Social gap

           ช่องว่างทางสังคมในรูปแบบต่างๆ
            ตัวแปรสามตัวที่นำปสู่ควมแกตต่างของฐานะของคนในสังคม ประกอบ้ว ทรัพย์ศฤงคาร ฐานะทางสังคม และอำนาจ ทรัพย์ศฤงคารจะสร้างความแตกต่าระหว่างคนรวยและคนจนอย่างเห็นได้ชัด ลองจินตนาการถึงคนซึ่งขับรถยนต์คันละ 13 ล้านบาทบนท้องถนน กับคนซึ่งขายไข่ปิ้งที่ตั้งอยุ่บนบาทวิถี รถยนต์คันละ 13 ล้านบาทนั้นก็คือราคาของคฤหาสน์หลังใหญ่ ซึ่งคนขายไข่ปิ้งใไามีทางที่จะมีโอกาสเป็นเจ้าของ..ช่องว่างระหว่างความรวยและความจนนี้นอกจาจะมีาพรพุถึงคนในสังคมแล้ว ยังมีการกล่างถึงประเทศที่มความแตกต่างกันที่เรียกว่า ความแตกต่างระหว่างผระเทศฝ่ายเหนือและฝ่ายใต้ เหนือหมายถึประเทศที่ร่ำรวยกล่าวเช่นสหรัฐอเมริกา ใต้หมายถึงประเทสที่ยากจนเช่นลาตินอเมริการ อาฟริกาและบางประเทศในเอเชีย หรือประเทศพัฒนาและด้อยพัฒนา หรือกำลังพัฒนา เป้นต้น
            ตัวแปรที่สอง คือความแตกต่างเนื่องด้วยสถานะทางสังคม ไม่ว่าดดยกำเนิดหรือโดยใช้หลักคุณะรรมก็ตาม เช่น ในยุคฟิลดัลผุ้ซึ่งเป็นเจ้าครองนครรวมท ั้งเหล่าอัศวินทั้งหลาย ย่อมจะมฐานะเหนือกว่าช่างฝีมือ ชาวนา และพ่อค้า ในกรณีของประเทศไทยนั้นในระบบศักดินา เจ้าพระยา ย่อมมีฐานะสูงกว่าคนะรรมดาสามัญหรือไพร่ นอกจานั้นยังเป็นผุ้ซึ่งมีข้าทาสบรุพารคอยรับใช้และช่วยเหลือในการผลิตในทางเกษตร ที่สำคัญภาษาที่ใช้ก็จะเป็นคนละภาษาบ่งบอกฐานะที่ต่างกันในสังคม
           อย่างไรก็ตาม แม้ภายใต้ระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยความแตกต่างของฐานะของคนในสังคมก็ยังคงมีอยุ่ เช่น บุคคลที่เป็นข้าราชการการเมืองดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีตามค่านิยมสังคมมัจะมีฐานทางสังคมดีกว่าคนทั่วไป ถึงแม้จะอาศัยคะแนนของผุ้ซึ่งสนับสนุนตนก็ตาม หรือตัวอย่างที่เห็นชัดอีกตั้วอย่างหนึ่งคื อภายใต้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยทุกคนย่อมเสมอภาคตามกฎหมาย ซึ่งก็ได้ระบุไว้ในมาตรา 30 แห่งรัฐะรรมนูญราชอาณาจักรไทยปี 2540 แต่ถ้มีฐานะทางเศราฐกิจดีกว่าความแตกต่างของสถานะทางสังคมก็จะเกิดขึ้น และเมื่อสถานะทางสังคมแตกต่างกัน ฐานะของคนในสังคมก็จะต่ากับบุคคลอื่นซึ่งมีฐานะทางเสณาฐกิจที่ต่ำกว่าถึงแม้จะม่สิทธิทางการเมืองเท่าเที่ยมกัน
            ตัวแปรที่สามคือ อำนาจ อำนาจย่อมจะทำให้เกิดความแตกต่างของฐานะของคนในสังคม บุคคลึ่อยุ่ในตำแหน่งบริหาร เช่น อธิบดี ปลัด กระทรวง รัฐนตรี นายทหารที่มีอำนาจสั่งการ นายตำรวจที่มีอำนาจทางกฎหมายฯลฯ ย่อมจะได้รับการยอมรับจากสังคมต่างจากประชาชนทั่วไป เมื่อเป็นเช่นนี้ฐานะในทางสังคมย่อมจะแตกต่งกับคนอื่นๆ
            กล่าวโดยสรุปคือ ทรัพย์ สภานะทางสังคม และอำนาจ จะนำไปสู่ความแตกต่างของฐานะของคนในสังคม
           
 ในปัจจุบน ตัวแปรอีกตัวหนึ่งนอกเนือจากที่กล่าวมาแล้ว และกำลังกลายเป็นตัวแปรที่สำคัญย่ิงที่นำไปสู่ความแตกต่างของคนในสังคม คือ วิทยาการความรู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความรู้ทางวิทยาศาสจตร์เทคโนโลยีสมัยใหม่เช่นสมองกล เป้นต้น หรือจะกล่าวว่า สังคมในยุคโลกาภิวัฒน์เป็นสังคมข่าวสารข้อมุล เป็นสังคมของวิทยาการศัพท์แสงและภาษาที่ใชย่อยครั้งเป็นเรื่องที่ต้องมากราศึกษาและเข้าใจถึงแก่น มิฉะนั้นจะสนทนากันไม่รู้เรื่อง คนในสังคมที่ถูกจัดอยู่ในฐานะต่ำกว่าด้วยตัวแปรสามตัวแรก จะยิ่งย่ำแย่ลงถ้ามีตัวแปรตัวที่สี่เข้ามาเป็นตัวแปรฟลักดันหรือตัวแปรเสริม และในหลายกรณีตัวแปรสามตัวแรกนั้นจะเอื้ออำนวยต่อการเข้าถึงตัวแปรที่สี่ซึ่งได้แก่วิทยาการหรือความรู้ได้ง่ายขึ้น ในขณะเดียวกันบุคคลซึ่งเสียเปรียบเนื่องจากอยู่ในฐานะที่ไม่สามารถเข้าถึงตัวแปรสามตัวแรกก็จะถูกทำให้การเข้าถึงตัวแปรที่สี่ลดน้อยลงไปด้วย บทบาทของรัฐที่จะต้องปิดช่อง่างก็ด้วยการขยายโอากสของการศักาา เพื่อให้วิทยาการซึ่งเป็นตัวแปรที่สี่กระจายไปในขอบเขตที่กว้างขวางให้มากที่สุดเท่ารที่จะกระทำได้
             และเมื่อตัวแปรที่สี่เป็นตัวแปรที่คนส่วนใหยเข้าถึงได้แล้วก็ย่อมจะเปิดโอกาสให้เข้าถึงตัวแปรสามตัวแรกได้ ช่องว่างในทางสังคมของคนในประเทศก็จ่าจะแคบลง..http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9480000111056
              การลดช่องว่างทางสังคม
               สภาพัฒนาการเมือง สถาบันพระปกเกล้า โดย ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์ ประธานสภาพัฒนาการเมือง เสนอแนวทางปฏิรูปประเทศด้านการสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลือมล้ำ ทางเศราฐกิจและสังคม เอาไว้ด้วยกัน 4 แนวทาง เพื่อเสแนให้ คสช. นำไปพิจารณาแก้ปัญหาการดำรงชีวิตของคนไทยต้องอยู่ในสังคมประชาธิปไตยที่มีคุณภาพ มีสิทธิได้รับการับรองโดยกฎหมาย เสมอภาค และยุติธรรม มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ได้แก่
              - ปฏิรุปมาตรการต่างๆ เพื่อคุ้รครองและรับอรองสิทธิกลุ่มคนระดับล่างและสิทธิขงอชุมชน ต้องได้รับการรับรอง โดยกฎหมาย โดยสนับสนุนให้ตรา พ.ร.บ. ว่าด้วยสิทะิชุมชนในการจัการที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติ ดดยให้สิทธิชุมชนเข้ามีส่วนร่วมจัดการ
              - ขยายมาตการสร้างความเสมอภาคทางเสณาฐกิจและสังคม เพื่อให้คนไม่รู้สึกว่าเสียเปรียบเนื่องจากความแตกต่างฐานะทางเศรบกิจ สังคม คนจนต้องได้รับการสนับสนุนให้มีควมม่นคงในการดำรงชีัวิต โดยเฉพาะการเป็นเจ้าของที่ดิน และเสมอภาคในการเข้าถึงบริการของรัฐที่ีคุรภาพทั้งด้านสุขภาพลแะการศึกษา เช่น การปฏิรูปโครงกสรางและกำหมายที่ดิน โดยจำกัดการถือครองที่ดินรายละไม่เกิน 50 ไร่
              - ขยายมาตรการสร้างความเป้นธรรมทางเศรษฐกิจและสังคม ดดยกระจายทรัพยกรจากผุ้ม่งคังสุ่ผุ้ด้อยโอากส และสเรมสร้างมาตรการความเป้ฯธรรม ให้คนไทย ไม่รู้สึกว่าถุกเลือกปฏิบัติ อาทิ การปฏิรูปภาษีปฏิรุปแระกันสังคม จักตั้งกองทุนช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อยปฏินรูประบบพลังงาน
              - ขยายมาตการเพื่อให้คนไทยดำรงชีวิตอยู่ในสังคมด้วยความมีศักดิ์ศรีในความเป็นมนุษย์เท่าเที่ยมกัน ทุกฐานะต้องได้รับการเคารพ พร้อมส่งเสริมให้ดำเนินชีิวิตอย่างมีคุณค่าในังคมประชาธิปไตย ต้องปฏิรูประบบแรงงานและสวัสดิการ ปฏิรูปกลไกความเสมอภาคระหว่างเพศ
           

 อันที่จริง ช่องว่งระหว่างคนรวยกับคนจนในสังคมไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน นำมาซึ่งวิกฤติของประเทศทั้งการเมืองเศราฐกิจและสังคม ความเลหือมล้ำทางสังคม ทำให้เกิดความไม่เสมอภาคและประชาชนที่ด้วอยโอกาสถูกรังแก จกลาเป้นความกดดันชนชั้นทางสังคม เพราะฉะนั้น คนจนผุ้ดอ้ยโอากสมีโอกาส ถูกใช้เป็นเครื่องมือทางการเมือง เป็นเรื่องที่ง่ายดายสำหรับประเทศที่อยุ่ในระหว่งกำลังพัฒนา ทั้งเสราฐกิจ การเมือง และสังคม
              ปัญหาต้นตอเกิดจา เจ้าหน้าที่รัฐ องค์กร กระบวนการยุติธรรม และการบังคับใชกฎมหายที่ไม่เท่าเที่ยมกันอย่างไรก็ตามการปรับดครงสร้างทางสังคมให้มีสิทธิและเสรภาพเท่าเที่ยมอย่างยังยืนก็เสี่ยงตอการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบบหนึ่งไปสู่ระบบหนึง และสงครามระกว่งชนชั้นที่กลยเป็นสงครามชิงอำนาจทางการเมืองในที่สุด....https://www.thairath.co.th/content/452340

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)