนรวยก็เลยรวยกันอย่างไม่สามควรจะรวยมากขนาที่ได้รวยนั้น ส่วนบรรดาคนจนนั้นแม้จะมีงานทำดีมากขึ้น มีายได้เพ่ิมมากขึ้น แต่ก็ไม่มากขึ้นในระดับที่ควรได้ แถมถูกเอาเปรียบและถูกกดขี่ค่าจ้างแรงงานจากนายจ้างที่รวยกว่าก็ย่ิงทำให้คนจนจะจนลงไปกว่าเดิมก่อนการพัฒนา หากเปรียบเที่ยบกับคนที่รวยกว่าที่เขารวยมากขึ้นจนเกิดสัดส่วนที่ควรเป็น ถ้าหากระบบเศราฐกิจมีความยุติธรรม
"คนรวย รวยมากขึ้น รวยเร็วขึ้น คนจน รอยขึ้นน้อย รวยขึ้นช้า" นีคือช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจน หรือ "ช่องว่างอันเกิดจากการพัฒนา "นั่นเอง"คนที่อยู่ระหว่างกลาง หรือผุ้มีรายได้ระดับกลาง ที่เรียกกันแบบแบ่งชนชั้นว่า "ชนชั้นกลาง" นั้นมีน้อยเต็มที ในทาง
ทฤษฎี หากการพัฒนาสามารถทำให้เกิดชนชั้นกลางมากๆ มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ทำให้เหลือจำนวนคนจนกับคนรวยน้อยที่สุด สังคมก็จะมีปัญหาน้อยมาก เพราะคนรวยไม่กี่คนก็ปล่อยให้เขารวยไป และย่อยครั้งในสังมทีมีคุธรรม คนรวยก็มักจะบริจากความรวยกลับเข้าสุ่ระบบเศรษฐกิจ ช่วยคนจนต่อไป ทั้งทางตรงและทางอ้อม ส่วนจนที่จนมาากๆ จริงๆ นั้นในเมือมีจำนวนไม่มากนัก รัฐและสังคมก็สามารถช่วยกันดูแลไ้ จด้านนโยบายแบบรัฐสวัสดิการก็ได้ หรือจะโดยนโยบายเชิงประชานิยม แต่ทำแบบมีกรอบจำกัดให้ช่วยเฉพาะประชกรที่จจริงๆ ก็ได้ หากเป็นไดดังนั้ก็จะพอสร้างสังคมที่พลเมืองเป็นสุขทั่วหน้ากันได้
คนรวยมา
กๆ ซึ่งเป็นผุ้เสียภาษีอากรมากกว่าใครๆ ก็จะดิ่มเอิบใจที่รุ้ว่าเงินภาษีอากรของตนได้ถุกนำไปใช้ประโยชน์แก่ประชาชนผุ้อ้อยโอกาสจริงๆ ส่วน "ชนชั้นกลาง" หรือผูมีรายได้ปานกลางนั้นก็จะมีความสุขที่ได้ทำงานและดำเนินชีวิตอย่งขยันหมั่นเพียร จ่ายภาษีอากรเต็มทุกบาททุกสตางค์แล้วรู้ว่าเงินภาษีอาการที่ตนจ่ายไปให้รัฐนั้นจะกลับมาสร้างสังคมมและแก้ปัญหาสังคมอย่างแท้จริง
สำหรับคนจนที่มีอยู่เป็นจำนวนไม่มากนักนั้นก็จะอบอุ่นใจ ได้ว่าสังคมทุกระดับช่วยดุแลอยู่ ความมั่นคงในชีวิตเศรษกิจของคนจน แม้จะไม่ร่ำรวยหรูหรา แต่ก็มั่นคงพอที่จะมีแรงผลักดันควม
ทะเยอทะยานในชีวิตให้ก่อร่างสร้างตัวให้มั่งคั่งและเป็นสุขกว่าเดิมได้
ปัญหาเฉพาะของอาเซียนในเวลานี้้ หากดูแเฉาพะเรื่องเศรษฐกิจ ก็อยุ่ที่ช่องว่างอันเกิดจากการพัฒนาในกลุ่มประเทศ CLMV แต่ก็มิได้หมายความจะไม่มีปัญหาเดียวกันนี้ในประเทศอื่นๆ ที่จริงในประเทศไทย, ฟิลิปปินส์, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย ก็มีปัญหาเช่นดัน โดยเฉพาะประเทศไทยของเรานั้น นับวันก็จะเพิ่มพูนปัญหานี้มากขึ้นเรื่อยๆ
สำนักเลขาธิการอาเซียนแถลงต่อไปว่า ผลการประเมินกลางปีที่พบว่า CLMV มีปัญหาช่องว่างจากการพัฒนามากขึ้นแล้วนั้น จึงวิเคราะห์ต่อว่าปัญหารเศณษบกจิของ CLMV ที่ว่ากำลังตั้งเค้านี้นอกเหนอจะกระทบการบูรณาการประชาคมเศราฐกิจอาเว๊ยนตาม IAI แผน 2 โดยตรงแบ้ว ยังจะไปกระทบกระบวนการ บูรณาการในประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน และกรทบประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนด้วย
ทั้งหมดนี้หมายคึวามว่าปัญหาช่องว่างทางเศราฐกิจ จะนำไปสู่ปัญหาการเมืองและความมั่นคง อีกทั้งจะเป็นปัญหาสังคมและวัฒนธรรมด้วย หากไม่แก้ไขตัดไฟแต่ต้นลมแล้ว ในอนาคตอันไม่ำลกกลุ่มประเทศ CLMV ก็จะมีปัญหาสังคมครบวงจร แล้วก็จะกลายเป้นปัญหาของอาเซียนทั้งประชาคม เพราะอาเซียนต้องการ "บูรณาการระบบเศรษบกิจในภูมิภาคก่อนอื่นใด โดยหวังว่าหากทำสำเร็จก็จะเกิดการบูรณาการในด้านการเมือง ความมั่นคง สังคม วันธรรม ได้ครบถ้วน
ที่ประชุมจากการ์ตายังไมีมีคำตอบอะไรนอกจากจะแสดงความเข้าใจในปญหา แล้วก็เสนอให้คณะทำงานระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส (ระดับปลัดกระทรวงฯ) ไปศึกษาร่วมกันกับฝ่ายออสเตรเลีย ว฿่งจะให้ความช่วยเหลือผ่านองค์กร และจะมีคณะทำงานจากสถาบันแม่โขง มาช่วยงานด้วย งานจากนี้ไปคือการเร่งศึกษาเพื่อปัฐแผนปฏิบัติการที่มีอยู่แล้ว ให้สามารถรับสถานการณ์ได้ทันท่วงที....https://www.dailynews.co.th/article/220636
ประชาคมอาเซียน มีรัฐสมาชิก 10 ประเทศ ใน 10 ประเทศนี้ มี 4 ประเทศที่มีฐานะและสภาวะเศราฐกิจด้อยกว่า เล็กกว่า และพัฒนาน้อยกล่าวอี 6 ประเทศ และ 4 ประเทศที่ว่านี้ก็เข้ามาเป็นสมาชิกอาเซียนที่หลักว่าอีก 6 ประเทศ
4 ประเทศที่ว่ด้อยกว่าทางเศรบกิจนี้คือ กัมพุชา, ลาว, เมียนม่าร์, และเวียดนาม อาเซียนมีศัพท์บัญญัติย่อชื่อกลุ่ม 4 ประเทศนี้ว่า CLMV ย่อมมาจากตัวอักษรนำหน้าชื่อสี่ประเทศนั้นเอง เมื่อรู้สถานภาพทางเศราบกิจของตนว่าต้องเร่งกัฒนาเพื่อให้ไล่ทันรัฐสมาชิกประเทศอื่น กลุ่ม CLMV จึงเร่งพัฒนากันเต็มที่ ทำให้อาเซียนมักจะได้ข่าวดีเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจของกลุ่ม CLMV กันบ่อยๆ
ในปี พ.ศ. 2557 สำนักเลขาธิการอาเซียน ณ กรุงจาการ์ตา แถลงข่าวเรื่องการประเมินผลกลางปี ว่าด้วยเรื่องความคืบนหน้าในการปฏิบัติตามแผนการหลอมรวมหรือบูรณาการเศราฐกจิประชาคมอาเซียน ให้ได้ตามแผนงานที่เรียกชื่อเป็นทางการวาไความริเริ่มบูรณาการอาเซียน แผน 2" พอสรุปได้ว่า
20 ปีที่ผ่านมา กลุ่ม CLMV พัฒนาเศรษบกิจของแต่ละประเทศไปไดอย่างดีและรวดเร็ซ..นี่เป้ฯข่าวดีแต่การพัฒนาที่ทำให้เศราฐกิจเติบโตอย่างรวดเร็ซ ทำให้เกิดช่องวางทางเศราฐฏิจระหว่างคนรวยกับคนจ เป็นข่าวไม่ดี แต่ไม่ถึงกับเป็นข่าวร้าย เพราะการพัฒนาในสังคมที่ด้อยพัฒนา หรือในประเทศที่ล้าหลังยากจนทางเศราฐกจิในโลกนี้นั้น ก็มักจะพบปัญหาชองว่างอันเกิดจากการพัฒนาด้วยกันทั้งสิ้น นักเศราฐศ่าสตร์เรียกว่า "ช่องว่างอันเกิดจากการพัฒนา" เพราะในสังคมเศราฐกิจนั้นคนรวยก็พัฒนาเร็ว แถมยังพัฒนาตัวเองและกิจการของตัวเองโดย
การเอารัดเอกเปรยบหรือย่างน้อยก็กดขี่ค่าจ้างแรงงานคนจนอีกด้วย คนรวยก็เลยรวยกันอย่างไม่สามควรจะรวยมากขนาที่ได้รวยนั้น ส่วนบรรดาคนจนนั้นแม้จะมีงานทำดีมากขึ้น มีายได้เพ่ิมมากขึ้น แต่ก็ไม่มากขึ้นในระดับที่ควรได้ แถมถูกเอาเปรียบและถูกกดขี่ค่าจ้างแรงงานจากนายจ้างที่รวยกว่าก็ย่ิงทำให้คนจนจะจนลงไปกว่าเดิมก่อนการพัฒนา หากเปรียบเที่ยบกับคนที่รวยกว่าที่เขารวยมากขึ้นจนเกิดสัดส่วนที่ควรเป็น ถ้าหากระบบเศราฐกิจมีความยุติธรรม
"คนรวย รวยมากขึ้น รวยเร็วขึ้น คนจน รอยขึ้นน้อย รวยขึ้นช้า" นีคือช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจน หรือ "ช่องว่างอันเกิดจากการพัฒนา "นั่นเอง"คนที่อยู่ระหว่างกลาง หรือผุ้มีรายได้ระดับกลาง ที่เรียกกันแบบแบ่งชนชั้นว่า "ชนชั้นกลาง" นั้นมีน้อยเต็มที ในทาง
ทฤษฎี หากการพัฒนาสามารถทำให้เกิดชนชั้นกลางมากๆ มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ทำให้เหลือจำนวนคนจนกับคนรวยน้อยที่สุด สังคมก็จะมีปัญหาน้อยมาก เพราะคนรวยไม่กี่คนก็ปล่อยให้เขารวยไป และย่อยครั้งในสังมทีมีคุธรรม คนรวยก็มักจะบริจากความรวยกลับเข้าสุ่ระบบเศรษฐกิจ ช่วยคนจนต่อไป ทั้งทางตรงและทางอ้อม ส่วนจนที่จนมาากๆ จริงๆ นั้นในเมือมีจำนวนไม่มากนัก รัฐและสังคมก็สามารถช่วยกันดูแลไ้ จด้านนโยบายแบบรัฐสวัสดิการก็ได้ หรือจะโดยนโยบายเชิงประชานิยม แต่ทำแบบมีกรอบจำกัดให้ช่วยเฉพาะประชกรที่จจริงๆ ก็ได้ หากเป็นไดดังนั้ก็จะพอสร้างสังคมที่พลเมืองเป็นสุขทั่วหน้ากันได้
คนรวยมา
กๆ ซึ่งเป็นผุ้เสียภาษีอากรมากกว่าใครๆ ก็จะดิ่มเอิบใจที่รุ้ว่าเงินภาษีอากรของตนได้ถุกนำไปใช้ประโยชน์แก่ประชาชนผุ้อ้อยโอกาสจริงๆ ส่วน "ชนชั้นกลาง" หรือผูมีรายได้ปานกลางนั้นก็จะมีความสุขที่ได้ทำงานและดำเนินชีวิตอย่งขยันหมั่นเพียร จ่ายภาษีอากรเต็มทุกบาททุกสตางค์แล้วรู้ว่าเงินภาษีอาการที่ตนจ่ายไปให้รัฐนั้นจะกลับมาสร้างสังคมมและแก้ปัญหาสังคมอย่างแท้จริง
สำหรับคนจนที่มีอยู่เป็นจำนวนไม่มากนักนั้นก็จะอบอุ่นใจ ได้ว่าสังคมทุกระดับช่วยดุแลอยู่ ความมั่นคงในชีวิตเศรษกิจของคนจน แม้จะไม่ร่ำรวยหรูหรา แต่ก็มั่นคงพอที่จะมีแรงผลักดันควม
ทะเยอทะยานในชีวิตให้ก่อร่างสร้างตัวให้มั่งคั่งและเป็นสุขกว่าเดิมได้
ปัญหาเฉพาะของอาเซียนในเวลานี้้ หากดูแเฉาพะเรื่องเศรษฐกิจ ก็อยุ่ที่ช่องว่างอันเกิดจากการพัฒนาในกลุ่มประเทศ CLMV แต่ก็มิได้หมายความจะไม่มีปัญหาเดียวกันนี้ในประเทศอื่นๆ ที่จริงในประเทศไทย, ฟิลิปปินส์, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย ก็มีปัญหาเช่นดัน โดยเฉพาะประเทศไทยของเรานั้น นับวันก็จะเพิ่มพูนปัญหานี้มากขึ้นเรื่อยๆ
สำนักเลขาธิการอาเซียนแถลงต่อไปว่า ผลการประเมินกลางปีที่พบว่า CLMV มีปัญหาช่องว่างจากการพัฒนามากขึ้นแล้วนั้น จึงวิเคราะห์ต่อว่าปัญหารเศณษบกจิของ CLMV ที่ว่ากำลังตั้งเค้านี้นอกเหนอจะกระทบการบูรณาการประชาคมเศราฐกิจอาเว๊ยนตาม IAI แผน 2 โดยตรงแบ้ว ยังจะไปกระทบกระบวนการ บูรณาการในประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน และกรทบประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนด้วย
ทั้งหมดนี้หมายคึวามว่าปัญหาช่องว่างทางเศราฐกิจ จะนำไปสู่ปัญหาการเมืองและความมั่นคง อีกทั้งจะเป็นปัญหาสังคมและวัฒนธรรมด้วย หากไม่แก้ไขตัดไฟแต่ต้นลมแล้ว ในอนาคตอันไม่ำลกกลุ่มประเทศ CLMV ก็จะมีปัญหาสังคมครบวงจร แล้วก็จะกลายเป้นปัญหาของอาเซียนทั้งประชาคม เพราะอาเซียนต้องการ "บูรณาการระบบเศรษบกิจในภูมิภาคก่อนอื่นใด โดยหวังว่าหากทำสำเร็จก็จะเกิดการบูรณาการในด้านการเมือง ความมั่นคง สังคม วันธรรม ได้ครบถ้วน
ที่ประชุมจากการ์ตายังไมีมีคำตอบอะไรนอกจากจะแสดงความเข้าใจในปญหา แล้วก็เสนอให้คณะทำงานระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส (ระดับปลัดกระทรวงฯ) ไปศึกษาร่วมกันกับฝ่ายออสเตรเลีย ว฿่งจะให้ความช่วยเหลือผ่านองค์กร และจะมีคณะทำงานจากสถาบันแม่โขง มาช่วยงานด้วย งานจากนี้ไปคือการเร่งศึกษาเพื่อปัฐแผนปฏิบัติการที่มีอยู่แล้ว ให้สามารถรับสถานการณ์ได้ทันท่วงที....https://www.dailynews.co.th/article/220636
วันเสาร์ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2560
Thai Idrntity in History 3
พระบาทสมเด้จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยุ่หัว ระบบราชการเร่ิมพัฒนาไปได้เองเไมือนเครื่องจักรแล้ว แต่พระองค์กลับทรงกตะหนักถึงความไม่มั่นคงแห่งพระราชอำนาจพระองค์ไม่สามารถสานต่อแนวพระราชำริของพระราชบิดาในเรื่องการเสริมสร้างความมั่นคงเกี่ยติยศ และความสามัคคีของข้าราชการภายใต้ความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตรยิ์ พระองค์จึงทรงหาทางเลือกใหม่ที่จะทำให้พระองค์ทรงเป้นองค์อธิปัตย์ที่สามารถนำประเทศไปสู่ความมั่นคงและสิวิไลซ์ได้
ทางเลือกหใม่ของพระองค์มีพื้นฐานอยุ่บนความคิดที่แพร่หลายอยู่ในประเทศในเวลานั้น คือ "ความรักชาติไทย" ทรงเป้นผุ้นำในการให้ความมหายรอืนิยาม "ความเป็นไทย" เพื่อให้เป็น "วิญญาณหรือดวงใจ" ของชาติไทย และทรงทำให้ชาติไทยและควมเป้นไทยกลายเป็นรากฐานของควสามสามัคคีภายใต้การนำของพระมหากษัตริย์ ซึ่งชาติไทยและความเป้นไทยจะมีพลังในแง่ที่สร้างเอกภาพ ภายใได้ด้วยการสร้างภาพให้ปรากฎชัดเจนว่า "ชาติไทย, ความเป้นไทย, คนไทย" เป็นพวกเราและมีคนอื่นทีไม่ใช่พวกเราและไม่มีความรักใคร่ผุกพันตอพวกเรา จะทอดทิ้งเราในยามวิกฤต ทรงเน้นสถาบนให่ คื อ "ชาติไทย" ทรงเน้นความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ในเชิงสัญญลักษณ์มากขั้นดดยเน้นความเป็น "ประมุข" ของพระมหากษัตริย์
"อนึ่งเมื่อสวงนชาติแล้ว ก็จะเป็นต้องสวงนสิ่ง ซึ่งเป็นหลักแห่งชาติคือ พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขนำชาติในการทั้งปวง พระราชาเป็นสง่าแห่งแคว้น.."
พระบาทสมเด้จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงย้อนกลบไปใช้ความคิดในไตรภูมิพระร่วงมาเชื่อมต่อกบความคิดแบบอังกฤษ ซึ่งเน้นสถาบันสำคัญ 3 สถาบันคือ พระผุ้เป็นเจ้า พระมหากษัตริย์ ประเทศชาติ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงนำมาปรับเป็นชาติ (แทนด้วยธงไตรรงค์) ศาสนา (พระพุทธรูป) พระมหากษัตริย์ (พระบรมสาทิสลักษณ์)
สถาบันหลักของไทยคือ ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ดังกล่าว ทรงขยายความคิดเรื่องรัฐสยามของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเพิ่มประเด็นเรืองชาตินิยม ความรักชาติ และเพื่อชาติ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่กัวทรงมีนดยบายปลูกฝังความรู้สึกชาตินิยม ทรงเห้นว่า คนไทยที่แท้จริงต้องมีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ์ ประเทศไทยไม่ได้เป็นเพียงดินแดนทีคนไทยอาศัยอยู่เท่านั้น แต่เป็นชาติไทยที่มีเอกลักาณ์ประจำชาติที่ทำให้ไทยมีความแตกต่างจากชาติอื่น สิงท่แตกต่างกันก็คื ประวัติศสตร์ของชาวไทย องค์ประกอบทางด้านศิลปะ ภาษา วรรณคด และศาสนาของคนไทย รวมทั้งความจงรักภักดีที่มีต่อพระมหากษัตริย์ และความภาคภูมิใจที่เป็นชาติเสรี คนไทยต้องเข้มแข็งและสามัคคีกัน ช่วยกัน รักษาความดีงามของวันธรรมไทยและฃความเป็นชาติไทยเอาวไว้ให้มั่นคงสืบไป...โดยสรุปแล้ว อัตลักาณ์ไทยในแนวพระราชดำริพระบาทาสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวทรงเน้น "ความเป็นไทย" ที่ศิวิไลท์ กล่าวคือ ความเป็นไทย แม้จะมีลักษณะเฉฑาะ แต่ลักษณะเฉพาะนั้นก็มี "วิญญาณ" หรือ "ภูมิธรรม" ที่เป็นสากลเหมือนกับวิญญาณ หรือ ภูมิธรรมของประเทศยุโรปอยู่แล้ว นอกจากภูมิธรรมของไยจะมีสวนเป้นสากลแล้ว ยังมีส่วนที่เหนือกว่ "ภูมิธรรม" ของชาติอื่่น เช่น "พุทธศาสนา" ซึ่งเ้นของไทย เป็นต้น
ภูมิธรรมของชาติที่พระงค์เน้นคือ ความซื่อสัตย์ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ความสามัคคี ความกล้าหาญ ความเพียรในการทำคุณประโยชน์เพื่อชาติ และพระมหากษัตรยิ์ การรักษาเกี่ยรติยศของชาติ ความซอตรงต่อหน้าที และซื่อตรงต่อคนทั่วไป ที่สำคัญที่สุดคือ "ความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์"
อัตลักษณ์ไทยในทรรศนะของสมเด้จฯ กรมพรยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานะภาพทรงมองอตลักษณ์ไทย (สยาม) แตกต่างจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยุ่หัว ทรงมองว่าไทย (สยาม) มีอัตลักษณ์ 3 ประการ คือ ความรักอิสระในแง่ขชาติ สังคม และปัจเจกชน ความปราศจากวิหิงสา กล่าวคือ ถ้าเลือกได้ชาวสยามจะเลือการตกลงแบบสันติวิธี และชาวสยามมีความสามารถในการประสานประโยชน์ หรือ การประนีประนอม รู้จักคัดเลือกส่วนดีจากแหล่งต่างๆ ม่เปลี่ยนให้เป็นไทย
สมเด็๗ฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงกล่าวถึงคุณธรรม 3 อย่างของชนชาติไทย ซึ่งเป็นอุปนิสัยประจำชาติว่า "ที่ชนชาติไทยสามารถปกครองประเทศสยามมาได้ช้านาน ถ้าจะนับเวลาเกือบถึง 700 ปี เข้าบัดนี้ จำต้องอาศัยคุณธรรมอย่างอื่นอนมีอยุ่ในอุปนิสัยของชนชาติไทยด้วย ข้าพเจ้าพิจารณาดูตามหลักฐานที่ปรากฎในพงศาวดาร เห็นว่า ชนชาติ
ไทยมีคุณธรรม 3 อย่างที่สำคัญจึงสามารถปกครองประเทศสยามมาได้คือ ควาจงรักอิสระของชาติอย่างหนึ่ง ความปราศจากวิหิงสาอย่างหนึ่ง ความฉลาดในการประสานประโยชน์อย่างหนึ่ง.." และทรงพยายามทำให้คนทั่วไปแระจักษ์ด้วยว่า พระมหากษัตริย์ไทยในสมยรัตนดกสินทร์ทรงเป้นผุ้นำแห่งคุณธรรมทั้งสามประการ...และทรงพยายามสร้างอัตลักษณ์ของชนชั้นต่างๆ ในประเทศ เช่น อัตลักษณ์ เจ้า อัตลักษณ์ข้าราชการ อัตลักาณราษฎร อัตลักาณ์พระสงห์ อัตลักษณ์ผุ้หญิง และอัตลักษณ์พ่อค้าและชาวจีน ฯลฯ เพื่อให้คนแต่ละชนชั้นรู้ไดอ้ย่างชัดเจนว่าตนเป็นใคร มีสถานภาพและหน้าที่อย่างไรในประเทศไทยด้วย
ผลงานทังหมดของสมเด้จฯ กรมพระยาดำรงราชานุำภาพคือ การสร้างจิตสำนึกใหม่เกี่ยวกับอัตลักษณ์ไทยโดยผ่านการปฏิรูประบบบริหารการศึกษา งานวิจย การสร้างพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ และห้องสมุด ท้ายที่สุดคือ การสร้างราชบัณฑิตยสถานเลียนแบบ เพื่อกำหนดภาษาแห่งชาติ วรรณคดี และเพื่อรักษาศิลปะดั้งเดิม โบราณสถาน และสมบัติแห่งชาติ
ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เน้นอัตลักษณ์ไทยที่เป็น "ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์" ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมชเน้นว่ "ชาติไทย" ดีกว่าชาติอื่น เพราะมี "ความเป็นไทย" อันมีคุณค่าหลายอย่าง ได้แก่ พระมหากษัตรยิืทไยที่ควรต่าแก่การเคารพบูชา ภาษาไทยที่เป้นภาษาของชนชาติไทยแต่โบราร ศิลปะไทย และขนบธรรมเนียมประเพณีต่าง ๆเป็นต้น ซึ่ง "ความเป็นไทย" เหล่านี้เป็นส่ิงที่ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช นำมาเน้นในโอกาสต่างๆ และอธิบายให้เห็นความหมายหรือความสำคัญอยู่เสมอ
ในวันที่สิ้นสุดระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของไทยการศึกษาแบบตะวันตกส่วนใหญ่เป็นภัยมากกว่าเป็นคุณต่ออัตลักษณ์ไทย (สยาม) มร.สก๊อต ที่ปรึกษาราชการชาวต่างประเทศ (อังกฤษ) กล่าวว่า ข้อผิดพลาดข้อสำคัญที่สุดของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวคือ การส่งชาวสยามไปศึกษาต่อต่างประเทศตั้งแต่อายุยังน้อย เมื่อบุคคลเหล่านี้กลับมาเป้นผุ้นำก็จะเป็นผุ้นำที่ไม่เข้าใจอัตลักษณ์ไทย (สยาม) จึงเป็นผลเสียต่อประเทศมากกว่าผลดี
อัตลักษณ์ไทยในทรรศนะของชาวต่างประเทศ
หลวงวิจิตรวาทการ กำหนดว่า อัตลักษณ์ไทย หมายถึง ความเป็นไทยทางวัฒนธรรม ท่า
พยายามสร้างอัตลักษณ์ไทยเพื่อตอบสนองต่อปัญหาของชาติตามที่มองเห็นแลเพื่อบรรลุอุดมคติของชาติไทยตามที่ท่านใฝ่ฝัน ท่านกล่าวถึงอัตลักษณ์ไทย่า ถ้าคนเราเปลี่ยนนิสัย หรือ เปลี่ยนความเคยชินในการดำเนินชีวิต ไปหลายชั่วคนก็จะเป็นลักษณะที่กลอมเข้าไป "อยู่ในเลือดและเปลี่ยนแปลไม่ได้ทีเดียว" คือ กลายเป้นลักษณะประจำชาติ หลวงวิจิตรวาทการเน้นอัตลักษณ์ไทย่า "เป็นของดีของชาติ" และ "นิสัย" ของดีของชาติ หมายความว่า สิ่งที่ทำให้ชาติไทยมีเกี่ยรติมากขั้น และได้รับความนับถือจากต่างชาติมากขึ้น
เช่น ประวัติศาสตร์ไทย โบราณคดีไทย อักษรศาสตร์ไทย ศิปละของชาติไทย และจารีตประเพณีไทย เป็นต้น ที่เป็นเครื่องเชิดชูเกียรติของชขาติ ส่วนการเน้น "นิสัย" หรือ "จิตใจ" หรือ "ศีลธรรม" ของคนไทยกลายเป็นปัจจัยแห่งความแข็งแรงมั่นคงของชาติไทย นอกจากนี้ หลวงวิจิตรวาทการสร้าง "ความเป็นไทย"โดยเน้น "มติมหาชน" เพื่อทำให้ "ชาติไทย" เจริญก้าวหน้าและ "คนไทย" มีความภาคภุมิใจในชาติของตน และเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง อัตลักษณ์ที่รัฐบาลไทยเน้นคือ "ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์" เพื่อต่อต้านคอมมิวนิสต์
สรุป.. อัตลักษณ์ไทยที่ชนชั้นผุ้ปกครองในสมััยนั้นพยายามสร้างให้เกิดขึ้นมีทั้งอัตลักษณ์ของชาติ อัตลักษณ์ รัฐสยามเป็นรัฐที่รักสงบเป้นมิตรกับนานาประเทศปราศจากวิหิงสา อัตลักษณ์ของพระมหากษัตรยิืเป็นพระมหากษัตริย์ของประชาชน (ราษฎร) ทรงอุทิศตนเพื่อประโยชน์สุขของราษฎร ตั้งอยุ่ในทศพิธราชธรรม (ทรงเป้นธรรมราชา) อัตลักษณ์ของข้าราชการคือ จงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ รักเกียรติ อุทิศตนเพื่อประเทศชาติ อัตลักษณ์ของปัจเจกชน (คนทั่วไป) รักอิสรภาพเป็นมิตรกับคนต่างชาติ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตรย์ ประพฤติตนตามหลักธรรมของศาสนาพุทธ...
- วิทยานิพนธ์ "อัตลักษณ์ไทยที่ปรากฎในนโยบายต่างประเทศยุคปรับปรุงประเทศตามแบบตะวันตก" โดย Lee Joeng yoon, ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต มหวิทยาลัยบูรพา บทที่ 2,หน้า 11-17, 2552.
ทางเลือกหใม่ของพระองค์มีพื้นฐานอยุ่บนความคิดที่แพร่หลายอยู่ในประเทศในเวลานั้น คือ "ความรักชาติไทย" ทรงเป้นผุ้นำในการให้ความมหายรอืนิยาม "ความเป็นไทย" เพื่อให้เป็น "วิญญาณหรือดวงใจ" ของชาติไทย และทรงทำให้ชาติไทยและควมเป้นไทยกลายเป็นรากฐานของควสามสามัคคีภายใต้การนำของพระมหากษัตริย์ ซึ่งชาติไทยและความเป้นไทยจะมีพลังในแง่ที่สร้างเอกภาพ ภายใได้ด้วยการสร้างภาพให้ปรากฎชัดเจนว่า "ชาติไทย, ความเป้นไทย, คนไทย" เป็นพวกเราและมีคนอื่นทีไม่ใช่พวกเราและไม่มีความรักใคร่ผุกพันตอพวกเรา จะทอดทิ้งเราในยามวิกฤต ทรงเน้นสถาบนให่ คื อ "ชาติไทย" ทรงเน้นความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ในเชิงสัญญลักษณ์มากขั้นดดยเน้นความเป็น "ประมุข" ของพระมหากษัตริย์
"อนึ่งเมื่อสวงนชาติแล้ว ก็จะเป็นต้องสวงนสิ่ง ซึ่งเป็นหลักแห่งชาติคือ พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขนำชาติในการทั้งปวง พระราชาเป็นสง่าแห่งแคว้น.."
พระบาทสมเด้จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงย้อนกลบไปใช้ความคิดในไตรภูมิพระร่วงมาเชื่อมต่อกบความคิดแบบอังกฤษ ซึ่งเน้นสถาบันสำคัญ 3 สถาบันคือ พระผุ้เป็นเจ้า พระมหากษัตริย์ ประเทศชาติ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงนำมาปรับเป็นชาติ (แทนด้วยธงไตรรงค์) ศาสนา (พระพุทธรูป) พระมหากษัตริย์ (พระบรมสาทิสลักษณ์)
สถาบันหลักของไทยคือ ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ดังกล่าว ทรงขยายความคิดเรื่องรัฐสยามของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเพิ่มประเด็นเรืองชาตินิยม ความรักชาติ และเพื่อชาติ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่กัวทรงมีนดยบายปลูกฝังความรู้สึกชาตินิยม ทรงเห้นว่า คนไทยที่แท้จริงต้องมีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ์ ประเทศไทยไม่ได้เป็นเพียงดินแดนทีคนไทยอาศัยอยู่เท่านั้น แต่เป็นชาติไทยที่มีเอกลักาณ์ประจำชาติที่ทำให้ไทยมีความแตกต่างจากชาติอื่น สิงท่แตกต่างกันก็คื ประวัติศสตร์ของชาวไทย องค์ประกอบทางด้านศิลปะ ภาษา วรรณคด และศาสนาของคนไทย รวมทั้งความจงรักภักดีที่มีต่อพระมหากษัตริย์ และความภาคภูมิใจที่เป็นชาติเสรี คนไทยต้องเข้มแข็งและสามัคคีกัน ช่วยกัน รักษาความดีงามของวันธรรมไทยและฃความเป็นชาติไทยเอาวไว้ให้มั่นคงสืบไป...โดยสรุปแล้ว อัตลักาณ์ไทยในแนวพระราชดำริพระบาทาสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวทรงเน้น "ความเป็นไทย" ที่ศิวิไลท์ กล่าวคือ ความเป็นไทย แม้จะมีลักษณะเฉฑาะ แต่ลักษณะเฉพาะนั้นก็มี "วิญญาณ" หรือ "ภูมิธรรม" ที่เป็นสากลเหมือนกับวิญญาณ หรือ ภูมิธรรมของประเทศยุโรปอยู่แล้ว นอกจากภูมิธรรมของไยจะมีสวนเป้นสากลแล้ว ยังมีส่วนที่เหนือกว่ "ภูมิธรรม" ของชาติอื่่น เช่น "พุทธศาสนา" ซึ่งเ้นของไทย เป็นต้น
ภูมิธรรมของชาติที่พระงค์เน้นคือ ความซื่อสัตย์ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ความสามัคคี ความกล้าหาญ ความเพียรในการทำคุณประโยชน์เพื่อชาติ และพระมหากษัตรยิ์ การรักษาเกี่ยรติยศของชาติ ความซอตรงต่อหน้าที และซื่อตรงต่อคนทั่วไป ที่สำคัญที่สุดคือ "ความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์"
อัตลักษณ์ไทยในทรรศนะของสมเด้จฯ กรมพรยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานะภาพทรงมองอตลักษณ์ไทย (สยาม) แตกต่างจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยุ่หัว ทรงมองว่าไทย (สยาม) มีอัตลักษณ์ 3 ประการ คือ ความรักอิสระในแง่ขชาติ สังคม และปัจเจกชน ความปราศจากวิหิงสา กล่าวคือ ถ้าเลือกได้ชาวสยามจะเลือการตกลงแบบสันติวิธี และชาวสยามมีความสามารถในการประสานประโยชน์ หรือ การประนีประนอม รู้จักคัดเลือกส่วนดีจากแหล่งต่างๆ ม่เปลี่ยนให้เป็นไทย
สมเด็๗ฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงกล่าวถึงคุณธรรม 3 อย่างของชนชาติไทย ซึ่งเป็นอุปนิสัยประจำชาติว่า "ที่ชนชาติไทยสามารถปกครองประเทศสยามมาได้ช้านาน ถ้าจะนับเวลาเกือบถึง 700 ปี เข้าบัดนี้ จำต้องอาศัยคุณธรรมอย่างอื่นอนมีอยุ่ในอุปนิสัยของชนชาติไทยด้วย ข้าพเจ้าพิจารณาดูตามหลักฐานที่ปรากฎในพงศาวดาร เห็นว่า ชนชาติ
ไทยมีคุณธรรม 3 อย่างที่สำคัญจึงสามารถปกครองประเทศสยามมาได้คือ ควาจงรักอิสระของชาติอย่างหนึ่ง ความปราศจากวิหิงสาอย่างหนึ่ง ความฉลาดในการประสานประโยชน์อย่างหนึ่ง.." และทรงพยายามทำให้คนทั่วไปแระจักษ์ด้วยว่า พระมหากษัตริย์ไทยในสมยรัตนดกสินทร์ทรงเป้นผุ้นำแห่งคุณธรรมทั้งสามประการ...และทรงพยายามสร้างอัตลักษณ์ของชนชั้นต่างๆ ในประเทศ เช่น อัตลักษณ์ เจ้า อัตลักษณ์ข้าราชการ อัตลักาณราษฎร อัตลักาณ์พระสงห์ อัตลักษณ์ผุ้หญิง และอัตลักษณ์พ่อค้าและชาวจีน ฯลฯ เพื่อให้คนแต่ละชนชั้นรู้ไดอ้ย่างชัดเจนว่าตนเป็นใคร มีสถานภาพและหน้าที่อย่างไรในประเทศไทยด้วย
ผลงานทังหมดของสมเด้จฯ กรมพระยาดำรงราชานุำภาพคือ การสร้างจิตสำนึกใหม่เกี่ยวกับอัตลักษณ์ไทยโดยผ่านการปฏิรูประบบบริหารการศึกษา งานวิจย การสร้างพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ และห้องสมุด ท้ายที่สุดคือ การสร้างราชบัณฑิตยสถานเลียนแบบ เพื่อกำหนดภาษาแห่งชาติ วรรณคดี และเพื่อรักษาศิลปะดั้งเดิม โบราณสถาน และสมบัติแห่งชาติ
ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เน้นอัตลักษณ์ไทยที่เป็น "ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์" ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมชเน้นว่ "ชาติไทย" ดีกว่าชาติอื่น เพราะมี "ความเป็นไทย" อันมีคุณค่าหลายอย่าง ได้แก่ พระมหากษัตรยิืทไยที่ควรต่าแก่การเคารพบูชา ภาษาไทยที่เป้นภาษาของชนชาติไทยแต่โบราร ศิลปะไทย และขนบธรรมเนียมประเพณีต่าง ๆเป็นต้น ซึ่ง "ความเป็นไทย" เหล่านี้เป็นส่ิงที่ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช นำมาเน้นในโอกาสต่างๆ และอธิบายให้เห็นความหมายหรือความสำคัญอยู่เสมอ
ในวันที่สิ้นสุดระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของไทยการศึกษาแบบตะวันตกส่วนใหญ่เป็นภัยมากกว่าเป็นคุณต่ออัตลักษณ์ไทย (สยาม) มร.สก๊อต ที่ปรึกษาราชการชาวต่างประเทศ (อังกฤษ) กล่าวว่า ข้อผิดพลาดข้อสำคัญที่สุดของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวคือ การส่งชาวสยามไปศึกษาต่อต่างประเทศตั้งแต่อายุยังน้อย เมื่อบุคคลเหล่านี้กลับมาเป้นผุ้นำก็จะเป็นผุ้นำที่ไม่เข้าใจอัตลักษณ์ไทย (สยาม) จึงเป็นผลเสียต่อประเทศมากกว่าผลดี
อัตลักษณ์ไทยในทรรศนะของชาวต่างประเทศ
หลวงวิจิตรวาทการ กำหนดว่า อัตลักษณ์ไทย หมายถึง ความเป็นไทยทางวัฒนธรรม ท่า
พยายามสร้างอัตลักษณ์ไทยเพื่อตอบสนองต่อปัญหาของชาติตามที่มองเห็นแลเพื่อบรรลุอุดมคติของชาติไทยตามที่ท่านใฝ่ฝัน ท่านกล่าวถึงอัตลักษณ์ไทย่า ถ้าคนเราเปลี่ยนนิสัย หรือ เปลี่ยนความเคยชินในการดำเนินชีวิต ไปหลายชั่วคนก็จะเป็นลักษณะที่กลอมเข้าไป "อยู่ในเลือดและเปลี่ยนแปลไม่ได้ทีเดียว" คือ กลายเป้นลักษณะประจำชาติ หลวงวิจิตรวาทการเน้นอัตลักษณ์ไทย่า "เป็นของดีของชาติ" และ "นิสัย" ของดีของชาติ หมายความว่า สิ่งที่ทำให้ชาติไทยมีเกี่ยรติมากขั้น และได้รับความนับถือจากต่างชาติมากขึ้น
เช่น ประวัติศาสตร์ไทย โบราณคดีไทย อักษรศาสตร์ไทย ศิปละของชาติไทย และจารีตประเพณีไทย เป็นต้น ที่เป็นเครื่องเชิดชูเกียรติของชขาติ ส่วนการเน้น "นิสัย" หรือ "จิตใจ" หรือ "ศีลธรรม" ของคนไทยกลายเป็นปัจจัยแห่งความแข็งแรงมั่นคงของชาติไทย นอกจากนี้ หลวงวิจิตรวาทการสร้าง "ความเป็นไทย"โดยเน้น "มติมหาชน" เพื่อทำให้ "ชาติไทย" เจริญก้าวหน้าและ "คนไทย" มีความภาคภุมิใจในชาติของตน และเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง อัตลักษณ์ที่รัฐบาลไทยเน้นคือ "ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์" เพื่อต่อต้านคอมมิวนิสต์
สรุป.. อัตลักษณ์ไทยที่ชนชั้นผุ้ปกครองในสมััยนั้นพยายามสร้างให้เกิดขึ้นมีทั้งอัตลักษณ์ของชาติ อัตลักษณ์ รัฐสยามเป็นรัฐที่รักสงบเป้นมิตรกับนานาประเทศปราศจากวิหิงสา อัตลักษณ์ของพระมหากษัตรยิืเป็นพระมหากษัตริย์ของประชาชน (ราษฎร) ทรงอุทิศตนเพื่อประโยชน์สุขของราษฎร ตั้งอยุ่ในทศพิธราชธรรม (ทรงเป้นธรรมราชา) อัตลักษณ์ของข้าราชการคือ จงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ รักเกียรติ อุทิศตนเพื่อประเทศชาติ อัตลักษณ์ของปัจเจกชน (คนทั่วไป) รักอิสรภาพเป็นมิตรกับคนต่างชาติ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตรย์ ประพฤติตนตามหลักธรรมของศาสนาพุทธ...
- วิทยานิพนธ์ "อัตลักษณ์ไทยที่ปรากฎในนโยบายต่างประเทศยุคปรับปรุงประเทศตามแบบตะวันตก" โดย Lee Joeng yoon, ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต มหวิทยาลัยบูรพา บทที่ 2,หน้า 11-17, 2552.
วันศุกร์ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2560
Thai Idrntity in History 2
ในประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่มีผุ้ที่สร้างอัตลักษณ์ไทยมาแล้วดังต่อไปนี้
อัตลักษณ์ไทยที่พะบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวทรงใช้ในการปกครองบ้านเมือง
สายชล สัตยานุรักษณ์ ได้เสนอว่าในการปกครองบ้านเมืองไทย (สยาม) พระบาทสมเด็นพระจอมเหล้าเจ้าอยุ่หัวทรงใช้อัตลักษณ์ไทยที่สำคัญอยู่ 4 ลักษณะคือ
- การยอมโอนอ่อผ่อนปรม (ตามความต้องการของจักรวรรดินิยมตะวัรตก เพื่อรักาาเอกราชทาด้านการเมือง ศาสนา และวัฒนธรรม)
- ทรงใช้อัตลักษณ์ที่พ่อขุรรามคำแหงทรงจาตึกไว้ในศิลาจารึกหลักที่ 1 มาสร้างใหม่ในด้านความรักในอิสรภาพ เสรีภาพ ภราดรภาพ และสมภาพ (อัตลักษณในไตรภูมิภูกละเลยไป)
- อัตลักษณ์ของผุ้ปกครองตามแบบ "ธรรมราช" คือ ราชาหรือพระเจ้าแผ่นดินท่ช้หลักทศพิธราชธรรมในกรครองตนมี 10 ประการ ได้แก่ ทาน, ศีล, บริจาค, อาชชวะ(ความซื่อตรง), มัททวะ(ความอ่อนโยน, ตบะ, อักโกธะ, อวิหิงสา(ความไม่เบียดเบียน, ขันติ และอวิโรธะ(ความไมคลาดจากธรรม) และใช้หลักจักรวรรดิวัตรในการปกครองประเทศ
แต่หลังจากรับอารยธรรมตะวันตกหลายด้าน ทำให้เสียอัตลักษณ์เดมบางด้านเปลี่ยนไป เช่น อัตลักาณ์ในด้านการแต่งกาย สถาปัตยกรรม และโดยเฉพาะนด้านการศึกษาโดยนำระบบการศึกษา และอค์ความรู้แบบตะวันตกมาเป้นแบบอย่าง เป็นต้น
อัตลักษณ์ไทยที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเหล้าเจ้าอยู่หัวทรงใช้ในการปกครองประเทศ
สายชล สัตยานุรักษ์ ได้เสอว่า พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวเป้ฯพระมหากษัตริย์พระองค์แรกที่ทรงประสบความสำเร็จในการสร้างพระราชอำนาจสูงสุดและเด็ดขาดทั่วพระราชอาณาจักร เพราะสร้างสัญลักษณ์ที่ทำให้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นศุนย์กลางของรัฐ พระองค์ทรงเน้นความสำคัญของอัตลักษณ์พระมหากษัตริย์ และอัตลักษณ์ข้าราชการเป็นพิเศษ พระองค์ทรงเน้นสถานะของพระมหากษัตริย์ ซึ่งมีพระราชอำนาจเด็ดขาดสูงสุดเหนือ "สยามเหนือ สยามไใต้ สยามกลาง..ลาวประเทศ ..มลายูประเทศ "ดังเห็นได้ชัดจากสัญลักษณ์บนผืนธง "บรมราชธวัชมหาสยามมินทร์ "ตามพระราชบัญญัติว่า ด้วยแบบอย่างธงสยาม ร.ศ.110 (พ.ศ.2434 และทรงเน้นอัตลักษณ์ของข้าราชการในฐานะผุ้มีเกี่ยรติยศอันเกิดจากพระมหากรุณาธิคุณ ซึ่งจะต้องปฏิบัติราชการอันเป้นหน้าที่ของตนด้วยความจงรักภักดี
เสถียร ลายลักษณ์ และคณะ ได้กล่าวว่า พระบาทมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวทรงพิจารณาเห็นควรมสำคัญขอการที่จะต้องมีระบบราชการและมีข้ราชการเป็นกลไกสำคัญของพระองค์ในการขยายอำาจในการปกครองและการจัดการทรัพยากรทำให้มีปัญหาว่า จะทำอย่างไรให้ระบบราชการและข้าราชการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพของระบบราชการขึ้นอยู่กับตัวบุคคลเป็นอย่งมา จึงต้องทรงสร้างข้าราชการที่ปฏิบัติหนาที่ด้วยความซื่อสัตย์ และจงรักภักดี วิธีสร้างข้าราชการที่มีอัตลักาณ์ดังกล่าว พระองค์ทรงกระทำด้วยการสร้างเกี่ยรติยศและอภิสิทธิ์แก่ข้าราชการ เช่น ทรงตราพระราชบัญญัติ ปกครอง ท้องถิ่น ข้าราชการกำหนดเครื่องแบบข้าราชการเน้นสถานะลดหลั่นของข้าราชการให้เด่นชัด พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์เพื่อเป็นเกี่ยรติ์แก่ข้าราชการ เป็นต้น
อัตลักษณ์ชองข้าราชการไทย
สมเด็จฯ กรมพระนริศรานุวัติวงศ์ และสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้ให้ความหมายอัตลักษณ์ของข้าราชการไทย ในทรรศนะของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวว่ ข้าราชการเป้นกลุ่มบุคคลที่มีเกี่ยติ มีสถานภาพสูงกว่าคนทั่วไปในฐานะข้าทูลละอองธุลีพระบาท ข้าราชการถูกเน้นให้มีหน้าที่ปกิบัติราชการด้วยความซื่อสัตย์ และจงรักภักดี การทำหน้าที่เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ข้าราชการมีเกี่ยรติยศ ข้าราชการทหารถูกสร้างให้ภาคภูมิใจในการทำหน้าที่เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ข้ารชการมีเกี่ยรติยศ ข้าราชการทหารถูกร้างให้ภาคภุมิใจในการทำหน้าที่อย่างสูง เพราะมหน้าที่ป้องกันรักษอิสรภาพของ้านเกิดเมืองนอน
อัตลักษณ์ของพระมหากษัตริย์
เสถียร ลายลักาณ์ และคณะ ไ้ศึกษาเรื่องอัตลักษณ์ของพระมหากัตริย์ว่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวทรงพยายามสร้างให้พระมหากษัตรยิืมีความสำคัญสูงสุด ทรงเสริมสร้างพระราชอำนาจและพระเกียรติยศของพระมหากษัริย์ทั้งใน ความสัพันธ์กับข้าราชการและราษฎร ทรงทำให้เวลาในรอบนหึ่งปีเคลื่อนไปโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นศูนย์กลางเพ่ิมวัดสำคัญใหม่ๆ ที่เกี่ยวของกับพระเกี่ยรติยศ และความจงรักภักดต่อพระมหากษัตริย์ เช่น "วันเฉลิมพระชนม์พรรษา" "วันถวายบังคมพระบรมรูปฯฐ เป็นต้น
ภาพของพระมหากษัตรยิ์ในฐานะประมุขของประเทศทรงปกครองด้วยความเมตตา กรุณา และยุติธรรมโดยมีข้าราชการท่จงรักภักดี และมีความสามัคคีั่น ทำหน้าที่เป็นผุ้สนอง พระบรมราชโองการ
ในด้านการยุติธรรม และความเป็นธรรมนั้น เสถียร ลายลักาณ์ และคณะ ได้กล่าวว่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวทรงเน้นภาพลักษณ์ของพระมหากษัตริย์ที่จรรโลงความยุติธรรมเป็นอย่งมาก ทรงทำให้เป็นปรากฎว่า นอกจากพระองค์จะทรงยึดหลัก ความยุติธรรม และความเป็นธรรมด้วยพระองค์เองแล้ว ยงทรงเน้นให้ข้าราชการ ซึ่งเป็นข้าทู๔ลละอองธุลีพระบาทผุ้ปฏิบัติราชกิจต้องยึดถือย่างเคร่งครัด
สายชล สัตยานุรักษณื ได้เสนอเกี่ยวกับอัตลักาณ์ของพระบาทสามาเด้๗พระจุลจอมเหล้าเจ้าอยุ่หัวว่ ทรงเน้นการแก่ปัญหาและการแรับปรุงประเทศให้เจริญก้าวหน้าโดบใช้อำนาจรัฐทำให้กลไกอำนาจรัฐคือ ข้าราชการเป็นเงื่อนไขสำคัญของความสำเร็จ หรือ ความล้มเหลว
- บางส่วนจาก วิทยานิพนธ์ "อัตลักษณ์ไทยที่ปรากฎในนโยบายต่างประเทศยุคปรับปรุงประเทศตามแบบตะวันตก" โดย Lee Joeng yoon, ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต มหวิทยาลัยบูรพา บทที่ 2, 2552.
อัตลักษณ์ไทยที่พะบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวทรงใช้ในการปกครองบ้านเมือง
สายชล สัตยานุรักษณ์ ได้เสนอว่าในการปกครองบ้านเมืองไทย (สยาม) พระบาทสมเด็นพระจอมเหล้าเจ้าอยุ่หัวทรงใช้อัตลักษณ์ไทยที่สำคัญอยู่ 4 ลักษณะคือ
- การยอมโอนอ่อผ่อนปรม (ตามความต้องการของจักรวรรดินิยมตะวัรตก เพื่อรักาาเอกราชทาด้านการเมือง ศาสนา และวัฒนธรรม)
- ทรงใช้อัตลักษณ์ที่พ่อขุรรามคำแหงทรงจาตึกไว้ในศิลาจารึกหลักที่ 1 มาสร้างใหม่ในด้านความรักในอิสรภาพ เสรีภาพ ภราดรภาพ และสมภาพ (อัตลักษณในไตรภูมิภูกละเลยไป)
- อัตลักษณ์ของผุ้ปกครองตามแบบ "ธรรมราช" คือ ราชาหรือพระเจ้าแผ่นดินท่ช้หลักทศพิธราชธรรมในกรครองตนมี 10 ประการ ได้แก่ ทาน, ศีล, บริจาค, อาชชวะ(ความซื่อตรง), มัททวะ(ความอ่อนโยน, ตบะ, อักโกธะ, อวิหิงสา(ความไม่เบียดเบียน, ขันติ และอวิโรธะ(ความไมคลาดจากธรรม) และใช้หลักจักรวรรดิวัตรในการปกครองประเทศ
แต่หลังจากรับอารยธรรมตะวันตกหลายด้าน ทำให้เสียอัตลักษณ์เดมบางด้านเปลี่ยนไป เช่น อัตลักาณ์ในด้านการแต่งกาย สถาปัตยกรรม และโดยเฉพาะนด้านการศึกษาโดยนำระบบการศึกษา และอค์ความรู้แบบตะวันตกมาเป้นแบบอย่าง เป็นต้น
อัตลักษณ์ไทยที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเหล้าเจ้าอยู่หัวทรงใช้ในการปกครองประเทศ
สายชล สัตยานุรักษ์ ได้เสอว่า พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวเป้ฯพระมหากษัตริย์พระองค์แรกที่ทรงประสบความสำเร็จในการสร้างพระราชอำนาจสูงสุดและเด็ดขาดทั่วพระราชอาณาจักร เพราะสร้างสัญลักษณ์ที่ทำให้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นศุนย์กลางของรัฐ พระองค์ทรงเน้นความสำคัญของอัตลักษณ์พระมหากษัตริย์ และอัตลักษณ์ข้าราชการเป็นพิเศษ พระองค์ทรงเน้นสถานะของพระมหากษัตริย์ ซึ่งมีพระราชอำนาจเด็ดขาดสูงสุดเหนือ "สยามเหนือ สยามไใต้ สยามกลาง..ลาวประเทศ ..มลายูประเทศ "ดังเห็นได้ชัดจากสัญลักษณ์บนผืนธง "บรมราชธวัชมหาสยามมินทร์ "ตามพระราชบัญญัติว่า ด้วยแบบอย่างธงสยาม ร.ศ.110 (พ.ศ.2434 และทรงเน้นอัตลักษณ์ของข้าราชการในฐานะผุ้มีเกี่ยรติยศอันเกิดจากพระมหากรุณาธิคุณ ซึ่งจะต้องปฏิบัติราชการอันเป้นหน้าที่ของตนด้วยความจงรักภักดี
เสถียร ลายลักษณ์ และคณะ ได้กล่าวว่า พระบาทมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวทรงพิจารณาเห็นควรมสำคัญขอการที่จะต้องมีระบบราชการและมีข้ราชการเป็นกลไกสำคัญของพระองค์ในการขยายอำาจในการปกครองและการจัดการทรัพยากรทำให้มีปัญหาว่า จะทำอย่างไรให้ระบบราชการและข้าราชการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพของระบบราชการขึ้นอยู่กับตัวบุคคลเป็นอย่งมา จึงต้องทรงสร้างข้าราชการที่ปฏิบัติหนาที่ด้วยความซื่อสัตย์ และจงรักภักดี วิธีสร้างข้าราชการที่มีอัตลักาณ์ดังกล่าว พระองค์ทรงกระทำด้วยการสร้างเกี่ยรติยศและอภิสิทธิ์แก่ข้าราชการ เช่น ทรงตราพระราชบัญญัติ ปกครอง ท้องถิ่น ข้าราชการกำหนดเครื่องแบบข้าราชการเน้นสถานะลดหลั่นของข้าราชการให้เด่นชัด พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์เพื่อเป็นเกี่ยรติ์แก่ข้าราชการ เป็นต้น
อัตลักษณ์ชองข้าราชการไทย
สมเด็จฯ กรมพระนริศรานุวัติวงศ์ และสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้ให้ความหมายอัตลักษณ์ของข้าราชการไทย ในทรรศนะของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวว่ ข้าราชการเป้นกลุ่มบุคคลที่มีเกี่ยติ มีสถานภาพสูงกว่าคนทั่วไปในฐานะข้าทูลละอองธุลีพระบาท ข้าราชการถูกเน้นให้มีหน้าที่ปกิบัติราชการด้วยความซื่อสัตย์ และจงรักภักดี การทำหน้าที่เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ข้าราชการมีเกี่ยรติยศ ข้าราชการทหารถูกสร้างให้ภาคภูมิใจในการทำหน้าที่เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ข้ารชการมีเกี่ยรติยศ ข้าราชการทหารถูกร้างให้ภาคภุมิใจในการทำหน้าที่อย่างสูง เพราะมหน้าที่ป้องกันรักษอิสรภาพของ้านเกิดเมืองนอน
อัตลักษณ์ของพระมหากษัตริย์
เสถียร ลายลักาณ์ และคณะ ไ้ศึกษาเรื่องอัตลักษณ์ของพระมหากัตริย์ว่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวทรงพยายามสร้างให้พระมหากษัตรยิืมีความสำคัญสูงสุด ทรงเสริมสร้างพระราชอำนาจและพระเกียรติยศของพระมหากษัริย์ทั้งใน ความสัพันธ์กับข้าราชการและราษฎร ทรงทำให้เวลาในรอบนหึ่งปีเคลื่อนไปโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นศูนย์กลางเพ่ิมวัดสำคัญใหม่ๆ ที่เกี่ยวของกับพระเกี่ยรติยศ และความจงรักภักดต่อพระมหากษัตริย์ เช่น "วันเฉลิมพระชนม์พรรษา" "วันถวายบังคมพระบรมรูปฯฐ เป็นต้น
ภาพของพระมหากษัตรยิ์ในฐานะประมุขของประเทศทรงปกครองด้วยความเมตตา กรุณา และยุติธรรมโดยมีข้าราชการท่จงรักภักดี และมีความสามัคคีั่น ทำหน้าที่เป็นผุ้สนอง พระบรมราชโองการ
ในด้านการยุติธรรม และความเป็นธรรมนั้น เสถียร ลายลักาณ์ และคณะ ได้กล่าวว่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวทรงเน้นภาพลักษณ์ของพระมหากษัตริย์ที่จรรโลงความยุติธรรมเป็นอย่งมาก ทรงทำให้เป็นปรากฎว่า นอกจากพระองค์จะทรงยึดหลัก ความยุติธรรม และความเป็นธรรมด้วยพระองค์เองแล้ว ยงทรงเน้นให้ข้าราชการ ซึ่งเป็นข้าทู๔ลละอองธุลีพระบาทผุ้ปฏิบัติราชกิจต้องยึดถือย่างเคร่งครัด
สายชล สัตยานุรักษณื ได้เสนอเกี่ยวกับอัตลักาณ์ของพระบาทสามาเด้๗พระจุลจอมเหล้าเจ้าอยุ่หัวว่ ทรงเน้นการแก่ปัญหาและการแรับปรุงประเทศให้เจริญก้าวหน้าโดบใช้อำนาจรัฐทำให้กลไกอำนาจรัฐคือ ข้าราชการเป็นเงื่อนไขสำคัญของความสำเร็จ หรือ ความล้มเหลว
- บางส่วนจาก วิทยานิพนธ์ "อัตลักษณ์ไทยที่ปรากฎในนโยบายต่างประเทศยุคปรับปรุงประเทศตามแบบตะวันตก" โดย Lee Joeng yoon, ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต มหวิทยาลัยบูรพา บทที่ 2, 2552.
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...