Gap

              อย่าให้ "ช่องว่าง" 4.0 เป็นปัญหาใหม่ของประเทศ
              การพัฒนาประเทศในรูปแบบยืมจมูกคนอื่นหายใจ ดดยเฉพาะการพัคงพาอากรลงทุนและเทคโนดลยีจากต่างประเทศ อันเป้ฯนโยบายที่ประเทศไทยเรานำมาใช้ตลอดระยะเวลาของการมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตั้งแต่ พ.ศ. 2504 จนถึงปัจจุบัน
              ดังจะเห้ฯได้จากล่าสุดได้มีการเชิญชวนนักลงทุนต่างประเทศ ให้มาลงทุนในเขตเศราบกิจพิเศษภาคตะวันออก หรืออีอีซี ส่งผลให้มีนักลุทุนจากญี่ปุ่นกว่าุ 600 ราย เดินทางมาประชุมหารือกับฝ่ายไทย ซึ่งในประเด็นของ"ช่องว่าง"ของรายได้ ที่จะทำให้ประเทศไทยที่มีปัญหาอยู่แล้ว มีปัญหามากขึ้นอีกในอนาคต
               และประเด็นูแลเรี่องกระจายรายได้ ซึ่งอาจจะมีแล้วแต่ไม่ได้มีการทำประชาสัมพันะ์มากนัก ประกอบกับแผนพัฒนาฉบัยที่ 5 พ.ศ. 2525-2529 อันเป็นแผนพัฒนาที่ร่างขึ้นในยุค พล.เอก เปรม เป็นนายกรัฐมนตรี ซึ่วมีดครงการเอกมทีกลายเป็นโครงการต้นตระกุลสำหรับโครการ พัฒนาระเบียบเศราฐกิจภาคตะวันออก หรืออีอีซี ที่เป็นโครงการช้างเผือกอยุ่ในขณะนี้ ได้แก่โครงการ "อีสเทิร์นซีอร์ด" หรือแผนพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก ที่ประสบความสำเร็จอข่างล้นหลามนั่นเอง
             แผนพัฒนาฉบับที่่ 5 เขียนไว้อย่างชัดเจนว่า จะมุ่งหน้าพัฒนาประเทศไทยไปสู่ความเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่แต่อย่างเดียวไม่ได้ เพราะจะเกิดช่องว่างของรายได้ขึ้นอย่างมหาศาล จำเป็นจะต้องมี แผนพัฒนาชนบบากจน เพื่อที่จะดูแลคนยากจนในชนบทที่อาจมิได้รับประโยชน์จากโครงการพัฒนาอีสเทิร์นซีบอร์ด หรือโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอื่นๆ เลยควบคู่กันไปด้วย จึงเกิดการพัฒนาคู่ขนานไปทั้ง 2 ด้าน คือ ทั้งแผนพัฒนาอุตสาหกรรม ที่มีดครงการอิสเทิร์นซีบอร์ดเป็นหัวหอก กับการ พัฒนาชนบทยากจน ในพื้นที่ชนบททั่วประเทศไทย และก็ประสบความสำเร็จอย่างน่าพอใจทั้ง 2 ด้าน   
           
โครงการ อิสเทิร์ซีบอร์ด ทไใ้ผลิตภัณฑ์ประชาชาติโดยรวมของประเทศไทยเพ่ิมสูงขึ้น และเมื่อบวกกับการพัฒนาอื่นๆ ด้วย เราจึงทะลุขึ้นมาเป้นประเทศรายได้ปานกลางขั้นสูง หลุดพ้นจากนิยามความเป็นประเทศยากจนโดยสิ้นเชิง
             ขณะเดียวกัน จำนวนคนจนของประเทศก็ลดลงอย่างมาก เมื่อเทียบกับยุคก่อนที่จะมีการพัฒนา และถึงแม้รายได้ของคนจน ไทยอาจจะไม่สูงมากนัก แต่สิ่งหนึ่งที่แผน 5 แผน 6 ทำไว้ก็คือ คนไทยส่วนใหญ่ได้มีสิ่งที่เรียกว่า "ความจำเป็นพื้นฐาน" เกือบครบถ้วน เรียกกันในสมัยนั้นว่า จปฐ. หรือ บริการพื้นฐานด้านการศึกษา, สาธารณสุข, มีบ้านอยู่อาศัย, มีถนนเชื่อมถึง, มีไฟฟ้าใช้, มีน้ำสะอาดดื่มครบทุกหมู่บ้านฯลฯ ที่สำคัญก็คื อในช่วงของการพัฒนาดังกล่าว เราจะมองเห้นความเชื่อมโยงระหว่างการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม หรือภาคบริการอย่างชัดเจนว่า ส่วนใหย่จะใช้แรงงานจากชนบทไทยมากที่สุด คือ จาภาคอีสาน และภาคเหนื อมิใช่ใช้แรงงานต่างด้าวดังเช่นในยุคนี้
            ทำให้เกิดความห่วงขึ้นว่า บนเส้นทางใหม่ที่เรากำลังจะเดินและจะต้องยืมจมูก "ต่างประเทศ" มาช่วยหายใจหลายๆ จมูจะไหวหรือ...ทั้งเรื่องทุน เรื่อเทคโนลโลยี และเรื่องแรงงานขั้นพื้นฐานซึ่งเป็นแรงงานงานด่างด้าวเป็นส่วนใหญ่https://www.thairath.co.th/content/1067434
            ไทยติดอันดับ 3 ช่องว่างรายได้มากที่สุดในโลก
             ไทยถูกจัดให้เป็นอันดับ 3 ของประเทศที่มีช่องว่าระหว่างคนรวยและคนจนมากที่สุดในโลก ขณะที่ อันดับ 1 ตกเป็นของรัสเซีย

              รายงานความมั่งคั่งของโลก ประจำปี 2016 ของสถาบันเครดิตสวิส จัดอันดับประเทศที่มีช่องง่างระหว่างคนรวยและคนจนมากที่สุดในโลก ซึ่งรัสเซียจัดให้อยู่ในอันดับ 1 นืองจากความมั่งคั่งกว่าร้อยละ 74.5 ของทั้งประเทศ ไปกระจุกตัวอยุ่กับกลุ่มคนที่ร่ำรวยที่สุดที่มีเพียงร้อยละ 1 ของประเทศ
              อันดับ 2 อินเดีย

              ขณะที่อินเดียได้รับอันดับที่ 2 และไทยอันดับที่ 3 โดยความมั่งคั่งในอินเดียร้อยละ 58.4 ส่วนของไทยร้อยละ 58 ถูกควบคุมโดยคนที่ร่ำรวยที่สุดจำนวนร้อยละ 1 ของประเทศ รองลงมาตามลำดับได้แก่ 4 อินโดนีเซี, 5 บราซิล, 6 จีน, 7 สหรัฐฯ, 8 เซาท์แอฟริกา, และ 9 เม็กซิโก..
              สถาบันเครดิตสวิสรายงานว่า ก่อนหน้านี้ช่องว่างระหว่างคนรวยและคนจนเร่ิมลดลง จนกระทั่งเกิดวิกฤตการ์ทางการเงินขึ้นเมือปี 2008 ในสหรัฐฯ ซึ่งถูกมองว่เป็นวิกฤตการณ์การเงินครั้งเลวร้ายที่สุด นับตั้งแต่ภาวะเศราบกิจตกต่ำครั้งใหญ่ในทศวรรษที่ 1930 ช่องว่างระหว่างคนรวยและคนจนก็เร่ิมกลับมากว้างมากขึ้นเรื่อยๆ อีกครั้ง
              สถาบันเครดิตสวิสยังรายงานด้วยว่ ความไม่เท่าเที่ยมระหว่างคนรวยและคนจนเป็นปัญหาใหญ่ในปทบทุกประเทศทั่วโลก ซึ่งผลสำรวจระบุว่าประชากรดลกครึ้งหนึ่งที่มีรายได้น้อย เข้าถึงความมั่งคั่งบนดลกนี้ได้ไม่ถึงร้อยละ 1 เท่นั้น ขณะที่คนที่ร่ำรวยที่สุดบนโลกใบนี้ร้อยละ 10 ครอบครองความมั่งคั่งทั้งหมดกว่าร้อยละ 89 ด้านคนที่รวยที่สุดร้อยละ 1 เป็นผุ้ครอบครองความมั่งคั่งกว่าครึ่งหนึ่งของโลกใบนี้https://www.voicetv.co.th/read/436746
           
               

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)