Equal economic development

             การพัฒนาทางเศรษกิจให้เท่าเที่ยมกัน เป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์การก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กรณีนี้ชัดเจนในระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนเก่าและสมาชิกใหม่ของอาเซียน อาเซียนจึงจัดทำข้อริรเ่ิมเืพ่อการรวมตัวของอาเซียน ขึ้นในปี 2545 เพื่อให้สมาชิกอาเซียนเก่ากับสมาชิกใหม่เกิดความร่วมมือและความช่วยเหลือระหว่างกัน เพื่อลดช่องว่างการพัฒนาเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียน และเสริมสร้างการวมกลุ่มของประเทศ CLMV โดยให้ประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศได้รับประโยช์จากการรวมกลุ่มทาง เศรษฐกิจ
           ทั้งนี้ อาเซียนได้จัดโครงการฝึกอบรม และเสริมสร้างขีดความสามารถในระดับองค์กรต่างๆ โดยดครการลดช่องว่างการพัฒนาของไอเอไอ ให้ความสำคัญกับความร่วมมือด้านโครงสร้างพื้นฐาน ชนส่ง และพลังงาน เทคโนโลยีสารสนทเศ และการสื่อสาร การรวมกลุ่มทางเศรฐกจิในภูมิภาค ในด้านสินค้า บริการ ศุลกากร การลงทุน และมาตรฐานต่างๆ การท่องเที่ยว การลดความยกจน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งครอบคลุมด้านการเสริมสร้างศักยภาพของภาครัฐ แรงงาน การจ้างงาน และการสนับสนนุการศึกษาระดับสูงขึ้น นอกจานี้ เพือเป็นพัฒนาทางเศรษบกิจของอาเซียนให้เท่าเที่ยมกัน อาเซยนยังให้ความสำคัญในการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม การพัฒนาด้านเอสเอ็มอี ภายใต้แผนงานการจัดตั้งเออีซี มีเป้าหมายสำคัญ คือ
       
- จัดทำหลักสูตรร่วมกันสำหรับผุ้ประกอลบการในอาเซียน
         - การจัดตั้งศูนย์บริการเอสเอ็มอี เพื่อเชื่อมโยงระหว่างภูมิภาคและอนุภูมิภาคของประเทศสมาชิกอาเซียน
         - การให้บริการทางการเงินสำหรับธุรกิจเอสเอ็มอีในแต่ละประเทศสมาิก
         - การจัดทำโครงการส่งเสริมการฝึกปฏิบัติงานสำหรับเจ้าหน้าที่ในระดับภูมิภาคเพื่อพัฒนาความเชียวชาญของเจ้าหน้าที่
         - การจัดตั้งกองทุนเพื่อการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในระดับภูมิภาค เพื่อเป็นแหล่งเงินทุนสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางแฃละขนาดย่อมที่ประกอบธุรกิจใน ภุมิภาคอาเซียน
         นอกจากนี้ ยังไดหารือร่วมกับหน่วยงานเอสเอ็มอีของอาเวียนบวกสาม ผประเทศสมาชิกอาเซียนรวมกับจีน ญี่ปุ่่น และเกาหลี) เพื่อแลกเปลียนแนวทางการปฏิบัติและความร่วมมือผ่านโครงการต่างๆ ทั้งนี้ อาเซียนได้ให้การรับรองแผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาเอสเอ็มอีของอาเซียน เมื่อเดือนสิงหาคม 2553 โดยแผนงานดังกล่าวครอบคลุมการดำเนินการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาธุรกิจเอสเอ็มอี เพื่อเพิ่มขีนความสามารถการแข่งขัน เพิ่มความสามารถในการปรับตัวของเอเอ็มอี ในการมุ่งสู่การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดี่ยวในอาเซียนhttps://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1336496884
           ปัจจุบันแผนแม่บทว่าด้วยการเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนทั้ง 3 มิติ ทั้งทางกายภาพ การเชื่อมโยงเชิงสถาบันและกฎระเบียบ และการเชื่อมโยงระหว่างประชาชน ยังเป็นเรื่องท้าทายของการรวมตวเป้นประชาคมเดียวของอาเซียน อาเซียนได้รับรองให้มีแผนแม่บทว่าด้วยเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเวียน ขึ้นเมื่อปี 2553 แตปัจจุบันการเชื่อมโยงระหว่างกนในอาเซียนยังล่าช้า โดยเฉพาะการเชื่อมดยงเชิง
สถาบันและกฎระเบียบ
           ทั้งนี้กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศของไทย เล็งเห็นความสำคัญของการเชื่อมโยงอาเซียนจึงเป้นเจ้าภาพจัดการประชุมเชิงปฎิบัติการในหัวข้อ "มุ่งลอขช่องว่างในการพัฒนาระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนใหม่ที่ประกอบด้วยกัมพุชา ลาว เมียนาร์ และเวียดนาม หรือ CLMV แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและมุ่งสร้างความรุ้เกี่ยวกับการเชื่อมโยงภุมิภาคในด้านการบริหารจัการข้ามพรมแดน
           นายประดาบ พิบูรลสงคราม ผุ้แทนไทยในคณะกรรมการประสานงานการเชื่อมดยงอาเซียน กล่าวว่าการเชือมโยงภุมิภาค เป็นอีกปัจจัยที่สนับสนุนเศรษบกิจและการต้าชายแดน เห็นได้จากตัวเชยการต้าชายแดนของไทยกับเพื่อบ้านที่มีพรมแดนติดกันตามลำดับดังนี้ การต้าชายแดนไทยอินโดนีเซียนคิดเป็น 55% มาเลเซียน 45% เวียดนาม 18% เมียนมาร์ 12% ลาว 7% และกัมพูชา 6% ทั้งนี้ การคมนาคมขนส่งและกฎระเบียบที่มีประสิทธิภาพจะสามารถเพิ่มตัวเลขการต้าได้มากขึ้น
           นายประดาบเพ่ิมเติมว่า "แผนแม่บทว่าด้วยการเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนมีท้งหมด 84 โครงการ มุ่งเสริมสร้างรอยต่อระหว่างประเทศให้สมบูรณ์ โดยตามแผนจะต้องเสร็จในอีก 3 ปี ซึ่งอาจไม่เสร็จทั้งหมดก่อนเข้าปี 2558 สิ่งสำคัญที่สุดคือกฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเชื่อมโยงที่ลงนามร่วมกันต้องนำไปปฏิบัติจริง"
           ประเทศผุ้เข้าร่วมกมารประชุมกลุ่ม CLMV ต่างเสนอความเห็นเพื่อเร่สงสนับสนุนการเดินหน้าแผนแม่บท ตัวแทนจากประเทศกัมพุชากล่าวถึงปัญหาท้าทายของประเทศ ที่ส่งผลต่อการเชื่อมโยงเชิงสถาบันและกฎระเบียบของอาเซียนว่า กัมพูชายังไม่มีกรอบองกฎระเบียบที่ัดเจนเพียงพอในการส่งเสริ
มระบบโลจิสติกส์ เจ้าหน้าที่และหน่วยงานที่เกี่ยว้องกับโลจิสติกส์ของประเทศต้องพัฒนาด้านข้อมูล และประสานงานกันมากขึ้น ส่วนภาพรวมกฎหมายด้านศุลกากรของประเทศมีโคงสร้างดีแต่ไมได้นำมาอภิปรายหารือกับภาคเอกชน ตัวแทนจากประเทศลาว ชี้ปัญหาท้าทายของประเทศในการพัฒนาสู่การเชื่อมโยงกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคด้านการจัดการข้ามพรมแดนว่า ปัจจุบัน สปป.ลาวต้องการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้ปลี่ยนจากประเทศที่ไม่มีทางออกทะเล ให้เป็จุดเชื่อมต่อภูมิภาค ปัญหาท้าทายของ สปป.ลาว คือโครงสร้างพื้นฐานอยู่จำกัด ทั้งถนนและจุดผ่านแดนต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาการจรจรบริเวณด่านชายแดนตามมา ปัญหาด้านกฎระเบียบเกี่ยวกับการบริหารจัดการข้ามพมแดนที่ยังไม่เป็นมาตฐานเีดยว ปัญหาในด้านระบบเทคโนโลยีที่จะนำมาใช้กับจุดตรวจผ่านแดนต่างๆ โดยขณะนี้ สปป.ลาว ไ้ด้มีการเร่งการดำเนินการเต็มที่ โดยเฉพาะจุดผ่านแดนสาละวันนะเขต-มุกดาหาร ที่จะทำให้สำเร็จในปี 2556
           ตัวแทนจากเวียดนาม กล่าวว่า การบริหารจัดการข้ามพรมแดนสำคัญอย่างยิ่ง โดยเห้ฯได้จากมุลค่าการต้าชายแดนของเวียดนาม ปี 2554 ที่มีมูลค่า สองแสนล้านเหรยญสหรัฐ มีจำนวนคนผ่านเข้าเมือง 13 ล้านคน และเวียดนามมีด่านเข้าประเทศระดับนานาชาติจำนวน 46 แห่ง
          ทั้งนี้ ประเทศเวียดนามยังไม่มีความคืบหน้ามากนักในทางปฏิบัติ เนื่องจากหลักการปฏิบัติที่เกี่ยวกับการข้ามพรมแดนต้องอาศัยอความร่วมมือในหลายหน่วยงาน ท้งด้านศุลการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านศาธารณสุข เป็นต้น โดยปัญหาท้าทายเวียดนาม คือขนาดของจุดเชื่อมต่อของประทศกับนานาชาติมีขนาดจำกัด เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา เช่น สนามบินนานาชาติที่มีอยู่มากถึง 7 แห่งแต่มีขนาดเล็กทั้งหมด ท่าเรือซึ่งมีขนาดเล็ก เป็นต้น
             ปัญหาอีกประการ คืออุปสรรคด้านการบริหารงานที่ยังซ้ำซ้อน ยังไม่มีหน่วยงานหลักที่รับผิดขอบเกี่ยวกับการบริหารจัดการข้ามพรมแดน กระบวนการดำเนินงานยังใช้ระยะวเลานาน และที่สำคัญคือเวียดนามต้องปรับโครงสร้างทางเศรษบกิจด้วยการกระจายการต้าชายแดน พร้อมๆ กับการสนับสนุนให้ข้อตกลงเกี่ยวกับการเชื่อมโยงด้านต่างๆ ของภุมิภาคนำมาใช้จริง
            ตัวแทนจากเมียนมาร์ กล่าวถึงปัญหาการพัฒนาประเทศที่ส่งผลต่อการเชื่อมโยงในภุมิภาคว่า เมียนมาร์ยังมีรถไฟอีก 3 สายที่ติดต่อกับเพือนย้าน ซึ่งได้ศึกษความเป็นไปได้แล้ว แต่ยังไม่ได้ก่อสร้าง ได้แก่ เส้นทางรถไฟติดตอ่กับอินเดีย-พม่า ระยะทาง 127.4 กม. เส้นทางพม่า-จีน ระยะทาง 141.8 กม. และพม่า-ไทย ระยะทาง 110 กม.
            พร้อมกันนั้น เมียนมาร์ยังต้องการมุ่งพัฒนาทาเรืออีก 2 แห่ง ซึ่งจะเป็นผลดีต่อเศรษฐกจิ และการขนส่งสินค้าของประเทศ และรวมถึงระดับภุมิภาค ท่าเรือทั้ง 2 แห่ง คือท่าเรือน้ำลึกจ้าวผิว หรือจ้าวเปี้ยว และท่าเรือน้ำลึกทวาย เมียนมาร์ยังให้ความสำคัญต่อด้านเทคโนดลยีที่จะนำมาใช้ในการข้ามพรมแดน เพื่อนำมาช่วยอำนวยความสะดวกในการต้าอีกด้วย
            ทั้งนี้ กลุ่มประเทศ CLMV ต่างแลกเปลี่ยนในประเด็นการปรับกฎระเบียบในประเทศที่เีก่ยวกับการบริหารจัดการข้ามพรมแดนของคนให้สอดคล้องกับประเทศในภุมิภาค ทั้งยังตระหนักถึงการพัฒนาระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนนุการอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการเคลื่อนย้ายสินค้า โดยเชื่อมโยงระบบข้อมุงแบบบูรณาการระหวางหย่วยงานต่างๆ
            ให้ความสำคัยกับ คอมมอน คอนโทรล แอรเลีย ในการใช้พท้นที่ควบคุมร่วมกันในการตรวจด้านศุลการกรครั้งเีด่ยในประเทศขาเข้า เพื่อเร่วให้เกิดผลปฏิบัติจริงต่อทุกประเทศสมาิกทั้ง 6 ประเทศ ได้แก่ ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม เมียนมาร์ และจีน ภายใจ้กรอบความร่ยวมมือนุภุมิภาคลุ่มน้ำโขง ซึ่งจะเป็นพื้นฐานนการเดินหน้าผลักดันการเชื่อมโยงอาเซียนในภาพรวมของประเทสสมาชิกทัง 10 ต่อไป....https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1339832797

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)